SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
บทที่ 3
                          กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
               ในบทนี้เราจะศึกษาถึงสาเหตุที่ทาใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ ขอบเขตของการศึกษาใหมนี้มีชื่อวา
                                             ํ
พลศาสตร ซึ่งครอบคลุมจลศาสตรอีกที เราจึงจําเปนตองขยายแนวคิด โดยนิยามแรงและมวลเพิ่มขึ้น ในบท
นี้จะทําการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีขนาดใหญพอที่จะมองเห็นดวยตาเปลาไดและอัตราเร็วในการ
เคลื่อนที่นอยกวาอัตราเร็วของแสงมาก ๆ โดยใชกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ในกรณีที่วัตถุมีขนาดเล็กมาก ๆ
ในระดับอะตอมหรือโมเลกุลหรือวัตถุมีการเคลื่อนที่เร็วใกลเคียงกับอัตราเร็วของแสง กฎการเคลื่อนที่ของ
นิวตันจะไมสามารถใชอธิบายการเคลื่อนที่ได
3.1 แรง
              แรงเปนหัวใจสําคัญของวิชาฟสิกส เปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้น ถาจะอธิบายแรงหนึ่ง ๆ จะตอง
เขียนบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ หนวยสากลของแรงคือนิวตัน (N) โดย แรงสุทธิ 1 นิวตัน คือ แรงที่
ทําใหมวล 1 กิโลกรัม มีความเรง 1 เมตรตอวินาที2 (1 N = 1 Kg⋅m⋅s-2)
             แรงพื้นฐานในธรรมชาติมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ
   1. แรงโนมถวง (gravitational force) ขึ้นกับขนาดของมวล และระยะทางกําลังสองผกผัน
   2. แรงแมเหล็กไฟฟา (electromagnetic force) เปนแรงระหวางประจุไฟฟา ขึ้นอยูกับขนาดของประจุ
      ไฟฟาและระยะทางกําลังสองผกผัน
   3. แรงนิวเคลียร (nuclear force) เปนแรงที่ยึดนิวคลีออนในนิวเคลียส ทําใหนิวเคลียสคงสภาพอยูได
   4. แรงอยางออน (weak force) เปนแรงดึงดูดระหวางอนุภาคพื้นฐาน เพื่อประกอบกันเปนอนุภาคขนาด
      ใหญ และเปนสาเหตุของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีบางชนิด




                      รูปที่ 3.1 แรงที่กระทําบนกลอง (a) แรงดึง (b) แรงผลัก

            ออกแรงดึงหรือผลักกลองผานเครื่องชั่งสปริง ดังรูปที่ 3.1 (a) แรงดึงหรือแรงผลักแทนดวย
ลูกศรเวกเตอร ดังรูปที่ 3.1 (b) มาตราสวนที่กําหนดขึ้นตองใหตรงกับขนาดของแรง เชน 1 cm แทน 10 N
ถาออกแรง 40 N ก็ใหลากลูกศรนี้ยาว 4 cm
ฟสิกสเบื้องตน                                                                              26




                              รูปที่ 3.2 แผนภาพแทนแรงที่กระทําบนกลอง

             แรง F1 และ F2 กระทําพรอมกันที่ตําแหนงเดียวกัน ดังรูปที่ 3.3 เราสามารถรวมแรงทั้งสอง
เปนแรงลัพธแรงเดียว R โดยใชหลักการรวมแรงเหมือนกับการบวกลบเวกเตอรธรรมดา ดังนั้น ถึงแมวาจะมี
แรงมากกวา 2 แรง ก็ใชหลักการบวกลบเวกเตอรในบทที่แลวไดทั้งสิ้น




                            รูปที่ 3.3 R คือเวกเตอรลัพธของเวกเตอร F1 และ F2
                                      กระทําพรอมกันที่ตําแหนงเดียวกัน




               รูปที่ 3.4 แรงดึง F ทํามุม θ กับแกน x สามารถแตกแรงออกเปนแรงยอย 2 แรง
                          แรงในแนวแกน x และในแนวแกน y

             ออกแรง F กระทํากับกลองที่จุด O ในระบบพิกัดฉาก xy ดังรูปที่ 3.4 (a) แรง F สามารถแตก
ออกเปนแรงยอย 2 แรง แรงในแนวแกน x คือ Fx และแรงในแนวแกน y คือ Fy ที่จุด O จึงเสมือนกับมีแรง 2
แรงนี้มากระทํา



                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                       27

กําหนดให          F = 10.0 N , θ =          30o
                   Fx = F cosθ =           (10.0 N)(0.866)      =        8.66 N
                   Fy = F sinθ =           (10.0 N)(0.500)      =        5.00 N

            นั่นคือแรง F 10 N สามารถแตกออกเปนแรงยอย 2 แรง คือแรงในแนวแกน x = 8.66 N
และแรงใน แนวแกน y = 5.00 N
ขอสังเกต การกําหนดระบบพิกัดฉาก xy ไมจําเปนวาจะตองอยูในแนวระดับและแนวดิ่งเทานั้น
                ดังรูปที่ 3.5 ออกแรงดึงกลองขึ้นบนพื้นเอียง ดวยแรง 2 แรงคือ Fx และ Fy ซึ่งแกน x
               และ y จะมีทศทางขนานและตั้งฉากกับพื้นเอียง
                              ิ




                    รูปที่ 3.5 Fx และ Fy คือสวนประกอบยอยของแรง F ตามแนวแกน x และ y

            การรวมแรงหลายแรงเพื่อจะหาแรงลัพธเพียงแรงเดียว นิยมใชสญลักษณ Σ (ซิกมา) แทน
                                                                         ั
เพื่อรวมผลบวกที่มีแรงหลาย ๆ คา เชน แรง F1, F2, F3 ..... กระทําพรอม ๆ กันที่จุดเดียวกันดังนั้นแรงลัพธ
คือ
                         R = F1 + F2 + F3 + ..... = ΣF                                               (3.1)
            ถาแยกแรงออกเปนสวนประกอบยอยบนแกน x และ y จะไดวา
                       Rx       = ΣFx , Ry = ΣFy                                                     (3.2)

               ขนาดของ R หาไดจาก
                         R        =      R2 + R2
                                          x    y

               มุมของ R เทียบกับแกน x แทนดวย α หาไดจาก
                                   R
                         tan α = y
                                   Rx
                Ry และ Rx อาจจะมีคาเปนบวกหรือลบ ขึ้นอยูกับทิศทางของแรงที่กระทําซึ่งจะทําใหทราบ
วา มุม α อยูในพิกัดฉาก xy สวนใด




                     สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                            28




                   รูปที่ 3.6 เวกเตอรลัพธ R คือแรงรวมของเวกเตอร F1, F2 และ F3
                               สวนประกอบยอยของ R ตามแกน x, Rx = ΣFx และแกน y , Ry = ΣFy


ตัวอยางที่ 3.1      จากรูปที่ 3.6 แรง F1, F2 , F3 อยูบนระนาบเดียวกัน กระทํารวมกันบนจุด O
ให F1 = 120 N, F2 = 200 N , F3 = 150 N θ = 60o และ φ = 45o จงคํานวณหาขนาดและทิศทางของ
แรงลัพธ R
วิธทํา
   ี

                 แรง            มุม        สวนประกอบแกน x       สวนประกอบแกน y
             F1 = 120            0              + 120 N                  0
             F2 = 200           60o             + 100 N               + 173 N
             F3 = 150           45o             - 106 N               - 106 N


                        Rx      = ΣFx = + 114 N           ; Ry =      ΣFy = + 67 N
                        R       =    (114 N) 2 + (67 N) 2         = 132 N
                                          67N
                        α      = tan −1        = tan-1 0.588      = 30.4o
                                         114N
คําตอบ         ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ R คือ 132 N ในทิศ 30.4o ตามลําดับ




