SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
1 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
โดย 
นายจิรายุส สิ้นภัย 
นางสาวรังสินี มีเอี่ยม 
นางสาวสุธาสินี เข็มทอง 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ (ปวช.)
2 
เรื่อง โค รงงานค อ มพิว เตอ ร์ เผย แพร่ค วาม รู้อ อ นไล น์ เรื่อ ง 
ระบบปฏิบัติการ(Operating System) 
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อการศึกษา 
ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 
โดย 1. นายจิรายุส สิ้นภัย 
2. นางสาวรังสินี มีเอี่ยม 
3. นางสาวสุธาสินี เข็มทอง 
โรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
ครูที่ปรึกษา นางธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
ปีการศึกษา 2557
3 
บทคัดย่อ 
โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา 
เรื่องระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์(Operating System) จัดทาขึ้นโดยมีวุตถุประสงค์ 
1) 
เพอื่นเผยแพร่ให้คนอื่นๆรู้และได้ศึกษาเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์โครงงาน 
ระบบปฏิบัติการ OS Operating system นี้ 
จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพอื่ศึกษาค้นค้าและเข้าใจการทางานของระบบ 
ปฏิบัติการและหน้าที่การทางาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมในปัจจุบั 
น มาประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้ โดยได้ศึกษา 
โดยผู้จัดทาโครงงานสามารถรู้และเข้าใจการทางานและการดูแลระบบ ต่างๆ 
ได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 
และได้นาเสนอบทเรียนผ่านเว็บบล็อก ทั้งนี้ ทาให้สามารถติดต่อ 
สื่อสารกันได้ระหว่างครู เพอื่นและผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี
4 
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ธิดารัตน์พลพันธ์สิงห์อาจ 
ารที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ 
มาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง 
สุดท้ายขอบคุณเพอื่น ๆ ที่ช่วยให้คาแนะนาดี ๆ 
เกี่ยวกับการทาโครงงานนี้ให้สาเร็จไปด้วยดี 
โดย 
จิรายุส สิ้นภัย 
สุธาสินี เข็มทอง 
รังสินี มีเอี่ยม
5 
สารบัญ 
หน้า 
บทคัดย่อ 1 
กิตติกรรมประกาศ 1 
สารบัญ 5 
บทที่1 บทนา 6 
ที่มาและความสาคัญ 6 
วัตถุประสงค์ 8 
ขอบเขตการศึกษา 8 
ผลทคี่าดว่าจะได้รับ 8 
บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่วข้อง 9 
1.ความสาคัญของระบบปฏิบัติการ 9 
2.ข้อมูลเกยี่วกับระบบปฏิบัติการ 10 
2.3 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ 11 
3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 11 
4.การทางานของระบบปฏิบัติการ 12 
5. ประเภทระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 14 
5.1 ระบบปฏิบัติการ Windows 14 
5.2 ระบบปฏิบัติการ Ubuntu 16 
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 17 
1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 17 
2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 17 
บทที่4 ผลการดาเนินโครงงาน 19 
วิธีการดาเนินงานนา เสนอออนไลน์ทั้งหมด 19 - 27 
บทที่5 สรุปผลการเผยแพร่ข้อมูลออนไลน์เรื่องระบบปฏิบัติการ 28 
ภาพผนวก 29
6 
บรรณานุกรม 30 
บทที่ 1 
บทนา 
ที่มาและความสาคัญ 
แนะนาให้รู้จักคาว่าระบบปฏิบัติการ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
เพอื่ให้เห็นเนื้อหาโดยรวม สาหรับความหมายของระบบปฏิบัติการในเบื้องต้น คือ 
โปรแกรม ที่จัดการคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ 
โดยทาหน้าที่ให้การสนับสนุนการประมวลผลในเบื้องต้น 
และทาหน้าที่อานวยความสะดวกให้ผู้ใช้ และคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทางานด้วยกัน 
อย่างราบรื่น จากความหมายข้างต้น 
ทาให้ทราบว่าคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีระบบปฏิบัติการ 
ซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญอีกส่วนหนึ่ง 
โดยปกติคอมพิวเตอร์จะมีส่วนประกอบสาคัญแยกกันได้ 4 ส่วนคือ Hardware, 
operating system, application program และ users 
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ 
อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยความจา 
นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม 
ซึ่งเป็นส่วนที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพอื่ใช้เป็นซอร์ฟแวร์ในระดับพืน้ฐาน (primitive
7 
level) โดยสามารถทางานได้โดยตรงกับทรัพยากรระบบด้วยคาสั่งง่ายๆ เช่น ADD 
MOVE หรือ JUMP คาสั่งเหล่านี้จะถูกกาหนดเป็นขั้นตอน 
การทางานของวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ชุดคาสั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอย่ใูน 
รูปแบบภาษาเครื่องและมักเป็นคาสั่งในการคานวณ เปรียบเทียบ 
และการควบคุมอุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก 
2. ระบบปฏิบัติการ (Operating system) 
