SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
1
1
เทคนิคการบริหารราชการ
แบบมีส่วนร่วม
สานักงาน ก.พ.ร.
2
2
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
• คือ การบริหารราชการที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ ได้เปิด
โอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจทางการบริหารและดาเนินงานของรัฐ ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม เพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
3
3
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
(การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม)
ฐานที่มาของความคิดตามกรอบกฎหมาย
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
มาตรา 56, 58, 59, 60, 76, และ 79 เป
็ นต้น
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 (การมีส่วนร่วม และโปร่งใส)
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 มาตรา 8 (3)(4) (5) มาตรา 39, 43, และ 44
- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550)
ยุทธศาสตร์ที่ 7
4
4
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
มาตรา 58 สิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ
มาตรา 59 สิทธิแสดงความคิดเห็นก่อนการดาเนินโครงการที่กระทบ
สิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต
มาตรา 60 สิทธิมีส่วนร่วมการปฏิบัติราชการทางปกครองที่กระทบสิทธิ
และเสรีภาพของตน
มาตรา 56 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการบารุงรักษา
และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง
ชีวภาพ และในการคุ้มครองส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม...
5
5
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มาตรา 76 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
กาหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
ทุกระดับ
6
6
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ (ต่อ)
มาตรา 79 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการสงวน บารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล
รวมทั้งมีส่วนร่วมในการส่งเสริม บารุงรักษา และคุ้มครอง
คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตลอดจนควบคุมและกาจัดมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย
สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
7
7
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1
การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป
็ นไปเพื่อประโยชน์สุข
ของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ
ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลด
ภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป
็ น การกระจายภารกิจและทรัพยากร
ให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวกและ
การตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผล
ของงาน
การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารง
ตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
8
8
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545
มาตรา 3/1 (ต่อ)
ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและ
ประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป
็ นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราช
กฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้
ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
9
9
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เป
้ าหมาย
การบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี
เกิดประโยชน์สุขของ
ประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์
ต่อภารกิจของรัฐ
มีประสิทธิภาพ
และเกิดความคุ้มค่า
ในเชิงภารกิจของรัฐ
ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เกินความจาเป
็ น
มีการปรับปรุงภารกิจ
ของส่วนราชการ
ให้ทันต่อเหตุการณ์
ประชาชนได้รับ
การอานวยความสะดวก
และได้รับการตอบสนอง
ความต้องการ
มีการประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการอย่างสม่าเสมอ
10
10
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
[พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550]
วิสัยทัศน์
“ พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป
็ นเลิศ สามารถรองรับกับ
การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และ
ประโยชน์สุขของประชาชน”
11
11
พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น
[ Better Service Quality ]
ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม
[ Rightsizing ]
ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทางานให้อยู่ใน
ระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์สากล
[ High Performance ]
ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย
[ Democratic Governance ]
เป
้ าประสงค์หลัก
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550)
12
12
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
[พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550]
ยุทธศาสตร์ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน
ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