                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                             29

3.2 มวลและน้ําหนัก
                มวล (mass) เปนสมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการ
เคลื่อนที่ หรือเปนปริมาณที่แปรผันตรงกับคาความตานทานตอการเกิดความเรงเมื่อถูกแรงกระทํา หรือ มวล
m ของวัตถุ หมายถึง ความเฉื่อยตอการเคลื่อนที่ มวลมีหนวยเปนกิโลกรัม
              น้ําหนัก (Weight) หมายถึง แรงที่เกิดจากความเรงโนมถวงของโลกกระทําตอวัตถุ
ดังนั้น ถาปลอยใหวตถุมวล m ตกลงมาอยางอิสระ แรงสุทธิที่กระทําตอวัตถุคือ น้ําหนักของมวล m คูณกับ
                     ั
ความเรงโนมถวงของโลก g นั่นเอง น้ําหนักมีหนวยเปน นิวตัน จาก F = ma จะได
                                    w        =        mg                                        (3.3)




                                          รูปที่ 3.7 มวลและน้ําหนัก
3.3 กฎขอที่ 1 ของนิวตัน
           กฎขอที่หนึ่งของนิวตันหรือ กฎของความเฉื่อย กลาววา “ วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่ง หรือสภาวะ
เคลื่อนที่อยางสม่ําเสมอในแนวเสนตรง นอกจากมีแรงลัพธมากระทํา” ขยายความไดวา ถาวัตถุนั้นนิ่งอยูไม
เคลื่อนไหวก็ยังนิ่งอยูอยางนั้น แตถาวัตถุนั้นกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ (a = 0) ก็ยงคงเคลื่อนที่ดวย
                                                                                             ั
ความเร็วคงที่ตอไปตราบใดที่ไมมีแรงภายนอกมากระทํา




                                         รูปที่ 3.8 แรงกระทําบนวัตถุ

                พิจารณากอนน้ําแข็งวางอยูเฉย ๆ บนพื้นที่เปยกลื่น ถามีแรง F1 กระทําตามรูปที่ 3.8 (a)
น้ําแข็งจะเคลื่อนที่เลื่อนตําแหนงไป เราเรียกวา น้ําแข็งไมไดอยูในสภาวะสมดุล ถาเราใหแรง F2 พรอมกับ
แรง F1 โดย F2 มีขนาดเทากับแรง F1 แตทิศตรงขาม ดังรูปที่ 3.8 (b) วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่งหรือถา
กําลังเคลื่อนที่ก็เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ เนื่องจากแรงทั้งสองเทากันแตทิศตรงขาม ดังนั้น


                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                           30


                          F2         = - F1
               เวกเตอรลัพธ R ซึ่งเปนผลรวมของเวกเตอรทั้งสองจะเทากับศูนย

                          R         = F 1 + F2         =     0

               เมื่อวัตถุอยูในสภาวะสมดุล ผลรวมของเวกเตอรลัพธ R ของแรงทั้งหมดจะตองเทากับศูนย
                              R     = ΣF           = 0                         หรือ

                           ΣFx      = 0 , Σ Fy =             0                                          (3.4)

              นิวตันบรรยายกฎขอที่หนึ่งวา “วัตถุจะรักษาสภาวะหยุดนิ่ง หรือสภาวะเคลื่อนที่อยางสม่ําเสมอ
ในแนวเสนตรงนอกจากมีแรงลัพธมากระทํา”                 กฎของเขาคอนขางจะขัดแยงกับความจริงที่พบเห็นใน
ชีวิตประจําวัน คุณลองออกแรงผลักหนังสือบนโตะ ถาไมออกแรงตอ หนังสือจะเคลื่อนที่ตอไปชั่วขณะ และ
หยุดการเคลื่อนที่ ถาตองการใหเคลื่อนที่ตอก็ตองออกแรงดันตอ สาเหตุมาจากแรงเสียดทานบนผิวของโตะ
ซึ่งสวนกับการเคลื่อนที่ของหนังสือ ถาพื้นผิวของโตะลื่นแรงเสียดทานก็นอย การเคลื่อนที่ของหนังสือก็ไปได
ไกล แตถาแรงเสียดทานมาก การเคลื่อนที่ของหนังสือก็ไปไดนอย
3.4 กฎขอที่ 2 ของนิวตัน
       กฎขอที่ 2 ของนิวตันบางที่เรียกวา กฎความเรง กฎขอนี้กลาววา ” ความเรงของอนุภาคเปนปฏิภาค
โดยตรงกับแรงลัพธที่กระทําตออนุภาค โดยมีทศทางเดียวกัน และเปนปฏิภาคผกผันกับมวลของอนุภาค”
                                           ิ




           รูปที่ 3.9 วัตถุถูกกระทําดวยแรงลัพธไมเปนศูนย ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรงไปในทิศเดียวกับ
                         แรงลัพธ

        ตามกฎขอที่ 2 ของนิวตัน เนื่องจากความเรงเปนสัดสวนตรงกับแรง ดังนั้น อัตราสวนของแรงกับ
ความเรงจะเปนคาคงที่ ซึ่งตรงกับมวล m ของวัตถุ เขียนเปนความสัมพันธไดดังนี้
                                        F
                                  m =
                                        a

        หรือ                        F = ma                                                              (3.5)

           ถาแรง F กระทํากับมวล m1 วัดความเรงได a1 และออกแรงเทากันกับมวล m2 วัดความเรงได
a2 จากสมการที่ 3.5


                     สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                   31

                                    m1a1     =        m2a2
                                    m2                a1
               หรือ                          =                                                   (3.6)
                                    m1                a2

              อัตราสวนของมวลจะเปนสัดสวนกลับกับอัตราสวนของความเรง          สรุปวาแรงขนาดเดียวกัน
ถาทํากับมวลที่มีขนาดใหญ จะไดความเรงนอย แตถาใหกับมวลที่มีขนาดเล็ก จะไดความเรงมาก
              ในกรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทําบนอนุภาคที่ตําแหนงเดียวกัน ความเรงคํานวณไดจาก
แรงลัพธ ซึ่งไดมาจากการรวมแรงทั้งหลาย ซึ่งใชวิธีการรวมแบบเวกเตอร ถาแยกแรงออกเปนแรงยอยบน
แกน xy จะได
              แรงรวมบนแกน x ΣFx = max                                                            (3.7)
              แรงรวมบนแกน y ΣFy = may                                                            (3.8)
              แรงลัพธ           ΣF = ma                                                        (3.9)

ΣF เปนแรงลัพธสุทธิที่กระทําบนวัตถุ
            ในระบบ 2 มิติ        Σ F = Σ Fx + Σ Fy
            ในระบบ 3 มิติ       Σ F = Σ Fx + Σ Fy + Σ Fz


ตัวอยางที่ 3.2 นักกีฬาเบสบอลขวางลูกเบสบอลน้ําหนัก 0.15 กิโลกรัมไปขางหนา ลูกเบสบอลมีความเร็ว
40 เมตรตอวินาที จงหาแรงที่นักกีฬาใชขวางบอล




วิธีทา
     ํ
                           v2 − v0
                                 2
                                     (40 m/s) 2 − 0
                      ax =         =                = 400m/s 2
                             2Δx        2(2.0 m)
                      Fx = ma x = ( 0.15 kg)( 400m/s 2 ) = 60 N

คําตอบ                แรงที่นักกีฬาใชขวางบอลคือ 60 นิวตัน




                      สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                               32

3.5 กฎขอที่ 3 ของนิวตัน
              กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตันกลาววา “ทุกแรงกิรยายอมมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเทากัน
                                                                  ิ
แตมีทิศตรงขามกันเสมอ กฎขอนี้เรียกวา กฎของกิริยาและปฏิกิริยา (Law of action and reaction)
              แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหมายถึง แรงกระทําและแรงกระทําตอบ โดยเปนแรงซึ่งกระทําตอ
มวลที่ตางกัน และเกิดขึ้นพรอมกันเปนคูเสมอ โดยที่มวลอาจไมสัมผัสกัน ดังรูปที่ 3.10 และถือวาแรงหนึ่งแรง
ใดเปนแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาก็ได จากรูป FAB คือแรงที่ A กระทําบน B และ FBA คือ แรงที่ B กระทําบน
A
                                            FAB     = - FBA                                 (3.10)




                                             รูปที่ 3.10 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา

         ลองพิจารณาแรงตาง ๆ ดังรูปที่ 3.11 ซึ่งแสดงแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาตามกฎขอที่ 3 ของนิวตัน
ซึ่งเราจะพบวาเมื่อใดที่มีแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ


                     แรงปฏิกิริยาของโตะกระทําตอสมุด



                     แรงกิริยาของสมุดกระทําตอโตะ

                   แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอโตะ
                                                                                            แรงที่เทากระทํากับพื้น

                       แรงกิริยาที่โตะกระทําตอพื้น                   แรงปฏิกิริยาของพืนกระทํากับเทา
                                                                                        ้


                             (ก)                                                    (ข)

              รูปที่ 3.11 แรงกิริยาใด ๆ จะตองมีแรงคูปฏิกิริยากระทําสวนมาในทิศตรงขามเสมอ




                     สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                        33


ตัวอยางที่ 3.3 ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม อยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งลง ตาชั่งชี้นําหนัก 400 นิวตัน จง
วิเคราะหการเคลื่อนที่ของลิฟท
วิธีทํา ใหพิจารณาวาแรงใดมีทิศเดียวกับความเรงใหใชแรงนั้นเปนตัวตั้ง




            ความเรงมีทิศชี้ลงตามแรง mg




          จากสูตร           ∑F                 =        ma
                    mg − N                     =        ma
                    50(10) − 400               =        50a
                    500 − 400                  =        50a
                    100                        =        50a
                    a                          =        2m / s2

คําตอบ ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2


ตัวอยาง 3.4 รถโดยสารคันหนึ่งลากรถพวงอีก 2 คัน ถาไมคิดแรงเสียดทานจงหาวาแรงดึงระหวางหัวรถจักร
กับรถพวงคันแรกจะมีคาเปนกีเทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันแรกกับคันที่สอง
                               ่
วิธีทํา ใหใชหลักการคิดดังนี้
         1. การที่วัตถุถูกลากไปดวยกัน แสดงวามีความเรงเทากันทั้งระบบ
         2. ถาเชือกเบาเทากันแลว แรงตึงในเสนเชือกจะเทากัน
         3. ถาเชือกเบาคนละเสนเนื่องจากมีมวลมาคั่น แรงตึงเชือกจะไมเทากัน
         4. แรงตึงเชือกมีทิศพุงออกจากจุดหรือระบบที่เราสนใจเสมอ




                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                     34


พิจารณารถพวงคันแรกในระบบ
       จากสูตร             ∑ F =             ma
       จะได             T1 − T2 =           ma                         (1)
พิจารณารถพวงคันที่สองในระบบ
         จากสูตร           ∑F       =        ma
         จะได             T2       =        ma                         (2)
นํา (2) แทนใน (1) จะได
                           T1 − T2 =         T2
       แสดงวา             T1      =         2T2
คําตอบ แรงดึงระหวางหัวรถจักรกับรถพวงคันแรกจะมีคาเปน 2 เทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันแรกกับ
       คันที่สอง



3.6 แรงเสียดทาน
                เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่บนพื้นผิวเราจะพบวามีแรงเสียดทานระหวางพื้นผิวเกิดขึ้นเสมอ โดย
แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ กระทําในแนวผิวสัมผัสของวัตถุทั้งสอง ถาออกแรงผลักวัตถุ มวล m
และปลอยใหเคลื่อนที่ดวยความเร็วตน v0 ตามแนวราบของโตะ ไปไดสักระยะหนึ่งวัตถุจะหยุดนิ่ง ที่เปนเชนนี้
ก็เนื่องจากเกิดแรง แรงเสียดทานซึ่งสวนทางกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น แรงเสียดทานมีประโยชนใน
การดํารงชีวิตประจําวัน เพราะถาไมมีแรงเสียดทานทุกพื้นผิวจะลื่นหมด เราจะไมสามารถเดินไปตามพื้นหรือ
ขับรถไปตามทองถนนได
               รูปที่ 3.12          ถาเราผลักกลองบนพื้นแนวระดับ ขณะเริ่มตนออกแรง กลองยังคงอยูกับที่
เพราะวาพื้นมีแรงเสียดทาน ถาออกแรงเพิ่มขึ้นแรงเสียดทานก็จะเพิ่มขึ้นเทากับแรงที่เราผลัก จนกระทั่งเพิ่ม
แรงขึ้นไปจนถึงระดับหนึ่งกลองจะเริ่มเคลื่อนที่แรงเสียดทานจะลดลงเปนแรงเสียดทานจลนและจะคงที่ตลอด
การเคลื่อนที่
                                             แรงที่กระทํา

                                                                        แรงเสียดทานจลน




                                                                      แรงเสียดทานสถิต



                                                                แรงเสียดทาน
                   รูปที่ 3.12 กราฟแสดงแรงเสียดทานเมื่อ ผลักกลองบนพื้นแนวระดับ




                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                    35

              ถาเราออกแรงมากกวาคาสูงสุดของแรงเสียดทาน           แรงสุทธิที่เหลือหลังจากลบแรงเสียดทาน
ออกไป จะทําใหกลองเคลื่อนที่ แรงเสียดทานจะลดลงและนอยกวาแรงเสียดทานสูงสุดกอนเคลื่อนที่ แรง
เสียดทานกอนการเคลื่อนที่มีชื่อเรียกวา แรงเสียดทานสถิต สวนแรงเสียดทานขณะกําลังเคลื่อนที่ เรียกวา
แรงเสียดทานจลน ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นอยูกับตัวประกอบ 2 ตัวคือ แรงในแนวตั้งฉากที่กด
ระหวางผิวสัมผัส (N) และ ชนิดของผิวสัมผัส ยกตัวอยางเชน ตองใชแรง 3 เทา เพื่อผลักกลองไมไปบน
พื้นไม เมื่อเทียบกับผลักกลองเหล็กบนพื้นเหล็กนาสังเกตวาพื้นที่ระหวางผิวสัมผัสไมมีผลกับแรงเสียดทาน

                                                                               N
                               N




        รูปที่ 3.13 แรงกดในแนวดิ่ง N มีคามากขึ้นเทาไร แรงเสียดทานก็ยิ่งมีคามากขึ้นเทานั้น
สมการของแรงเสียดทาน
                        f       =         μN                                            (3.11)
           μ คือ สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ขึ้นอยูกับชนิดของผิวสัมผัส
           N คือ แรงกดแนวตั้งฉากระหวางผิวสัมผัส

               จากการทดลองพบวา แรงเสียดทานสถิตเปนสัดสวนตรงกับแรงที่กดระหวางผิวสัมผัส
                         fs      =       μsN
                         fs      =       แรงเสียดทานสถิต
                         μs      =       สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต
                         N       =       แรงปฏิกิริยาในแนวตั้งฉาก

               กรณีวัตถุเคลื่อนที่แลว แรงเสียดทานจลนจะได
                              fk       =        μkN
                              fk       =        แรงเสียดทานจลน
                              μk       =        สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน
                              N        =        แรงปฏิกริยาในแนวตั้งฉาก
                                                        ิ




                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                   36

ตารางที่ 3.1 μs และ μk สําหรับพื้นผิวสัมผัสแบบตาง ๆ

                          ชนิดของผิวสัมผัส                    μs                   μk
                    เหล็กบนเหล็ก                             0.74                 0.57
                    อลูมิเนียมบนเหล็ก                        0.61                 0.47
                    ทองแดงบนเหล็ก                            0.53                 0.36
                    ทองเหลืองบนเหล็ก                         0.51                 0.44
                    สังกะสีบนเหล็กหลอ                       0.85                 0.21
                    ทองแดงบนเหล็กหลอ                        1.05                 0.29
                    แกวบนแกว                               0.94                 0.40
                    ทองแดงบนแกว                             0.68                 0.53
                    ยางบนผิวคอนกรีต (แหง)                   1.00                 0.80
                    ยางบนผิวคอนกรีต (เปยก)                  0.30                 0.25


ตัวอยางที่ 3.5 ฉุดลากเลื่อนมวล 300 kg ดวยมา เชือกลากทํามุม 35o กับแนวระดับ ถาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทาน = 0.10 จงหาขนาดของแรงฉุดที่นอยที่สุด




                                              รูปที่ 3.14 มาลากเลื่อน
วิธีทํา
             แรงในแนวระดับ F cosθ จะตองมีคามากกวาแรงเสียดทานจึงจะทําใหเลื่อนเคลื่อนที่ สวนแรง
ปฏิกิริยาในแนวตั้งฉากจะเทากับน้ําหนัก mg ลบกับแรงที่ยกขึ้นในแนวดิ่ง Fsinθ

          จะไดแรงลากเลื่อนในแนวระดับ               =              แรงเสียดทาน
                             F cosθ                 =              μ (mg - F sinθ)
                                                            μ mg
                ดังนั้น         F         =
                                                        μsinθ + cosθ

                                                     (0.10)(300 kg)(9.8 m ⋅ s −2 )
                                          =                                              = 335 N
                                                        (0.10)(sin35     +   cos35 )

คําตอบ          ขนาดของแรงฉุดที่นอยที่สุด เทากับ 335 นิวตัน


                          สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                         37

                                           แบบฝกหัดบทที่ 3
1. ถามีแรงขนาด 12 นิวตัน และ 16 นิวตัน กระทําตอวัตถุซึ่งมีมวล 4 กิโลกรัม โดยแรงทั้งสองกระทําใหทิศ
ตั้งฉากซึ่งกันและกันวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยอัตราเรงเทาใด

2. ออกแรงลากวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( μ คือสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
จลน) อยากทราบขนาดของแรงวาเปนกี่นิวตัน

                                         100 kg                              F

                                           μ = 0.1
3. ชายคนหนึ่งลากกระเปามวล 5 กิโลกรัม ใหเลื่อนไปตามพื้นราบที่ไมมีความฝดดวยแรง 40 นิวตัน โดยแรง
นี้ทํามุม 30 องศา กับแนวราบ กระเปาจะเลื่อนไปตามพื้นราบดวยความเรงเทาไร

4. กลองใสมวล 20 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งดวยแรงคงที่ขนาด 22 นิวตัน ในทิศ 60 องศากับแนวราบให
เคลื่อนที่ไปตามพื้นราบจนมีความเร็ว 2 เมตรตอวินาที ในเวลา 0.8 วินาที ถาคิดวาแรงเสียดทานคงที่ แรง
เสียดทานนี้จะมีขนาดกี่นิวตัน

5. นักกระโดดรมมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินดวยการยอตัว ขนาดยืดตัวขึ้นจุดศูนยกลางมวลมีความเรง 30
เมตรตอวินาที2 แรงที่พื้นกระทําตอเทาของนักกระโดดรมคนนี้มีคาเทาใด

6. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งลงตาชั่งชี้นําหนัก 600 นิวตัน จงวิเคราะห
                                                                             ้
การเคลื่อนที่ของลิฟท

7. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งขึ้นตาชั่งชี้น้ําหนัก 500 นิวตัน จงวิเคราะห
การเคลื่อนที่ของลิฟท

8. วัตถุมวล 5 และ 10 กิโลกรัมผูกติดกันดวยเชือกเบาดังรูปวัตถุทั้งสองวางอยูบนพื้นราบที่ไมมีความฝด ให
แรง F ซึ่งมีคาคงที่กระทําตอวัตถุทั้งสอง หลังจากดึงไดนาน 15 วินาทีวัตถุทั้งสองก็มีความเร็ว 45 เมตรตอ
วินาที แรงดึงมวล 5 กิโลกรัมเปนกี่นิวตัน
                                        a

                                       T               10 kg                      F
                        5 kg




                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                    38

9. พิจารณาระบบในรูป กําหนดใหเชือกไมมีมวลแลพื้นไมมีแรงเสียดทาน แรงดึงในเชือก T จะมีคากี่นิวตัน

                                  5 kg

                                                                      a



                                                              10 kg



10. บอลลูนลูกหนึ่งลอยไปในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงที่ 1 เมตรตอวินาที ดวยมวลทั้งหมด 300 กิโลกรัม เมื่อ
ลอยขึ้นไปได 10 เมตร คนในบอลลูนปลอยถุงทรายทิ้งออกมา 15 ถุง หนักถุงละ 2 กิโลกรัม จงหาอัตราเรง
ของบอลลูนในขณะนั้น

11. ใหนกศึกษาทําการทดลองเสมือนจริง0kd
         ั
   http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/lectureonline/ritphysics/kap4/cd082thai.htm
รวมเวกเตอรของแรงใหเปนแรงลัพธ ในการทดลองนี้คุณสามารถเปลี่ยนขนาดและทิศทางของแรงโดยคลิก
เมาสคางที่ปลายหัวลูกศรของเวกเตอร ( สีแดง , สีเขียว และสีน้ําเงิน) ใหสังเกตการเปลี่ยนแปลงขนาดและ
ทิศทางของเวกเตอรลัพธ (ลูกศรสีดํา) ซึ่งเปนผลลัพธของเวกเตอรทั้งสาม




ใหนกศึกษาสรางเวกเตอรทั้งสามโดยผลรวมของเวกเตอรตองเปนศูนย และเติมชองวางในตารางใหเต็ม
    ั

                                         Fx              Fy                lFl
                     F1
                     F2
                     F3
                    ผลรวม                0                0                0

วาดรูปเวกเตอรทั้งสามประกอบดวย




                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร (                                         ฟสิกส 1 (ความรอน)

ฟสิกส 2                                                            กลศาสตรเวกเตอร
โลหะวิทยาฟสิกส                                               เอกสารคําสอนฟสิกส 1
ฟสิกส 2 (บรรยาย(                                       แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c
ฟสิกสพิศวง                                           สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต
ทดสอบออนไลน                                                   วีดีโอการเรียนการสอน
หนาแรกในอดีต                                                 แผนใสการเรียนการสอน
เอกสารการสอน PDF                                   กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร
แบบฝกหัดออนไลน                                                     สุดยอดสิ่งประดิษฐ
                             การทดลองเสมือน

บทความพิเศษ                                            ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng)
พจนานุกรมฟสิกส                                             ลับสมองกับปญหาฟสิกส

ธรรมชาติมหัศจรรย                                                    สูตรพื้นฐานฟสิกส

การทดลองมหัศจรรย                                                ดาราศาสตรราชมงคล
                             แบบฝกหัดกลาง

แบบฝกหัดโลหะวิทยา                                                        แบบทดสอบ

ความรูรอบตัวทั่วไป                                                        อะไรเอย ?

ทดสอบ)เกมเศรษฐี (                                                           คดีปริศนา

ขอสอบเอนทรานซ                                                เฉลยกลศาสตรเวกเตอร
คําศัพทประจําสัปดาห
                               ความรูรอบตัว

การประดิษฐแของโลก                                           ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส
นักวิทยาศาสตรเทศ                                                   นักวิทยาศาสตรไทย
ดาราศาสตรพิศวง                                       การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส
การทํางานของอุปกรณตางๆ
การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. การวัด                                                                                2. เวกเตอร
3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ                                               4. การเคลื่อนที่บนระนาบ
5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน                                   6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. งานและพลังงาน                                                             8. การดลและโมเมนตัม
9. การหมุน                                                               10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
11. การเคลื่อนที่แบบคาบ                                                            12. ความยืดหยุน
13. กลศาสตรของไหล                                 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน
15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก                            16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
17. คลื่น                                                                   18.การสั่น และคลื่นเสียง
                             การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. ไฟฟาสถิต                                                                           2. สนามไฟฟา
3. ความกวางของสายฟา                                             4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน
5. ศักยไฟฟา                                                                         6. กระแสไฟฟา
7. สนามแมเหล็ก                                                                        8.การเหนี่ยวนํา
9. ไฟฟากระแสสลับ                                                                   10. ทรานซิสเตอร
11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ                                              12. แสงและการมองเห็น
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ                                                            14. กลศาสตรควอนตัม
15. โครงสรางของอะตอม                                                                  16. นิวเคลียร
                            การเรียนการสอนฟสิกสทั่วไป ผานทางอินเตอรเน็ต

1. จลศาสตร )kinematic)                                               2. จลพลศาสตร (kinetics)
3. งานและโมเมนตัม                                                     4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง
5. ของไหลกับความรอน                                                        6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา
7. แมเหล็กไฟฟา                                                         8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง
9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร




                                           ฟสิกสราชมงคล

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์Porna Saow
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 

What's hot (18)

เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to 3

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันชิตชัย โพธิ์ประภา
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1himham_029
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08witthawat silad
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 

Similar to 3 (20)

Lesson05
Lesson05Lesson05
Lesson05
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
Practice newton's law v1
Practice   newton's law v1Practice   newton's law v1
Practice newton's law v1
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 

3

  • 1. บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ในบทนี้เราจะศึกษาถึงสาเหตุที่ทาใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ ขอบเขตของการศึกษาใหมนี้มีชื่อวา ํ พลศาสตร ซึ่งครอบคลุมจลศาสตรอีกที เราจึงจําเปนตองขยายแนวคิด โดยนิยามแรงและมวลเพิ่มขึ้น ในบท นี้จะทําการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีขนาดใหญพอที่จะมองเห็นดวยตาเปลาไดและอัตราเร็วในการ เคลื่อนที่นอยกวาอัตราเร็วของแสงมาก ๆ โดยใชกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ในกรณีที่วัตถุมีขนาดเล็กมาก ๆ ในระดับอะตอมหรือโมเลกุลหรือวัตถุมีการเคลื่อนที่เร็วใกลเคียงกับอัตราเร็วของแสง กฎการเคลื่อนที่ของ นิวตันจะไมสามารถใชอธิบายการเคลื่อนที่ได 3.1 แรง แรงเปนหัวใจสําคัญของวิชาฟสิกส เปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้น ถาจะอธิบายแรงหนึ่ง ๆ จะตอง เขียนบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ หนวยสากลของแรงคือนิวตัน (N) โดย แรงสุทธิ 1 นิวตัน คือ แรงที่ ทําใหมวล 1 กิโลกรัม มีความเรง 1 เมตรตอวินาที2 (1 N = 1 Kg⋅m⋅s-2) แรงพื้นฐานในธรรมชาติมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ 1. แรงโนมถวง (gravitational force) ขึ้นกับขนาดของมวล และระยะทางกําลังสองผกผัน 2. แรงแมเหล็กไฟฟา (electromagnetic force) เปนแรงระหวางประจุไฟฟา ขึ้นอยูกับขนาดของประจุ ไฟฟาและระยะทางกําลังสองผกผัน 3. แรงนิวเคลียร (nuclear force) เปนแรงที่ยึดนิวคลีออนในนิวเคลียส ทําใหนิวเคลียสคงสภาพอยูได 4. แรงอยางออน (weak force) เปนแรงดึงดูดระหวางอนุภาคพื้นฐาน เพื่อประกอบกันเปนอนุภาคขนาด ใหญ และเปนสาเหตุของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีบางชนิด รูปที่ 3.1 แรงที่กระทําบนกลอง (a) แรงดึง (b) แรงผลัก ออกแรงดึงหรือผลักกลองผานเครื่องชั่งสปริง ดังรูปที่ 3.1 (a) แรงดึงหรือแรงผลักแทนดวย ลูกศรเวกเตอร ดังรูปที่ 3.1 (b) มาตราสวนที่กําหนดขึ้นตองใหตรงกับขนาดของแรง เชน 1 cm แทน 10 N ถาออกแรง 40 N ก็ใหลากลูกศรนี้ยาว 4 cm
  • 2. ฟสิกสเบื้องตน 26 รูปที่ 3.2 แผนภาพแทนแรงที่กระทําบนกลอง แรง F1 และ F2 กระทําพรอมกันที่ตําแหนงเดียวกัน ดังรูปที่ 3.3 เราสามารถรวมแรงทั้งสอง เปนแรงลัพธแรงเดียว R โดยใชหลักการรวมแรงเหมือนกับการบวกลบเวกเตอรธรรมดา ดังนั้น ถึงแมวาจะมี แรงมากกวา 2 แรง ก็ใชหลักการบวกลบเวกเตอรในบทที่แลวไดทั้งสิ้น รูปที่ 3.3 R คือเวกเตอรลัพธของเวกเตอร F1 และ F2 กระทําพรอมกันที่ตําแหนงเดียวกัน รูปที่ 3.4 แรงดึง F ทํามุม θ กับแกน x สามารถแตกแรงออกเปนแรงยอย 2 แรง แรงในแนวแกน x และในแนวแกน y ออกแรง F กระทํากับกลองที่จุด O ในระบบพิกัดฉาก xy ดังรูปที่ 3.4 (a) แรง F สามารถแตก ออกเปนแรงยอย 2 แรง แรงในแนวแกน x คือ Fx และแรงในแนวแกน y คือ Fy ที่จุด O จึงเสมือนกับมีแรง 2 แรงนี้มากระทํา สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 3. ฟสิกสเบื้องตน 27 กําหนดให F = 10.0 N , θ = 30o Fx = F cosθ = (10.0 N)(0.866) = 8.66 N Fy = F sinθ = (10.0 N)(0.500) = 5.00 N นั่นคือแรง F 10 N สามารถแตกออกเปนแรงยอย 2 แรง คือแรงในแนวแกน x = 8.66 N และแรงใน แนวแกน y = 5.00 N ขอสังเกต การกําหนดระบบพิกัดฉาก xy ไมจําเปนวาจะตองอยูในแนวระดับและแนวดิ่งเทานั้น ดังรูปที่ 3.5 ออกแรงดึงกลองขึ้นบนพื้นเอียง ดวยแรง 2 แรงคือ Fx และ Fy ซึ่งแกน x และ y จะมีทศทางขนานและตั้งฉากกับพื้นเอียง ิ รูปที่ 3.5 Fx และ Fy คือสวนประกอบยอยของแรง F ตามแนวแกน x และ y การรวมแรงหลายแรงเพื่อจะหาแรงลัพธเพียงแรงเดียว นิยมใชสญลักษณ Σ (ซิกมา) แทน ั เพื่อรวมผลบวกที่มีแรงหลาย ๆ คา เชน แรง F1, F2, F3 ..... กระทําพรอม ๆ กันที่จุดเดียวกันดังนั้นแรงลัพธ คือ R = F1 + F2 + F3 + ..... = ΣF (3.1) ถาแยกแรงออกเปนสวนประกอบยอยบนแกน x และ y จะไดวา Rx = ΣFx , Ry = ΣFy (3.2) ขนาดของ R หาไดจาก R = R2 + R2 x y มุมของ R เทียบกับแกน x แทนดวย α หาไดจาก R tan α = y Rx Ry และ Rx อาจจะมีคาเปนบวกหรือลบ ขึ้นอยูกับทิศทางของแรงที่กระทําซึ่งจะทําใหทราบ วา มุม α อยูในพิกัดฉาก xy สวนใด สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 4. ฟสิกสเบื้องตน 28 รูปที่ 3.6 เวกเตอรลัพธ R คือแรงรวมของเวกเตอร F1, F2 และ F3 สวนประกอบยอยของ R ตามแกน x, Rx = ΣFx และแกน y , Ry = ΣFy ตัวอยางที่ 3.1 จากรูปที่ 3.6 แรง F1, F2 , F3 อยูบนระนาบเดียวกัน กระทํารวมกันบนจุด O ให F1 = 120 N, F2 = 200 N , F3 = 150 N θ = 60o และ φ = 45o จงคํานวณหาขนาดและทิศทางของ แรงลัพธ R วิธทํา ี แรง มุม สวนประกอบแกน x สวนประกอบแกน y F1 = 120 0 + 120 N 0 F2 = 200 60o + 100 N + 173 N F3 = 150 45o - 106 N - 106 N Rx = ΣFx = + 114 N ; Ry = ΣFy = + 67 N R = (114 N) 2 + (67 N) 2 = 132 N 67N α = tan −1 = tan-1 0.588 = 30.4o 114N คําตอบ ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ R คือ 132 N ในทิศ 30.4o ตามลําดับ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 5. ฟสิกสเบื้องตน 29 3.2 มวลและน้ําหนัก มวล (mass) เปนสมบัติของกอนสสารที่บงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการ เคลื่อนที่ หรือเปนปริมาณที่แปรผันตรงกับคาความตานทานตอการเกิดความเรงเมื่อถูกแรงกระทํา หรือ มวล m ของวัตถุ หมายถึง ความเฉื่อยตอการเคลื่อนที่ มวลมีหนวยเปนกิโลกรัม น้ําหนัก (Weight) หมายถึง แรงที่เกิดจากความเรงโนมถวงของโลกกระทําตอวัตถุ ดังนั้น ถาปลอยใหวตถุมวล m ตกลงมาอยางอิสระ แรงสุทธิที่กระทําตอวัตถุคือ น้ําหนักของมวล m คูณกับ ั ความเรงโนมถวงของโลก g นั่นเอง น้ําหนักมีหนวยเปน นิวตัน จาก F = ma จะได w = mg (3.3) รูปที่ 3.7 มวลและน้ําหนัก 3.3 กฎขอที่ 1 ของนิวตัน กฎขอที่หนึ่งของนิวตันหรือ กฎของความเฉื่อย กลาววา “ วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่ง หรือสภาวะ เคลื่อนที่อยางสม่ําเสมอในแนวเสนตรง นอกจากมีแรงลัพธมากระทํา” ขยายความไดวา ถาวัตถุนั้นนิ่งอยูไม เคลื่อนไหวก็ยังนิ่งอยูอยางนั้น แตถาวัตถุนั้นกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ (a = 0) ก็ยงคงเคลื่อนที่ดวย ั ความเร็วคงที่ตอไปตราบใดที่ไมมีแรงภายนอกมากระทํา รูปที่ 3.8 แรงกระทําบนวัตถุ พิจารณากอนน้ําแข็งวางอยูเฉย ๆ บนพื้นที่เปยกลื่น ถามีแรง F1 กระทําตามรูปที่ 3.8 (a) น้ําแข็งจะเคลื่อนที่เลื่อนตําแหนงไป เราเรียกวา น้ําแข็งไมไดอยูในสภาวะสมดุล ถาเราใหแรง F2 พรอมกับ แรง F1 โดย F2 มีขนาดเทากับแรง F1 แตทิศตรงขาม ดังรูปที่ 3.8 (b) วัตถุจะรักษาสภาวะอยูนิ่งหรือถา กําลังเคลื่อนที่ก็เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ เนื่องจากแรงทั้งสองเทากันแตทิศตรงขาม ดังนั้น สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 6. ฟสิกสเบื้องตน 30 F2 = - F1 เวกเตอรลัพธ R ซึ่งเปนผลรวมของเวกเตอรทั้งสองจะเทากับศูนย R = F 1 + F2 = 0 เมื่อวัตถุอยูในสภาวะสมดุล ผลรวมของเวกเตอรลัพธ R ของแรงทั้งหมดจะตองเทากับศูนย R = ΣF = 0 หรือ ΣFx = 0 , Σ Fy = 0 (3.4) นิวตันบรรยายกฎขอที่หนึ่งวา “วัตถุจะรักษาสภาวะหยุดนิ่ง หรือสภาวะเคลื่อนที่อยางสม่ําเสมอ ในแนวเสนตรงนอกจากมีแรงลัพธมากระทํา” กฎของเขาคอนขางจะขัดแยงกับความจริงที่พบเห็นใน ชีวิตประจําวัน คุณลองออกแรงผลักหนังสือบนโตะ ถาไมออกแรงตอ หนังสือจะเคลื่อนที่ตอไปชั่วขณะ และ หยุดการเคลื่อนที่ ถาตองการใหเคลื่อนที่ตอก็ตองออกแรงดันตอ สาเหตุมาจากแรงเสียดทานบนผิวของโตะ ซึ่งสวนกับการเคลื่อนที่ของหนังสือ ถาพื้นผิวของโตะลื่นแรงเสียดทานก็นอย การเคลื่อนที่ของหนังสือก็ไปได ไกล แตถาแรงเสียดทานมาก การเคลื่อนที่ของหนังสือก็ไปไดนอย 3.4 กฎขอที่ 2 ของนิวตัน กฎขอที่ 2 ของนิวตันบางที่เรียกวา กฎความเรง กฎขอนี้กลาววา ” ความเรงของอนุภาคเปนปฏิภาค โดยตรงกับแรงลัพธที่กระทําตออนุภาค โดยมีทศทางเดียวกัน และเปนปฏิภาคผกผันกับมวลของอนุภาค” ิ รูปที่ 3.9 วัตถุถูกกระทําดวยแรงลัพธไมเปนศูนย ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรงไปในทิศเดียวกับ แรงลัพธ ตามกฎขอที่ 2 ของนิวตัน เนื่องจากความเรงเปนสัดสวนตรงกับแรง ดังนั้น อัตราสวนของแรงกับ ความเรงจะเปนคาคงที่ ซึ่งตรงกับมวล m ของวัตถุ เขียนเปนความสัมพันธไดดังนี้ F m = a หรือ F = ma (3.5) ถาแรง F กระทํากับมวล m1 วัดความเรงได a1 และออกแรงเทากันกับมวล m2 วัดความเรงได a2 จากสมการที่ 3.5 สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 7. ฟสิกสเบื้องตน 31 m1a1 = m2a2 m2 a1 หรือ = (3.6) m1 a2 อัตราสวนของมวลจะเปนสัดสวนกลับกับอัตราสวนของความเรง สรุปวาแรงขนาดเดียวกัน ถาทํากับมวลที่มีขนาดใหญ จะไดความเรงนอย แตถาใหกับมวลที่มีขนาดเล็ก จะไดความเรงมาก ในกรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทําบนอนุภาคที่ตําแหนงเดียวกัน ความเรงคํานวณไดจาก แรงลัพธ ซึ่งไดมาจากการรวมแรงทั้งหลาย ซึ่งใชวิธีการรวมแบบเวกเตอร ถาแยกแรงออกเปนแรงยอยบน แกน xy จะได แรงรวมบนแกน x ΣFx = max (3.7) แรงรวมบนแกน y ΣFy = may (3.8) แรงลัพธ ΣF = ma (3.9) ΣF เปนแรงลัพธสุทธิที่กระทําบนวัตถุ ในระบบ 2 มิติ Σ F = Σ Fx + Σ Fy ในระบบ 3 มิติ Σ F = Σ Fx + Σ Fy + Σ Fz ตัวอยางที่ 3.2 นักกีฬาเบสบอลขวางลูกเบสบอลน้ําหนัก 0.15 กิโลกรัมไปขางหนา ลูกเบสบอลมีความเร็ว 40 เมตรตอวินาที จงหาแรงที่นักกีฬาใชขวางบอล วิธีทา ํ v2 − v0 2 (40 m/s) 2 − 0 ax = = = 400m/s 2 2Δx 2(2.0 m) Fx = ma x = ( 0.15 kg)( 400m/s 2 ) = 60 N คําตอบ แรงที่นักกีฬาใชขวางบอลคือ 60 นิวตัน สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 8. ฟสิกสเบื้องตน 32 3.5 กฎขอที่ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตันกลาววา “ทุกแรงกิรยายอมมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเทากัน ิ แตมีทิศตรงขามกันเสมอ กฎขอนี้เรียกวา กฎของกิริยาและปฏิกิริยา (Law of action and reaction) แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหมายถึง แรงกระทําและแรงกระทําตอบ โดยเปนแรงซึ่งกระทําตอ มวลที่ตางกัน และเกิดขึ้นพรอมกันเปนคูเสมอ โดยที่มวลอาจไมสัมผัสกัน ดังรูปที่ 3.10 และถือวาแรงหนึ่งแรง ใดเปนแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาก็ได จากรูป FAB คือแรงที่ A กระทําบน B และ FBA คือ แรงที่ B กระทําบน A FAB = - FBA (3.10) รูปที่ 3.10 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ลองพิจารณาแรงตาง ๆ ดังรูปที่ 3.11 ซึ่งแสดงแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาตามกฎขอที่ 3 ของนิวตัน ซึ่งเราจะพบวาเมื่อใดที่มีแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ แรงปฏิกิริยาของโตะกระทําตอสมุด แรงกิริยาของสมุดกระทําตอโตะ แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอโตะ แรงที่เทากระทํากับพื้น แรงกิริยาที่โตะกระทําตอพื้น แรงปฏิกิริยาของพืนกระทํากับเทา ้ (ก) (ข) รูปที่ 3.11 แรงกิริยาใด ๆ จะตองมีแรงคูปฏิกิริยากระทําสวนมาในทิศตรงขามเสมอ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 9. ฟสิกสเบื้องตน 33 ตัวอยางที่ 3.3 ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม อยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งลง ตาชั่งชี้นําหนัก 400 นิวตัน จง วิเคราะหการเคลื่อนที่ของลิฟท วิธีทํา ใหพิจารณาวาแรงใดมีทิศเดียวกับความเรงใหใชแรงนั้นเปนตัวตั้ง ความเรงมีทิศชี้ลงตามแรง mg จากสูตร ∑F = ma mg − N = ma 50(10) − 400 = 50a 500 − 400 = 50a 100 = 50a a = 2m / s2 คําตอบ ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ตัวอยาง 3.4 รถโดยสารคันหนึ่งลากรถพวงอีก 2 คัน ถาไมคิดแรงเสียดทานจงหาวาแรงดึงระหวางหัวรถจักร กับรถพวงคันแรกจะมีคาเปนกีเทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันแรกกับคันที่สอง ่ วิธีทํา ใหใชหลักการคิดดังนี้ 1. การที่วัตถุถูกลากไปดวยกัน แสดงวามีความเรงเทากันทั้งระบบ 2. ถาเชือกเบาเทากันแลว แรงตึงในเสนเชือกจะเทากัน 3. ถาเชือกเบาคนละเสนเนื่องจากมีมวลมาคั่น แรงตึงเชือกจะไมเทากัน 4. แรงตึงเชือกมีทิศพุงออกจากจุดหรือระบบที่เราสนใจเสมอ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 10. ฟสิกสเบื้องตน 34 พิจารณารถพวงคันแรกในระบบ จากสูตร ∑ F = ma จะได T1 − T2 = ma (1) พิจารณารถพวงคันที่สองในระบบ จากสูตร ∑F = ma จะได T2 = ma (2) นํา (2) แทนใน (1) จะได T1 − T2 = T2 แสดงวา T1 = 2T2 คําตอบ แรงดึงระหวางหัวรถจักรกับรถพวงคันแรกจะมีคาเปน 2 เทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันแรกกับ คันที่สอง 3.6 แรงเสียดทาน เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่บนพื้นผิวเราจะพบวามีแรงเสียดทานระหวางพื้นผิวเกิดขึ้นเสมอ โดย แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ กระทําในแนวผิวสัมผัสของวัตถุทั้งสอง ถาออกแรงผลักวัตถุ มวล m และปลอยใหเคลื่อนที่ดวยความเร็วตน v0 ตามแนวราบของโตะ ไปไดสักระยะหนึ่งวัตถุจะหยุดนิ่ง ที่เปนเชนนี้ ก็เนื่องจากเกิดแรง แรงเสียดทานซึ่งสวนทางกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น แรงเสียดทานมีประโยชนใน การดํารงชีวิตประจําวัน เพราะถาไมมีแรงเสียดทานทุกพื้นผิวจะลื่นหมด เราจะไมสามารถเดินไปตามพื้นหรือ ขับรถไปตามทองถนนได รูปที่ 3.12 ถาเราผลักกลองบนพื้นแนวระดับ ขณะเริ่มตนออกแรง กลองยังคงอยูกับที่ เพราะวาพื้นมีแรงเสียดทาน ถาออกแรงเพิ่มขึ้นแรงเสียดทานก็จะเพิ่มขึ้นเทากับแรงที่เราผลัก จนกระทั่งเพิ่ม แรงขึ้นไปจนถึงระดับหนึ่งกลองจะเริ่มเคลื่อนที่แรงเสียดทานจะลดลงเปนแรงเสียดทานจลนและจะคงที่ตลอด การเคลื่อนที่ แรงที่กระทํา แรงเสียดทานจลน แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทาน รูปที่ 3.12 กราฟแสดงแรงเสียดทานเมื่อ ผลักกลองบนพื้นแนวระดับ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 11. ฟสิกสเบื้องตน 35 ถาเราออกแรงมากกวาคาสูงสุดของแรงเสียดทาน แรงสุทธิที่เหลือหลังจากลบแรงเสียดทาน ออกไป จะทําใหกลองเคลื่อนที่ แรงเสียดทานจะลดลงและนอยกวาแรงเสียดทานสูงสุดกอนเคลื่อนที่ แรง เสียดทานกอนการเคลื่อนที่มีชื่อเรียกวา แรงเสียดทานสถิต สวนแรงเสียดทานขณะกําลังเคลื่อนที่ เรียกวา แรงเสียดทานจลน ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นอยูกับตัวประกอบ 2 ตัวคือ แรงในแนวตั้งฉากที่กด ระหวางผิวสัมผัส (N) และ ชนิดของผิวสัมผัส ยกตัวอยางเชน ตองใชแรง 3 เทา เพื่อผลักกลองไมไปบน พื้นไม เมื่อเทียบกับผลักกลองเหล็กบนพื้นเหล็กนาสังเกตวาพื้นที่ระหวางผิวสัมผัสไมมีผลกับแรงเสียดทาน N N รูปที่ 3.13 แรงกดในแนวดิ่ง N มีคามากขึ้นเทาไร แรงเสียดทานก็ยิ่งมีคามากขึ้นเทานั้น สมการของแรงเสียดทาน f = μN (3.11) μ คือ สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ขึ้นอยูกับชนิดของผิวสัมผัส N คือ แรงกดแนวตั้งฉากระหวางผิวสัมผัส จากการทดลองพบวา แรงเสียดทานสถิตเปนสัดสวนตรงกับแรงที่กดระหวางผิวสัมผัส fs = μsN fs = แรงเสียดทานสถิต μs = สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต N = แรงปฏิกิริยาในแนวตั้งฉาก กรณีวัตถุเคลื่อนที่แลว แรงเสียดทานจลนจะได fk = μkN fk = แรงเสียดทานจลน μk = สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน N = แรงปฏิกริยาในแนวตั้งฉาก ิ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 12. ฟสิกสเบื้องตน 36 ตารางที่ 3.1 μs และ μk สําหรับพื้นผิวสัมผัสแบบตาง ๆ ชนิดของผิวสัมผัส μs μk เหล็กบนเหล็ก 0.74 0.57 อลูมิเนียมบนเหล็ก 0.61 0.47 ทองแดงบนเหล็ก 0.53 0.36 ทองเหลืองบนเหล็ก 0.51 0.44 สังกะสีบนเหล็กหลอ 0.85 0.21 ทองแดงบนเหล็กหลอ 1.05 0.29 แกวบนแกว 0.94 0.40 ทองแดงบนแกว 0.68 0.53 ยางบนผิวคอนกรีต (แหง) 1.00 0.80 ยางบนผิวคอนกรีต (เปยก) 0.30 0.25 ตัวอยางที่ 3.5 ฉุดลากเลื่อนมวล 300 kg ดวยมา เชือกลากทํามุม 35o กับแนวระดับ ถาสัมประสิทธิ์ ความเสียดทาน = 0.10 จงหาขนาดของแรงฉุดที่นอยที่สุด รูปที่ 3.14 มาลากเลื่อน วิธีทํา แรงในแนวระดับ F cosθ จะตองมีคามากกวาแรงเสียดทานจึงจะทําใหเลื่อนเคลื่อนที่ สวนแรง ปฏิกิริยาในแนวตั้งฉากจะเทากับน้ําหนัก mg ลบกับแรงที่ยกขึ้นในแนวดิ่ง Fsinθ จะไดแรงลากเลื่อนในแนวระดับ = แรงเสียดทาน F cosθ = μ (mg - F sinθ) μ mg ดังนั้น F = μsinθ + cosθ (0.10)(300 kg)(9.8 m ⋅ s −2 ) = = 335 N (0.10)(sin35 + cos35 ) คําตอบ ขนาดของแรงฉุดที่นอยที่สุด เทากับ 335 นิวตัน สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 13. ฟสิกสเบื้องตน 37 แบบฝกหัดบทที่ 3 1. ถามีแรงขนาด 12 นิวตัน และ 16 นิวตัน กระทําตอวัตถุซึ่งมีมวล 4 กิโลกรัม โดยแรงทั้งสองกระทําใหทิศ ตั้งฉากซึ่งกันและกันวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยอัตราเรงเทาใด 2. ออกแรงลากวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( μ คือสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน จลน) อยากทราบขนาดของแรงวาเปนกี่นิวตัน 100 kg F μ = 0.1 3. ชายคนหนึ่งลากกระเปามวล 5 กิโลกรัม ใหเลื่อนไปตามพื้นราบที่ไมมีความฝดดวยแรง 40 นิวตัน โดยแรง นี้ทํามุม 30 องศา กับแนวราบ กระเปาจะเลื่อนไปตามพื้นราบดวยความเรงเทาไร 4. กลองใสมวล 20 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งดวยแรงคงที่ขนาด 22 นิวตัน ในทิศ 60 องศากับแนวราบให เคลื่อนที่ไปตามพื้นราบจนมีความเร็ว 2 เมตรตอวินาที ในเวลา 0.8 วินาที ถาคิดวาแรงเสียดทานคงที่ แรง เสียดทานนี้จะมีขนาดกี่นิวตัน 5. นักกระโดดรมมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินดวยการยอตัว ขนาดยืดตัวขึ้นจุดศูนยกลางมวลมีความเรง 30 เมตรตอวินาที2 แรงที่พื้นกระทําตอเทาของนักกระโดดรมคนนี้มีคาเทาใด 6. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งลงตาชั่งชี้นําหนัก 600 นิวตัน จงวิเคราะห ้ การเคลื่อนที่ของลิฟท 7. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังวิ่งขึ้นตาชั่งชี้น้ําหนัก 500 นิวตัน จงวิเคราะห การเคลื่อนที่ของลิฟท 8. วัตถุมวล 5 และ 10 กิโลกรัมผูกติดกันดวยเชือกเบาดังรูปวัตถุทั้งสองวางอยูบนพื้นราบที่ไมมีความฝด ให แรง F ซึ่งมีคาคงที่กระทําตอวัตถุทั้งสอง หลังจากดึงไดนาน 15 วินาทีวัตถุทั้งสองก็มีความเร็ว 45 เมตรตอ วินาที แรงดึงมวล 5 กิโลกรัมเปนกี่นิวตัน a T 10 kg F 5 kg สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 14. ฟสิกสเบื้องตน 38 9. พิจารณาระบบในรูป กําหนดใหเชือกไมมีมวลแลพื้นไมมีแรงเสียดทาน แรงดึงในเชือก T จะมีคากี่นิวตัน 5 kg a 10 kg 10. บอลลูนลูกหนึ่งลอยไปในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงที่ 1 เมตรตอวินาที ดวยมวลทั้งหมด 300 กิโลกรัม เมื่อ ลอยขึ้นไปได 10 เมตร คนในบอลลูนปลอยถุงทรายทิ้งออกมา 15 ถุง หนักถุงละ 2 กิโลกรัม จงหาอัตราเรง ของบอลลูนในขณะนั้น 11. ใหนกศึกษาทําการทดลองเสมือนจริง0kd ั http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/lectureonline/ritphysics/kap4/cd082thai.htm รวมเวกเตอรของแรงใหเปนแรงลัพธ ในการทดลองนี้คุณสามารถเปลี่ยนขนาดและทิศทางของแรงโดยคลิก เมาสคางที่ปลายหัวลูกศรของเวกเตอร ( สีแดง , สีเขียว และสีน้ําเงิน) ใหสังเกตการเปลี่ยนแปลงขนาดและ ทิศทางของเวกเตอรลัพธ (ลูกศรสีดํา) ซึ่งเปนผลลัพธของเวกเตอรทั้งสาม ใหนกศึกษาสรางเวกเตอรทั้งสามโดยผลรวมของเวกเตอรตองเปนศูนย และเติมชองวางในตารางใหเต็ม ั Fx Fy lFl F1 F2 F3 ผลรวม 0 0 0 วาดรูปเวกเตอรทั้งสามประกอบดวย สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 15. หนังสืออิเล็กทรอนิกส ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร ( ฟสิกส 1 (ความรอน) ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอร โลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1 ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต ทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร แบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ การทดลองเสมือน บทความพิเศษ ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng) พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล แบบฝกหัดกลาง แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ ความรูรอบตัวทั่วไป อะไรเอย ? ทดสอบ)เกมเศรษฐี ( คดีปริศนา ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร คําศัพทประจําสัปดาห ความรูรอบตัว การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส นักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทย ดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส การทํางานของอุปกรณตางๆ
  • 16. การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต 1. การวัด 2. เวกเตอร 3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4. การเคลื่อนที่บนระนาบ 5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม 9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง 11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยุน 13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน 15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร 17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต 1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา 3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน 5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา 7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา 9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร 11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น 13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม 15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร การเรียนการสอนฟสิกสทั่วไป ผานทางอินเตอรเน็ต 1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics) 3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง 5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา 7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง 9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร ฟสิกสราชมงคล