เป็นโปรแกรมที่ทางานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ 
โดยมีวัตถุประสงค์เพอื่จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอม 
พิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออานวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ 
รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3. โปรแกรมประยุกต์ (Application program) 
คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพอื่การทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น 
งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ 
เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา 
เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program 
โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, 
COBOL, PASCAL, BASIC ฯลฯ ตัวอย่างของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในทางธุรกิจ 
เช่น โปรแกรมระบบบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) โปรแกรมระบบเช่าซื้อ 
(Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินค้าคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ 
ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงอื่นไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน
8 
ตามความต้องการหรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ 
ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแก้ไขเพมิ่เติม (Modifications) 
ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ เพอื่ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม 
โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกาหนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพอื่ทางานต่างๆ 
ให้แก่ผู้ใช้หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม 
หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ 
เช่นตัวแปรภาษาต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษ 
าเครื่องแก่โปรแกรมเมอร์ ดังนั้น 
ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็น 
ไปอย่างถูกต้อง 
วัตถุประสงค์ 
1. เพอื่ศึกษาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
2. เพอื่ใช้เป็นการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
ขอบเขตการศึกษา 
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง ระบบปฏิบัติงาน (Operating System) 
ซึ่งประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการทั้งหลาย 
2. โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน ได้แก่
9 
2.1 โปรแกรม Microsoft Word 
2.2 โปรแกรม Photo Scape 
2.3 โปรแกรม Adobe Photoshop 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
1.สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating 
System) ไปใช้ใน การศึกษาได้ 
2. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
การจัดโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา เรื่อ ระบบปฏิบัติการ 
(Operating System) ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 
1. ความสาคัญของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ 
2. ข้อมูลของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ 
3. หน้าของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์
10 
4. การทางานของระบบปฏิบัติการ 
5. ประเภทของระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 
1. ความสาคัญของระบบปฏิบัติการ 
เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายใ 
นคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา 
ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device) 
บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) 
คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอย่ใูนเครื่องเสียก่อน 
ซึ่งก็ขึ้นอย่กูับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม 
หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน 
เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอย่ใูนคอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาด 
ใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น 
เครื่องคอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ 
2. ข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 
2.1 ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
ระบบปฏิบัติการ หมายถึง 
ชุดของโปรแกรมที่อย่รูะหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ 
มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ 
และสนับสนุนคาสั่งสาหรับควบคุมการทางานของ ฮาร์ดแวร์ประยุกต์
11 
ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น MS - DOS , UNIX , 
Windows 95 , และ Mac System 7 เป็นต้น ระบบปฏิบัติงานมีหน้าที่หลัก ๆ คือ 
 จัดส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยประมวลผลกลาง 
หน่วยความจา ที่เก็บข้อมูลสารอง และเครื่องพิมพ์ 
 จัดการงานในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ 
 ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล และการแสดงผล เป็นต้น 
ปกติแล้วโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรียกให้เริ่มต้นทางานผ่านระบบปฏิบัติการ 
ระบบปฏิบัติการทางานอย่เูบื้องหลังการทางานของผู้ใช้ 
โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการบนเครื่องเมนเฟรมหรือเครื่องที่มีขนาดใหญ่ก็ย่อมมีการทา 
งานที่ซับซ้อนมากขึ้น เพราะต้องดูแลการทางานหลายอย่างจากผู้ใช้หลายคนพร้อมกัน 
2.3 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ 
ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System: OS) 
เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ 
เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบ 
ปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX)
12 
3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 
ระบบปฏิบัติการจะอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 
ในลักษณะที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางาน หรือฮาร์ดแวร์ของระบบ 
แบ่งออกได้ดังนี้ 
1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) 
คือ 
ผู้ที่ใช้สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านร 
ะบบปฏิบัติการ 
โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพอื่ที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคาสั่งหรื 
อสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ 
ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ 
เพอื่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย 
2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
เนื่อ งจ ากผู้ใช้งาน เค รื่อ งค อ มพิวเตอ ร์ผ่านทางร ะบ บ ป ฏิบัติกา ร 
อาจไม่จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแล การทางานของอุปกรณ์ต่างๆ 
เพอื่ให้การทางานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง 
3. จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
13 
ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพอื่ให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้ เช่น 
หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจา (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล 
(Input/output) 
ดั ง นั้ น 
ระบบป ฏิบัติการจะต้อ งจัดส รรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อ ให้เกิดป ระโยชน์สูงสุด 
ถ้าร ะบ บ ป ฏิบัติก ารส าม ารถ จักส รรท รัพ ย าก รให้มีป ร ะสิท ธิภ าพ แล้ ว 
ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ต่า ง ๆ ก็ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ ไ ด้ร ว ด เร็ว 
และได้ปริมาณงานเพมิ่ขึ้นด้วย 
4. การทางานของระบบปฏิบัติการ 
4 . 1 ร ะ บ บ ค น เ ดี ย ว ( Single User) ใ ช้ ใ น เ ค รื่ อ ง PC 
ที่มีผู้ใช้คนเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น DOS (Disk Operating System) ซึ่งระบบ 
DOS เ ป็ น ร ะ บ บ ป ฏิ บัติก า ร ที่ ถู ก พัฒ น า ขึ้ น โ ด ย บ ริษัท IBM 
เพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load 
หรือ อ่าน จ ากแผ่น ดิส ก์เข้าไป เก็บไว้ใน หน่วยคว าม จ าก่อ น จ ากนั้น DOS 
จ ะ ไ ป ท า ห น้า ที่เ ป็น ผู้ป ร ะ ส า น ง า น ต่า ง ๆ 
ระห ว่างผู้ใช้กับอุป กรณ์คอ มพิว เตอ ร์ทั้งห ล าย โด ยอัตโนมัติ โด ยที่ DOS 
จะรับคาสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นาไปปฏิบัติตาม โดยการทางานจะเป็นแบบ 
Text mode สั่งงานโดยการกดคาสั่งเข้าไป 4 .2 ร ะ บ บ Multiprogramming 
เป็นระบบที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกัน เช่น UNIX, Linux
14 
ซึ่ง UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN 
Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft 
ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต่อย่างใด แต่Unix 
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) 
ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน 
นอกจากนี้ UNIX ยังถูกออกแบบมาเพอื่ 
ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า 
ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system) 
4.3 ระบบ Multitasking 
เป็นระบบที่คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน 
เป็นหลักการในแนวเดียวกับระบบ Multiprogramming เช่น Windows ซึ่ง 
Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ 
ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคาสั่ง เรียกว่า 
GUI (Graphic User Interface) 
โดยสามารถสั่งให้เครื่องทางานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คาสั่งที่ต้องก 
าร ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 
โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS 
หากต้องการเปลี่ยนไปทางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก 
โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทางานของ 
Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง”
15 
โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ 
สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ 
สามารถ แชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอร์ด (Clipboard) ระบบ Windows 
ทาให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทาความเข้าใจ 
เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 
4.4 ระบบเครือข่าย (Networking) 
เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมโยงส่งข้อมูลให้กันและกัน 
และยังสามารถทางานประสานกันได้เช่น NOS (network Operating System) 
5. ประเภทระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 
5.1 ระบบปฏิบัติการ Windows คือระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง 
( operating system) 
สร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทาให้บริษัท 
ไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI 
(Graphic-User Interface) 
ที่นารูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้ อนคาสั่งทีล ะบรรทัด ซึ่ง 
ใก ล้ เคีย ง กับ แ ม ค อิน ท อ ช โอ เอ ส เพื่อ ให้ก าร ใช้งา น ด อ ส ท า ได้ง่าย ขึ้น 
แ ต่ วิ น โ ด ว ส์ จ ะ ยั ง ไ ม่ ใ ช่ ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร จ ริ ง ๆ 
เนื่อ ง จ า ก มัน จ ะ ท า ง า น อ ยู่ภ า ย ใต้ก า ร ค ว บ คุม ข อ ง ด อ ส อีก ที
16 
กล่าวคือจ ะต้อ งมีการติดตั้งดอ ส ก่อนที่จ ะติดตั้งระบบป ฏิบัติการ Windows 
และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่มีอย่ใูนดอสได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง 
Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส 
ระบบป ฏิบัติการ Windows ใช้หลักการแบ่งงานเป็นส่วน เรียกว่า หน้าต่างงาน 
(windows) ที่แสดงผลลัพธ์แต่ละโปรแกรม ปัจจุบันมีการผลิตและจาหน่ายหลายรุ่น 
เช่น Windows XP, Windows Vista, Windows 7 เป็นต้น 
5.2
17 
5.2 ระบบปฏิบัติการ Ubuntu 
เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพืน้ฐานบนลินุก 
ซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical 
Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ 
ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคาในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า 
Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others" 
อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน 
และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ 
Ubuntu คือ 14.04 
ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน 
อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธ์ิ เช่น ไดรเวอร์) 
โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบตัิการสาหรับคนทั่วไป 
ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้
18 
บทที่ 3 
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษาเรื่อง 
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 
มีวิธีการดาเนินการโครงงานตามขั้นตอนต่อไปนี้ 
1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 
1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
1.2 โปรแกรมที่ใช้ดาเนินงาน ได้แก่ 
1.1 โปรแกรม Microsoft Word 
1.2 โปรแกรม Internet Browser (Mozilla Firefox)
19 
1.3 โปรแกรม Adobe Photoshop 
1.4 โปรแกรม Photo scape 
2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 
2.1 ศึกษาหัวข้อโครงงานที่ครูที่ปรึกษาให้มา 
2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ 
คือเรื่องระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และศึกษาเพมิ่เติมจากเว็บไซต์ต่าง ๆ 
และจัดเก็บข้อมูล เพอื่จัดทาเนื้อหาต่อไป 
2.3 ศึกษาการทางานของระบบปฏิบัติการ โดยการศึกษาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต 
โปรแกรม Microsoft Word 
2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพอื่นาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 
2.5 จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
โดยสร้างบทเรียนที่สนใจตามเสนอแบบโครงร่างที่เสนอ
20 
2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบ 
ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพอื่ให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจ 
ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่น่าสนใจ 
2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 
2.8 
ประเมินผลงานโดยให้ครูที่ปรึกษาประเมินผลงานและให้เพอื่นผู้ที่สนใจร่วมประเมิน 
บทที่ 4 
ผลการดาเนินโครงงาน 
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เพอื่การศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ(Operating 
System) 
มีผลการดาเนินโครงงาน ดังนี้