ยุทธศาสตร์ 3 : การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ 4 : การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
ยุทธศาสตร์ 5 : การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม
ยุทธศาสตร์ 6 : การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย
ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
13
13
G1
พัฒนาคุณภาพ
การให้บริการ
ประชาชนดีขึ้น
G2
ปรับบทบาท
ภารกิจและ
ขนาดให้
เหมาะสม
G3
ยกระดับขีด
ความสามารถและ
มาตรฐานการทางานให้
เทียบเท่าสากล
G4
ตอบสนองต่อ
การบริหาร
การปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย
ปรับเปลี่ยน
กระบวนการ และ
วิธีการทางานโดยใช้
หลักเกณฑ์และ
วิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี
S1
ปรับปรุง
โครงสร้าง
การบริหารราชการ
แผ่นดิน
S2 ปรับระบบการเงินและงบประมาณ
ปรับระบบการบริหารงาน
บุคคลและค่าตอบแทนใหม่
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
วัฒนธรรมและค่านิยม
เสริมสร้างระบบราชการ
ให้ทันสมัย
S3
S4
S5
S6
เปิดระบบราชการ
ให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วม
S7
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550)
14
14
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ
(พ.ศ. 2546- พ.ศ. 2550)
ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการบริหารกิจการบ้านเมืองโดยตรงมากขึ้น แต่ระบบราชการไทยยัง
ไม่ได้มีการปรับตัวอย่างจริงจัง และยังติดยึดกับลักษณะความเป
็ นเจ้าขุนมูลนาย
และการทางานแบบดั้งเดิม ทาให้มีความจาเป
็ นที่จะต้องเปิดระบบราชการเข้า
สู่กระบวนการความประชาธิปไตย (democratization) มากขึ้น โดยการยอมรับ
และให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น ร่วมปฏิบัติ
งาน และการตรวจสอบผลการดาเนินงาน
15
15
ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
มาตรการ :
1. กาหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริมให้ส่วนราชการให้ข้อมูลความรู้
ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการ แนวทางดาเนินงาน และการรายงานผลการ
ปฏิบัติงานแก่ผู้เกี่ยวข้องโดยตรงและประชาชน
2. วางหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชน
การสารวจความต้องการของประชาชน จัดการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนอย่างสม่าเสมอ
3. ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory
Board) โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ (กรม/จังหวัด/อาเภอ)
16
16
ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการ ให้ประชาชนเข้ามีมีส่วนร่วม (ต่อ)
มาตรการ :
4. ให้ส่วนราชการจัดให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาร่วมทางานกับ
ข้าราชการ
5. ให้ส่วนราชการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจาเป
็ นต่อการแสดง
ภาระรับผิดชอบ ความโปร่งใส และเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ลงในเว็บไซต์
6. กาหนดให้ความสาเร็จในการดาเนินกิจกรรมในการเปิดโอกาสให้
ประชาชนมีส่วนร่วมในระบบราชการ เป
็ นตัวชี้วัดหนึ่งในการบริหารที่ดีของส่วน
ราชการ
17
17
องค์ประกอบหลักของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม
เปิดเผย
ระบบราชการแบบ
มีส่วนร่วม
 ให้ข้อมูลข่าวสาร
 หารือ
 เข้ามามีบทบาท
 สร้างความร่วมมือ
 เสริมอานาจ
มีส่วนร่วม
รับฟัง
โปร่งใส
ข้อมูลข่าวสาร
ความคิดเห็นข้อเสนอแนะ
จากประชาชน
ขั้นตอน/กระบวนการ
ทางาน
เหตุผลการตัดสินใจ
18
18
ทาไมต้องบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
• ภาคสังคมและประชาชนมีการพัฒนา และเรียกร้องสิทธิในการ
รับรู้ข้อมูลข่าวสาร การตัดสินใจ และมีส่วนร่วมในการบริหาร
ราชการ
• หลักการบริหารราชการแนวใหม่ที่ระบบราชการทั่วโลกตระหนัก
ถึงความสาคัญของการ...
- ได้รับบทเรียนและเรียนรู้จากการสูญเสียในอดีต
- แสวงหารูปแบบการบริหารจัดการใหม่ๆ และนาไปประยุกต์ใช้
• สังคมไทยและคนไทยพัฒนาสู่สังคมประชาธิปไตยยุคใหม่
19
19
ยุทธศาสตร์การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
(การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม)
มาตรการการเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
– สร้างความรู้และความเข้าใจการทางานแบบใหม่แก่เจ้าหน้าที่และ
ประชาชน
– วางหลักเกณฑ์ให้หน่วยงานมีระบบปรึกษาหารือกับประชาชน/
สารวจความต้องการของประชาชน ในโครงการที่อาจกระทบต่อ
ประชาชน
– ตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน
– สร้างอาสาสมัครภาคประชาชน
– สร้างระบบการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
– กาหนดตัวชี้วัดสาหรับการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วม
20
20
การพ
ัฒนาจากภายนอกระบบราชการ
(Outside-in
Approach)
การพ
ัฒนาจากภายในภาคราชการ
(Inside-out
Approach)
ราชการที่
ตอบสนอง
ความต้องการ
ของประชาชน
การบริหาร
ราชการ
ที่ประชาชน
เป
็ นหุ้นส่วน
การบริหาร
ราชการที่
ทรงพลัง
การบริหาร
ราชการ
ที่มีประสิทธิภาพ
การบริหาร
ราชการ
เพื่อประโยชน์สุข
ของประชาชน
การบริหาร
ราชการ
ที่โปร่งใส
การบริหาร
ราชการ
เพื่อสังคม
ประชาธิปไตย
โครงการพัฒนา
ศักยภาพฯ
ยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
21
21
แนวทางการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด
ค.ร.ม.
เวทีเครือข่ายที่ปรึกษา
เพื่อร่วมพัฒนาราชการ
ในระดับจังหวัด
ยุทธศาสตร์/
เป
้ าหมาย
การพัฒนา
จังหวัด
ผู้แทนภาค
ประชาสังคม
สื่อมวลชน
ผู้แทนองค์กร
ปกครองส่วน
ท้องถิ่นต่างๆ
ผู้แทนส่วน
ราชการต่างๆ
ภาคธุรกิจ
เอกชน
นักวิชาการ
การบริหาร
จังหวัด
บูรณาการ
แบบมี
ส่วนร่วม
ติดตามผล
นโยบายระดับชาติ
ราชการส่วนกลาง
แผนงานขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ว่าราชการจังหวัด
22
22
กระบวนการสร้างศักยภาพการมีส่วนร่วม
ของส่วนราชการออกไปสู่ประชาชน
 กาหนดเป
็ นนโยบายสาคัญของหน่วยงานที่เน้นการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนอย่างชัดเจน ตามกรอบกฎหมาย
 ปรับระบบบริหารที่เอื้อต่อการสร้างการมีส่วนร่วม ให้เป
็ นส่วนหนึ่ง
ของการทาข้อตกลงการปฏิบัติราชการ และเป
็ นตัวชี้วัดผลการ
ทางาน
 พัฒนาและสร้างความรู้ ความเข้าใจตลอดจนทักษะในการบริหาร
ราชการแบบมีส่วนร่วมให้ข้าราชการระดับต่างๆ
 พัฒนานวัตกรรมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
 พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของส่วนราชการเพื่อรองรับการมี
ส่วนร่วม
23
23
กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ
การมีส่วนร่วมแก่ข้าราชการ
 จัดทาเอกสารคู่มือการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมระดับจังหวัด
 พัฒนาหลักสูตรการสร้างความตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนแก่ผู้บริหารและข้าราชการ
 สร้างวิทยากรเครือข่ายการบริหารราชการแบบบูรณาการที่เน้น
การมีส่วนร่วมระดับภูมิภาค
 จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สาหรับเจ้าหน้าที่ของ
รัฐและผู้เกี่ยวข้อง
24
24
ลักษณะของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม
 เป
็ นองค์การที่เปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ (Accessibility)
 เป
็ นองค์กรที่มีการติดต่อสื่อสารสองทางกับประชาชน (Dialogue)
 เป
็ นองค์กรที่มีการติดต่อสื่อสารทั้งที่เป
็ นทางการและไม่เป
็ นทางการ
 นาข้อคิดเห็นของประชาชนมาประกอบการตัดสินใจขององค์กรพร้อม
ทั้งอธิบายเหตุผล
 มีการจัดกระบวนการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่าง
ทันท่วงที ถูกต้อง โปร่งใสและจริงใจ
25
25
บทบาทของประชาชน
การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ
หยิบยื่น
สนับสนุน
เสริมสร้างพลัง
ประชาชน
ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ประชาชน
เกี่ยวข้องตามที่
ได้รับอนุญาต
ประชาชน
ร่วมตัดสินใจ
26
26
 รวมศูนย์อานาจ
 รัฐทาหน้าที่ตัดสินใจ
 ประชาชนไม่มี
ทางเลือก
 ความสัมพันธ์แนวดิ่ง
จากบนลงล่าง
 ปิดกั้นการมีส่วนร่วม
ของประชาชน
 ผู้ตัดสินใจคือกลุ่มที่ได้รับ
การคัดเลือก
 ประชาชนมีส่วนร่วมได้
เฉพาะเรื่อง
 ประชาชนมีทางเลือกแต่
จากัด
 ประชาชนร่วมตัดสินใจ
 ประชาชนมีส่วนร่วม
 กระจายอานาจ
 รวมประชาชนเข้าไว้ในกลุ่ม
ผู้ตัดสินใจ
 มีทางเลือกที่เปิดกว้างไม่มี
การจากัด
 ประชาชนเป
็ นผู้นา
 ประชาชนมีส่วนร่วมอย่าง
จริงจัง
 รัฐมีพันธะความรับผิดชอบ
ต่อสังคม
 โปร่งใส/เปิดกว้าง
 ประชาชนมีความเป
็ นพลเมือง
การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ
บทบาทภาครัฐ
หยิบยื่น
สนับสนุน
เสริมสร้างพลัง
27
27
การมีส่วนร่วมของประชาชน
สามารถแบ่งได้เป
็ น 5 ระดับ ดังนี้
- ระดับการให้ข้อมูลข่าวสาร (to inform)
- ระดับการให้คาปรึกษาหารือ (to consult)
- ระดับการเข้าไปเกี่ยวข้อง (to involve)
- ระดับการร่วมมือ (to collaborate)
- ระดับการมอบอานาจการตัดสินใจ (to empower)
28
28
Public
Participation
Spectrum
ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน
Inform
รับฟังความคิดเห็นของประชาชน
Consult
เกี่ยวข้อง
Involve
ร่วมมือ
Collaboration
เสริมอานาจประชาชน
Empower
29
29
ให้ข้อมูล
ข่าวสาร
Inform
รับฟังความ
คิดเห็น
Consult
เกี่ยวข้อง
Involve
ร่วมมือ
Collaboration
เสริมอานาจ
ประชาชน
Empower
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน
(Public Participation Spectrum)
30
30
การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
รับฟัง
ให้ความเห็น
สมัครใจเข้า
ร่วม
เข้าร่วม
ทางานด้วย
ตัด
สิน
ใจ
เอง
31
31
ให้ข้อมูล
ข่าวสาร
Inform
รับฟังความ
คิดเห็น
Consult
เกี่ยวข้อง
Involve
ร่วมมือ
Collaboration
เสริมอานาจ
ประชาชน
Empower
รับฟัง
ให้ความเห็น
สมัครใจ
เข้าร่วม
เข้าร่วม
ทางานด้วย
ตัด
สิน
ใจ
เอง
การมีส่วนร่วมของ
ประชาชน
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน
(Public Participation Spectrum)
32
32
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน
(Public Participation Spectrum)
ให้ข้อมูลข่าวสาร
Inform
รับฟังความคิดเห็น
Consult
เกี่ยวข้อง
Involve
ร่วมมือ
Collaboration
เสริมอานาจประชาชน
Empower
เป
้ าหมาย :
เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารแก่
ประชาชนและเสริมสร้าง
ความเข้าใจของประชาชน
เกี่ยวกับประเด็นปัญหา
ทางเลือกและทางแก้ไข
เป
้ าหมาย :
เพื่อร่วมทางานกับประชาชน
เพื่อสร้างความมั่นใจกับ
ประชาชนว่ามีความคิดเห็น
และความต้องการของ
ประชาชนจะได้รับการ
พิจารณา
เป
้ าหมาย :
เพื่อเป
็ นหุ้นส่วนกับ
ประชาชนในทุกขั้นตอนของ
การตัดสินใจ ตั้งแต่การระบุ
ปัญหา พัฒนาทางเลือกและ
แนวทางแก้ไข
เป
้ าหมาย :
เพื่อให้ประชาชนเป
็ นผู้
ตัดสินใจ
เป
้ าหมาย :
เพื่อได้รับข้อมูลและความ
คิดเห็นจากประชาชนเกี่ยว
กับสภาพปัญหา ความคิด
เห็นและแนวทางแก้ไข
สัญญาต่อประชาชน :
เราจะทาให้ประชาชนได้รับ
ข้อมูลข่าวสาร
สัญญาต่อประชาชน :
เราจะให้ข้อมูลข่าวสารแก่
ประชาชนและรับฟังความ
คิดเห็น รวมทั้งตระหนักถึง
ข้อมูลและความคิดเห็นจาก
ประชาชน เพื่อนามาใช้ใน
การตัดสินใจ
สัญญาต่อประชาชน :
เราจะทางานเพื่อให้เห็นการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่
เป
็ นประโยชน์ ส่งผลให้ความ
คิดเห็นและข้อมูลจาก
ประชาชนสะท้อนใน
ทางเลือก
สัญญาต่อประชาชน :
เราจะร่วมงานกับประชาชน
เพื่อได้ข้อเสนอแนะและ
ความคิดใหม่ รวมทั้งนา
ข้อเสนอแนะของประชาชน
มาเป
็ นส่วนหนึ่งของการ
ตัดสินใจให้มากที่สุดเท่าที่จะ
ทาได้
สัญญาต่อประชาชน :
เราจะปฏิบัติสิ่งที่ประชาชน
ตัดสินใจ
เทคนิคการมีส่วนร่วม :
- Fact Sheet
- Websites
- Open House
เทคนิคการมีส่วนร่วม :
- การสารวจความคิดเห็น
- การประชุม/เวทีสาธารณะ
- ประชุมกลุ่มย่อย
เทคนิคการมีส่วนร่วม :
- สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
เทคนิคการมีส่วนร่วม :
- คณะที่ปรึกษาภาค
ประชาชน
- คณะกรรมการ
- การตัดสินใจแบบมีส่วน
ร่วม
เทคนิคการมีส่วนร่วม :
- การลงประชามติ
33
33
การดาเนินการเปิดระบบราชการให้ประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วม
1. การวางแผนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
2. การวิเคราะห์ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3. การเลือกเทคนิคที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
4. การใช้เทคนิคและการสื่อสารกับผู้กี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย
5. การแก้ไขปัญหา/ข้อขัดแย้ง หรือระงับข้อพิพาทที่อาจจะ
เกิดขึ้น
34
34
เทคนิคการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมฯ
 กลุ่มเทคนิคการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน
 กลุ่มเทคนิคการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
 กลุ่มเทคนิคการปรึกษาหารือ
35
35
กลุ่มเทคนิคการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน
 เอกสารข้อเท็จจริง (Fact sheet)
 จดหมายข่าว
 แผ่นพับ
 รายงานการศึกษา
 การเปิด website ให้ข้อมูลข่าวสาร
 การแถลงข่าว
 การสื่อสารผ่านทางวิทยุกระจายเสียง
 การสื่อสารผ่านทางวิทยุโทรทัศน์
36
36
เทคนิคการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน(ต่อ)
 การจัดนิทรรศการ
 การกระจายข่าวชุมชน
 การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
 การจัดทัศนศึกษา/การให้เข้าเยี่ยมชมโครงการ
 การจัดตั้ง GCS
 การตั้งทีมออกไปพบประชาชนในพื้นที่
37
37
กลุ่มเทคนิคการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
 การสัมภาษณ์รายบุคคล
 การสนทนากลุ่มย่อย
 การแสดงความคิดเห็นผ่าน website
 การสารวจความคิดเห็น
 การจัดเวทีเสวนาประชาชน
 การจัดทาประชาพิจารณ์
 การทา focus group
 การจัดตั้งโทรศัพท์สายด่วน
38
38
กลุ่มเทคนิคการปรึกษาหารือ
 การจัดเวทีสาธารณะ
 การประชุมระดมสมอง/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
 การสัมมนา
 การประชุมเชิงปฏิบัติการ
 การจัด forum
 การจัดเวทีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
 การจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน
 การจัดทาแผนที่ความคิดและสร้างอนาคตร่วมกัน
39
39
Q&A

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการChatree Akkharasukbut
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวTananya Jangouksom
 

What's hot (17)

บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
028
028028
028
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 

เทคนิคการบริหารรา