SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
    สื่อดิจิทัล
โดย นางสาว ฐาปนีย์ สีหาวงษ์
54010520026
   เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิงที่มีอยู่เดิม เพื่อ
                                         ่
    ให้ราคาถูกลงและรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อ
    ประโยชน์การใช้สอย ที่มากกว่าเดิมและสื่อดิจิตอล (
    ตรงกันข้ามกับสืออนาล็อก) มักหมายถึงสื่อ
                      ่
    อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ใน
    ปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลข
    ฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะ
    ระหว่าง "0" กับ "1" ในการแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์
    เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูลดิจิตอลฐานสองแล้ว
    จึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของข้อมูล
    ดิจิตอลที่เหนือกว่า สือดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง
                          ่
    วิดีโอ หรือเนื้อหาดิจิตอลอื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น
    อ้างอิงถึงและได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่อง
องค์ ป ระกอบของสื ่ อ ดิ จ ิ ต อล
   องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็น
    อย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดีย
    ด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1.
    ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still
    Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ
    (Video)
ข้ อ ความ
    เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนือหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด
                           ้
    หรือเนือหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่
           ้
    สำาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ
    เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้
    เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกำาหนดลักษณะ
    ของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อกด้วย ี
    ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่
   1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทวไป ั่
    ได้จากการพิมพ์ดวย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word
                        ้
    Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดย
    ตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII
   1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ
    Image ได้จากการนาเอกสารทีพิมพ์ไว้แล้ว(เอกสารต้นฉบับ) มา
                                   ่
    ทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออก
    มาเป็นภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ
    เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความ
    อิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความทีพัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้
                                 ่
เสี ย ง
   ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถ
    เล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ
    มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงาน
    มัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับ
    เนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้น
    เกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย
    สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ
    ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผูใช้
                                                      ้
    มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์
    ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้า
    เสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ
ภาพนิ ่ ง
   เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด
    และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อ
    ระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร
    เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วย
    การมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอด
    ความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร
    ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ
    แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความ
    หมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสือ  ่
    ชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสาร
    วิชาการ เป็นต้น
ภาพเคลื ่ อ นไหว
    ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพือแสดงขั้นตอน
                                     ่
    หรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น
    การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้
    เพือสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผูชม
        ่                                           ้
    การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มี
    คุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้าง
    เกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ
    มากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า

วี ด ี โ อ
    เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็น
    อย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ
    นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพ
    เคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์
    ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการ
    ใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง
    ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก
    เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง
    (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ตำ่า
    กว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการ
    ประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผานกระบวนการบีบ
                                   ่
    อัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง
    1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB

More Related Content

What's hot

Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10biphern
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศPhatthira Thongdonmuean
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลkruumawan
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 

What's hot (18)

Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10Manual ilovelibrary 3.10
Manual ilovelibrary 3.10
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
E book
E bookE book
E book
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to สื่อดิจิทัล

เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมchavala
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศYongyut Nintakan
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศPungka' Oil
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt Bammie Juppu
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOaสแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOaGhost-king Gosleeping
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียBeerza Kub
 

Similar to สื่อดิจิทัล (20)

Title
TitleTitle
Title
 
เทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสมเทคโนโลยีสื่อประสม
เทคโนโลยีสื่อประสม
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
คอม2
คอม2คอม2
คอม2
 
1 multimedia
1 multimedia1 multimedia
1 multimedia
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
นาย อัฒพล เจริญรัตน์ 538144213
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.Ppt
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOaสแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
สแกนเนอร์ที่เหมาะกับOa
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 

สื่อดิจิทัล

  • 1.   สื่อดิจิทัล โดย นางสาว ฐาปนีย์ สีหาวงษ์ 54010520026
  • 2. เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิงที่มีอยู่เดิม เพื่อ ่ ให้ราคาถูกลงและรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อ ประโยชน์การใช้สอย ที่มากกว่าเดิมและสื่อดิจิตอล ( ตรงกันข้ามกับสืออนาล็อก) มักหมายถึงสื่อ ่ อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ใน ปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลข ฐานสอง ในกรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะ ระหว่าง "0" กับ "1" ในการแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูลดิจิตอลฐานสองแล้ว จึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของข้อมูล ดิจิตอลที่เหนือกว่า สือดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง ่ วิดีโอ หรือเนื้อหาดิจิตอลอื่น ๆ สามารถถูกสร้างขึ้น อ้างอิงถึงและได้รับการแจกจ่ายผ่านทางเครื่อง
  • 3. องค์ ป ระกอบของสื ่ อ ดิ จ ิ ต อล  องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็น อย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดีย ด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1. ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ (Video)
  • 4. ข้ อ ความ เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนือหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด ้ หรือเนือหาของเรื่องที่นาเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่ ้ สำาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่านจอภาพของ เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้ เลือกมากมายตามความต้องการแล้วยังสามารถกำาหนดลักษณะ ของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อกด้วย ี ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่  1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทวไป ั่ ได้จากการพิมพ์ดวย โปรแกรมประมวลผลงาน (Word ้ Processor) เช่น NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดย ตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII  1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้จากการนาเอกสารทีพิมพ์ไว้แล้ว(เอกสารต้นฉบับ) มา ่ ทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออก มาเป็นภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความทีพัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่ใช้ ่
  • 5. เสี ย ง  ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถ เล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทางานด้านเสียง หากในงาน มัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและสอดคล้องกับ เนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้น เกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย สร้างความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผูใช้ ้ มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้า เสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ
  • 6. ภาพนิ ่ ง  เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อ ระบบงานมัลติมีเดียมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการเรียนรู้หรือรับรู้ด้วย การมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถถ่ายทอด ความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษร ซึ่งข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความ แตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความ หมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสือ ่ ชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือวารสาร วิชาการ เป็นต้น
  • 7. ภาพเคลื ่ อ นไหว  ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพือแสดงขั้นตอน ่ หรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของเครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้ เพือสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจากผูชม ่ ้ การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มี คุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้าง เกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บ มากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า 
  • 8. วี ด ี โ อ  เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็น อย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพ เคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการ ใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลือง ทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ตำ่า กว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการ ประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผานกระบวนการบีบ ่ อัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB