SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน “Civil Defense”
เรียบเรียงโดย ร้อยตรีพงศธร ศิริสาคร
ผู้อํานวยการส่วนปฏิบัติการ
ศูนย์อํานวยการบรรเทาสาธารรณภัย
1. ความเป็นมา
การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (Civil Defense) เกิดขึ้นมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
(คศ.1914) มีการนําเครื่องบินมาใช้ในสงคราม ทิ้งระเบิดต่อเป้าหมายทางพลเรือนของฝ่ายศัตรู
เพื่อสร้างความหวาดกลัวและบั่นทอนกําลังใจ จํากัดการสนับสนุนของพลเรือนที่มีต่อทหาร
ถึงแม้ว่าในช่วงแรกนี้ยงไม่ได้สร้างความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สินของพลเรือนมากนัก แต่ก็ได้
สร้างผลกระทบทางด้านจิตวิทยาที่มีต่อพลเรือนอย่างมากทําให้รัฐตระหนักถึงภาระความรับผิด
ชอบของตนในการปกป้องพลเรือนจากภัยสงคราม เริ่มมีแนวทางการป้องกันภัยทางอากาศ
(Air Raid Precaution: ARP) การกําหนดสัญญาณเตือนภัย จัดตั้งอาสาสมัครระวังภัยและ
ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จัดตั้งหน่วยระงับอัคคีภัย (Fire Service and Volunteers) เรียกช่วงนี้ว่า
ช่วงก่อนสงครามเย็น (Pre Cold War Period 1917-1945)
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ โลกเข้าสู่ยุคสงครามเย็นอย่างเต็มตัว การป้องกันภัย
ฝ่ายพลเรือนได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านวิชาการ หลักทฤษฎี กฎหมาย
ระหว่างประเทศ การทุ่มเทงบประมาณภาครัฐ และความตื่นตัวของประชาชนเอง เนื่องจากทุกคน
ตระหนักถึงความน่ากลัวและรุนแรงของระเบิดนิวเคลีย โดยมี
พลเรือนชาวญี่ปุ่น (นางาซากิและ ฮิโรชิมา) เป็นตัวอย่าง
ความหวาดกลัวต่อระเบิดนิวเคลีย มีการจัดตั้งองค์กรป้องกัน
ภัยฝ่ายพลเรือนในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ในปี
คศ.1931 จนนําไปสู่การประชุมนานาชาติเพื่อกําหนดมาตรการ
กฎหมายด้านมนุษยธรรม (International Humanitarian Law)
และกําหนดคํานิยมความหมายของ “การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน” ว่า เป็นการดําเนินการด้าน
มนุษยธรรมเพื่อปกป้องอันตราย ให้แก่ พลเรือนจากสาธารณภัยหรือศัตรู เพื่อสนับสนุนพลเรือน
ให้ผ่านจากผลกระทบที่ได้รับโดยเร็ว และเพื่อเป็นหลักประกันการสร้างสภาวะที่จําเป็น ต่อการ
ดํารงชีพ (“Civil Defence” means the accomplishment of humanitarian actions intended to
protect civilian population from dangers of hostilities or disasters, to assist them in
surmounting their immediate effects and to ensure the necessary conditions for their
survival.) เรียกช่วงนี้ว่า ช่วงสงครามเย็น (Cold War Period 1945-1999)
การทําลายกําแพงเบอลิน เป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดสงครามเย็น โลกเข้าสู่ความหวาด
กลัวใหม่ นั่นคือ “การก่อการร้าย” หลายๆ ประเทศละทิ้ง การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนที่มีที่มา
และประวัติยาวนาน (รวมทั้งประเทศไทย) เข้าสู่แนวความคิดใหม่ของ “การป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย”
2. ปรัชญา
ปรัชญาของการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓ ข้อ ได้แก่
2.1 เพื่อสร้างสรรค์ความร่วมมือระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2.2 การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนต้องบริการแก่พลเรือน โดยไม่เลือกชาติ ศาสนา ภาษา วัย
หรือเพศ
2.3 ต้องดําเนินการด้วยความรวดเร็ว เร่งด่วน เพื่อช่วยเหลือชีวิตและทรัพย์สิน
ของพลเรือนตามหลักมนุษยธรรม
3. สัญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
วันที่ 12 สิงหาคม 2492 (1949) ที่ประชุมนานาชาติ 194 ประเทศ ร่วมกันกําหนด
รากฐานกฎหมายสากลด้านมนุษยธรรม ที่กรุงเจนีวา หรือที่รู้จักกันในนาม “ข้อตกลงเจนีวา (The
1949 Geneva Convention) ต่อมามีการปรับเพิ่ม กฎการปฏิบัติ (Protocol) ในปี 2520 (1977)
ว่าด้วย การปกป้องผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งด้านอาวุธระหว่างประเทศ มีรายละเอียด ตั้งแต่
การให้คํานิยาม วัตถุประสงค์ การกําหนดสัญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ที่จะด้รับการ
ปกป้องจากทุกประเทศ Protective Sign หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในระหว่างความขัดแย้ง
ทางอาวุธ ระบุว่าเจ้าหน้าที่ อาคาร สถานที่ ยานพาหนะและพื้นที่หลบภัยผู้ที่ติดสัญลักษณ์
เหล่านี้จะได้รับการปกป้อง ยอมรับและไม่ถูกทําร้าย จากประเทศคู่กรณี ตามหลักกฎหมาย
ว่าด้วยหลักมนุษยธรรมสากล หรือมีความหมายที่เข้าใจง่ายๆ ว่า “อย่ายิง” (Don’t shoot)
หนึ่งในสัญลักษณ์เหล่านี้ (ระบุในข้อ 66) คือสัญลักษณ์ “การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน”
มีสัญลักษณ์เครื่องหมาย 3 เหลี่ยมสีน้ําเงิน อยู่บนพื้นสีส้ม (สามเหลี่ยมไม่แตะขอบพื้นสีส้ม)
สีน้ําเงิน หมายถึง “ความเข็มแข็ง มุ่งมั่น”
(Blue is the color of the sky and sea. It is often associated with depth and stability. It
symbolizes trust, loyalty, wisdom, confidence, intelligence, faith, truth, and heaven.)
สีส้ม มีความหมายสากลว่า “ความปลอดภัย”
(Orange combines the energy of red and the happiness of yellow. It is associated with
joy, sunshine, and the tropics. Orange represents enthusiasm, fascination, happiness,
creativity, determination, attraction, success, encouragement, and stimulation.)
4. การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในประเทศไทย
ในอดีตเคยมีการจัดตั้งส่วนราชการที่มีหน้าที่ในการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มีฐานะ
เป็นหน่วยงานทั้งระดับกอง และระดับกรมมาแล้ว ซึ่งมี ประวัติเกี่ยวกับการจัดตั้ง หน่วยงาน
เพื่อรับผิดชอบ สรุปได้ ดังนี้
4.1 พ.ศ.2477 ได้มี พ.ร.บ. จัดระเบียบการป้องกันราชอาณาจักรแก้ไขเพิ่มเติม จัดตั้ง
“กรมป้องกันและต่อสู้อากาศยาน” หรือที่เรียกกันทั่วๆ ไปว่า "กรม ปตอ." มีหน้าที่ป้องกันภัย
ทางอากาศ ตามคําสั่งของ กระทรวงกลาโหม เรื่องการจัดตั้ง กรมป้องกันต่อสู้อากาศยาน
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2477
4.2 พ.ศ.2482 ประกาศใช้ พ.ร.บ. ป้องกันภัยทางอากาศ มีการจัดตั้งหน่วยป้องกัน
ภัยทางอากาศ ปฏิบัติหน้าที่ในคราวสงครามอินโดจีน ฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา
4.3 พ.ศ.2487 โอนกิจการป้องกันภัยทางอากาศจากกระทวงกลาโหม มาขึ้นกับ
กระทรวงมหาดไทย โดยใช้ชื่อใหม่ว่า “กรมป้องกันภัยทางอากาศ”
4.4 พ.ศ.2489 ได้มีการยุบกรมป้องกันภัยทางอากาศด้วยเหตุผลบางประการ
4.5 พ.ศ.2494 ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง “กองป้องกันและบรรเทาภัย” สังกัด
กรมมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย
4.6 พ.ศ.2495 ยกฐานะกองป้องกันและบรรเทาภัยขึ้นเป็นกรม เรียกว่า “กรมป้องกัน
สาธารณภัย” สังกัดกระทรวงมหาดไทย
4.7 พ.ศ.2501 ได้ยุบกรมป้องกันสาธารณภัย และจัดตั้งเป็นกองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สังกัด “สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย”
4.8 พ.ศ.2505 ได้มีการปรับปรุงส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย และได้โอน “กอง
ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน” ไปสังกัด “กรมการปกครอง”
4.9 พ.ศ.2522 ประการใช้พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กําหนดให้มี คณะ
กรรมการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประกอบด้วยผู้แทนจากกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้
การประสานงานและได้กําหนดผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน คือ
ผู้อํานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในระดับชาติ กรุงเทพมหานคร จังหวัด อําเภอ เทศบาล
และเมืองพัทยา โดยกําหนดให้กรมการปกครองทําหน้าที่ เป็นสํานักเลขาธิการป้องกันภัย ฝ่าย
พลเรือน
4.10 พ.ศ.2545 มีการตรา พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2545
และพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม
2545 จัดตั้ง “กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย” ขึ้น ประกอบด้วยส่วนราชการจาก
ก. กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมการปกครอง
ข. สํานักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี
ค. กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย กรมประชาสงเคราะห์
ง. ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต ๑ – ๙ กรมการพัฒนาชถุมชน
จ. กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท
5. สัญลักษณ์ การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในประเทศต่างๆ
Singapore(old) Singapore(new) USA. (old) USA.(new)
กอ.รมน. New Zealand Philippines Scotland
เครื่องหมายยศ สิงค์โปร์ CD Hawaii Yugoslavia
เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เอกสารอ้างอิง
1. A Brief History of Civil Defense, edited by Tim Essex-Lopresti. 2005
2. Civil Defense and Homeland Security: A Short History of National Preparedness
effort. Department of Homeland Security 2006.
3. Advisory Service on International Humanitarian Law. www.icdo.org
4. Protocol Additional to the Geneva Conventions of 12 August 1949, and relating to
the Protection of Victims of International Armed Conflicts (Protocol I), 8 June 1977.
5. http://www.color-wheel-pro.com/color-meaning.html
6. คู่มือปฏิบัติงาน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๔๗
	
  	
  
	
  

More Related Content

What's hot

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนssuser66968f
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54RMUTT
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 

What's hot (20)

Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's SketchpadGsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
Gsp สำหรับมัธยม Geometer's Sketchpad
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรมการบริหาร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 

Viewers also liked

การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. Pongsatorn Sirisakorn
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศPongsatorn Sirisakorn
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014Pongsatorn Sirisakorn
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553อินทนนท์ พูลทอง
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSPongsatorn Sirisakorn
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 
แผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadแผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadPongsatorn Sirisakorn
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยPongsatorn Sirisakorn
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ DdpmPongsatorn Sirisakorn
 

Viewers also liked (13)

การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
 
SME Buisness Continuity Thai
SME Buisness Continuity Thai SME Buisness Continuity Thai
SME Buisness Continuity Thai
 
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กับการจัดการในภาวะฉุกเฉินของประเทศ
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
 
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMSระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา NIMS
 
Thailand floods ics report 2011
Thailand floods ics report 2011Thailand floods ics report 2011
Thailand floods ics report 2011
 
British embassy thanks
British embassy thanksBritish embassy thanks
British embassy thanks
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 
แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558แผน ปภ.ชาติ 2558
แผน ปภ.ชาติ 2558
 
แผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 uploadแผน ปภ.ชาติ 58 upload
แผน ปภ.ชาติ 58 upload
 
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
 

More from Pongsatorn Sirisakorn

คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.Pongsatorn Sirisakorn
 
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด Pongsatorn Sirisakorn
 
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยPongsatorn Sirisakorn
 

More from Pongsatorn Sirisakorn (7)

Eoc Thai by paladtai
Eoc Thai by paladtaiEoc Thai by paladtai
Eoc Thai by paladtai
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
 
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
การเขียนแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด
 
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทยประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
ประสบการณ์การใช้ Ics ในไทย
 
Ic sapplication thailand
Ic sapplication thailandIc sapplication thailand
Ic sapplication thailand
 
JCC ARF DiREx 2013
JCC ARF DiREx 2013JCC ARF DiREx 2013
JCC ARF DiREx 2013
 
ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials ICS for Senior Officials
ICS for Senior Officials
 

สัญญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน

  • 1. การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน “Civil Defense” เรียบเรียงโดย ร้อยตรีพงศธร ศิริสาคร ผู้อํานวยการส่วนปฏิบัติการ ศูนย์อํานวยการบรรเทาสาธารรณภัย 1. ความเป็นมา การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (Civil Defense) เกิดขึ้นมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (คศ.1914) มีการนําเครื่องบินมาใช้ในสงคราม ทิ้งระเบิดต่อเป้าหมายทางพลเรือนของฝ่ายศัตรู เพื่อสร้างความหวาดกลัวและบั่นทอนกําลังใจ จํากัดการสนับสนุนของพลเรือนที่มีต่อทหาร ถึงแม้ว่าในช่วงแรกนี้ยงไม่ได้สร้างความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สินของพลเรือนมากนัก แต่ก็ได้ สร้างผลกระทบทางด้านจิตวิทยาที่มีต่อพลเรือนอย่างมากทําให้รัฐตระหนักถึงภาระความรับผิด ชอบของตนในการปกป้องพลเรือนจากภัยสงคราม เริ่มมีแนวทางการป้องกันภัยทางอากาศ (Air Raid Precaution: ARP) การกําหนดสัญญาณเตือนภัย จัดตั้งอาสาสมัครระวังภัยและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จัดตั้งหน่วยระงับอัคคีภัย (Fire Service and Volunteers) เรียกช่วงนี้ว่า ช่วงก่อนสงครามเย็น (Pre Cold War Period 1917-1945) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ โลกเข้าสู่ยุคสงครามเย็นอย่างเต็มตัว การป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือนได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านวิชาการ หลักทฤษฎี กฎหมาย ระหว่างประเทศ การทุ่มเทงบประมาณภาครัฐ และความตื่นตัวของประชาชนเอง เนื่องจากทุกคน ตระหนักถึงความน่ากลัวและรุนแรงของระเบิดนิวเคลีย โดยมี พลเรือนชาวญี่ปุ่น (นางาซากิและ ฮิโรชิมา) เป็นตัวอย่าง ความหวาดกลัวต่อระเบิดนิวเคลีย มีการจัดตั้งองค์กรป้องกัน ภัยฝ่ายพลเรือนในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ในปี คศ.1931 จนนําไปสู่การประชุมนานาชาติเพื่อกําหนดมาตรการ กฎหมายด้านมนุษยธรรม (International Humanitarian Law) และกําหนดคํานิยมความหมายของ “การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน” ว่า เป็นการดําเนินการด้าน มนุษยธรรมเพื่อปกป้องอันตราย ให้แก่ พลเรือนจากสาธารณภัยหรือศัตรู เพื่อสนับสนุนพลเรือน ให้ผ่านจากผลกระทบที่ได้รับโดยเร็ว และเพื่อเป็นหลักประกันการสร้างสภาวะที่จําเป็น ต่อการ ดํารงชีพ (“Civil Defence” means the accomplishment of humanitarian actions intended to protect civilian population from dangers of hostilities or disasters, to assist them in
  • 2. surmounting their immediate effects and to ensure the necessary conditions for their survival.) เรียกช่วงนี้ว่า ช่วงสงครามเย็น (Cold War Period 1945-1999) การทําลายกําแพงเบอลิน เป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดสงครามเย็น โลกเข้าสู่ความหวาด กลัวใหม่ นั่นคือ “การก่อการร้าย” หลายๆ ประเทศละทิ้ง การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนที่มีที่มา และประวัติยาวนาน (รวมทั้งประเทศไทย) เข้าสู่แนวความคิดใหม่ของ “การป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย” 2. ปรัชญา ปรัชญาของการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓ ข้อ ได้แก่ 2.1 เพื่อสร้างสรรค์ความร่วมมือระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2.2 การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนต้องบริการแก่พลเรือน โดยไม่เลือกชาติ ศาสนา ภาษา วัย หรือเพศ 2.3 ต้องดําเนินการด้วยความรวดเร็ว เร่งด่วน เพื่อช่วยเหลือชีวิตและทรัพย์สิน ของพลเรือนตามหลักมนุษยธรรม 3. สัญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน วันที่ 12 สิงหาคม 2492 (1949) ที่ประชุมนานาชาติ 194 ประเทศ ร่วมกันกําหนด รากฐานกฎหมายสากลด้านมนุษยธรรม ที่กรุงเจนีวา หรือที่รู้จักกันในนาม “ข้อตกลงเจนีวา (The 1949 Geneva Convention) ต่อมามีการปรับเพิ่ม กฎการปฏิบัติ (Protocol) ในปี 2520 (1977) ว่าด้วย การปกป้องผู้ประสบภัยจากความขัดแย้งด้านอาวุธระหว่างประเทศ มีรายละเอียด ตั้งแต่ การให้คํานิยาม วัตถุประสงค์ การกําหนดสัญลักษณ์การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ที่จะด้รับการ ปกป้องจากทุกประเทศ Protective Sign หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในระหว่างความขัดแย้ง ทางอาวุธ ระบุว่าเจ้าหน้าที่ อาคาร สถานที่ ยานพาหนะและพื้นที่หลบภัยผู้ที่ติดสัญลักษณ์ เหล่านี้จะได้รับการปกป้อง ยอมรับและไม่ถูกทําร้าย จากประเทศคู่กรณี ตามหลักกฎหมาย ว่าด้วยหลักมนุษยธรรมสากล หรือมีความหมายที่เข้าใจง่ายๆ ว่า “อย่ายิง” (Don’t shoot) หนึ่งในสัญลักษณ์เหล่านี้ (ระบุในข้อ 66) คือสัญลักษณ์ “การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน” มีสัญลักษณ์เครื่องหมาย 3 เหลี่ยมสีน้ําเงิน อยู่บนพื้นสีส้ม (สามเหลี่ยมไม่แตะขอบพื้นสีส้ม)
  • 3. สีน้ําเงิน หมายถึง “ความเข็มแข็ง มุ่งมั่น” (Blue is the color of the sky and sea. It is often associated with depth and stability. It symbolizes trust, loyalty, wisdom, confidence, intelligence, faith, truth, and heaven.) สีส้ม มีความหมายสากลว่า “ความปลอดภัย” (Orange combines the energy of red and the happiness of yellow. It is associated with joy, sunshine, and the tropics. Orange represents enthusiasm, fascination, happiness, creativity, determination, attraction, success, encouragement, and stimulation.) 4. การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในประเทศไทย ในอดีตเคยมีการจัดตั้งส่วนราชการที่มีหน้าที่ในการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน มีฐานะ เป็นหน่วยงานทั้งระดับกอง และระดับกรมมาแล้ว ซึ่งมี ประวัติเกี่ยวกับการจัดตั้ง หน่วยงาน เพื่อรับผิดชอบ สรุปได้ ดังนี้ 4.1 พ.ศ.2477 ได้มี พ.ร.บ. จัดระเบียบการป้องกันราชอาณาจักรแก้ไขเพิ่มเติม จัดตั้ง “กรมป้องกันและต่อสู้อากาศยาน” หรือที่เรียกกันทั่วๆ ไปว่า "กรม ปตอ." มีหน้าที่ป้องกันภัย ทางอากาศ ตามคําสั่งของ กระทรวงกลาโหม เรื่องการจัดตั้ง กรมป้องกันต่อสู้อากาศยาน เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2477 4.2 พ.ศ.2482 ประกาศใช้ พ.ร.บ. ป้องกันภัยทางอากาศ มีการจัดตั้งหน่วยป้องกัน ภัยทางอากาศ ปฏิบัติหน้าที่ในคราวสงครามอินโดจีน ฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา 4.3 พ.ศ.2487 โอนกิจการป้องกันภัยทางอากาศจากกระทวงกลาโหม มาขึ้นกับ กระทรวงมหาดไทย โดยใช้ชื่อใหม่ว่า “กรมป้องกันภัยทางอากาศ” 4.4 พ.ศ.2489 ได้มีการยุบกรมป้องกันภัยทางอากาศด้วยเหตุผลบางประการ 4.5 พ.ศ.2494 ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง “กองป้องกันและบรรเทาภัย” สังกัด กรมมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย
  • 4. 4.6 พ.ศ.2495 ยกฐานะกองป้องกันและบรรเทาภัยขึ้นเป็นกรม เรียกว่า “กรมป้องกัน สาธารณภัย” สังกัดกระทรวงมหาดไทย 4.7 พ.ศ.2501 ได้ยุบกรมป้องกันสาธารณภัย และจัดตั้งเป็นกองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน สังกัด “สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย” 4.8 พ.ศ.2505 ได้มีการปรับปรุงส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย และได้โอน “กอง ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน” ไปสังกัด “กรมการปกครอง” 4.9 พ.ศ.2522 ประการใช้พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กําหนดให้มี คณะ กรรมการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประกอบด้วยผู้แทนจากกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้ การประสานงานและได้กําหนดผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน คือ ผู้อํานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในระดับชาติ กรุงเทพมหานคร จังหวัด อําเภอ เทศบาล และเมืองพัทยา โดยกําหนดให้กรมการปกครองทําหน้าที่ เป็นสํานักเลขาธิการป้องกันภัย ฝ่าย พลเรือน 4.10 พ.ศ.2545 มีการตรา พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม 2545 จัดตั้ง “กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย” ขึ้น ประกอบด้วยส่วนราชการจาก ก. กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมการปกครอง ข. สํานักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี ค. กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย กรมประชาสงเคราะห์ ง. ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต ๑ – ๙ กรมการพัฒนาชถุมชน จ. กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท 5. สัญลักษณ์ การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ในประเทศต่างๆ Singapore(old) Singapore(new) USA. (old) USA.(new)
  • 5. กอ.รมน. New Zealand Philippines Scotland เครื่องหมายยศ สิงค์โปร์ CD Hawaii Yugoslavia เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  • 6. เอกสารอ้างอิง 1. A Brief History of Civil Defense, edited by Tim Essex-Lopresti. 2005 2. Civil Defense and Homeland Security: A Short History of National Preparedness effort. Department of Homeland Security 2006. 3. Advisory Service on International Humanitarian Law. www.icdo.org 4. Protocol Additional to the Geneva Conventions of 12 August 1949, and relating to the Protection of Victims of International Armed Conflicts (Protocol I), 8 June 1977. 5. http://www.color-wheel-pro.com/color-meaning.html 6. คู่มือปฏิบัติงาน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๔๗