21 
1. อันดับแรก ต้องสมัคร Gmail 
2.เมื่อสมัคร G-mail เรียบร้อยแล้ว ให้เข้าไปที่ www.blogger.com
22 
3. ทาการเขียน Blogger ใหม่
23
24 
4. เข้าไปทโี่ปรแกรม Microsoft Word 
และพิมพ์เค้าโครงของโครงงานที่จะทาให้เรียบร้อย
25 
5. ศึกษา ค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเรื่อง ระบบปฏิบัติการ ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต 
และนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์มา
26 
6. นาข้อมูลที่ได้มา ใส่ลงโปรแกรม Microsoft Word
27 
7. ตรวจทานข้อมูลงานที่หามาให้เรียบร้อย
28 
8. เรียบร้อยทุกอย่างแล้วทาการแปลงไฟล์เป็น PDFและรอโหลดแปไฟล์
29 
บทที่ 5 
สรุปผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ 
สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ ได้ดังนี้ 
1.สรุปผลการ 
1. สรุปผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
ผู้จัดทาได้เผยแพร่ความรู้ออนไลน์เพอื่การศึกษา เรื่อง 
การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
1.1 เนื้อหาบทความ 
1.2 ใบความรู้ 
1.3 ใบงาน 
2. การประเมินประสิทธิภาพ 
2.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพเรื่องการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
3. อุปสรรคในการทาโครงงาน 
3.1 ทางานไม่ตรงกัน 
3.2 อินเตอร์เน็ตช้า 
3.3 ไวรัสกินงา 
4.ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาต่อ 
1. ควรมีการเพมิ่เนื้อหาที่มีความหลากหลายให้มากกว่า
30 
ภาพผนวก
31 
บรรณานุกรม 
http://th.wikipedia.org 
http://www.itcomtech.net 
http://www.suwanpaiboon.ac.th 
http://www.thaiall.com 
https://www.google.co.th

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Why'o Manlika
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง25580994969502
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Kitti Thepsuwan
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bamm Thanwarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peeravit Tipneht
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์supatra2011
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)peeranat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7mansupotyrc
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266karakas14
 

What's hot (19)

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2   8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
โครงงานคอมพ วเตอร W (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
33104657 0 20130621-155311
33104657 0 20130621-15531133104657 0 20130621-155311
33104657 0 20130621-155311
 
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7โครงงาน    วิธีการลง วินโดว 7
โครงงาน วิธีการลง วินโดว 7
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานknokrat
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) โดย นายจิรายุส สิ้นภัย นางสาวรังสินี มีเอี่ยม นางสาวสุธาสินี เข็มทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ (ปวช.)
  • 2. 2 เรื่อง โค รงงานค อ มพิว เตอ ร์ เผย แพร่ค วาม รู้อ อ นไล น์ เรื่อ ง ระบบปฏิบัติการ(Operating System) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อการศึกษา ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 โดย 1. นายจิรายุส สิ้นภัย 2. นางสาวรังสินี มีเอี่ยม 3. นางสาวสุธาสินี เข็มทอง โรงเรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น ครูที่ปรึกษา นางธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ ปีการศึกษา 2557
  • 3. 3 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา เรื่องระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์(Operating System) จัดทาขึ้นโดยมีวุตถุประสงค์ 1) เพอื่นเผยแพร่ให้คนอื่นๆรู้และได้ศึกษาเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์โครงงาน ระบบปฏิบัติการ OS Operating system นี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพอื่ศึกษาค้นค้าและเข้าใจการทางานของระบบ ปฏิบัติการและหน้าที่การทางาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมในปัจจุบั น มาประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้ โดยได้ศึกษา โดยผู้จัดทาโครงงานสามารถรู้และเข้าใจการทางานและการดูแลระบบ ต่างๆ ได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น และได้นาเสนอบทเรียนผ่านเว็บบล็อก ทั้งนี้ ทาให้สามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ระหว่างครู เพอื่นและผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี
  • 4. 4 กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ธิดารัตน์พลพันธ์สิงห์อาจ ารที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง สุดท้ายขอบคุณเพอื่น ๆ ที่ช่วยให้คาแนะนาดี ๆ เกี่ยวกับการทาโครงงานนี้ให้สาเร็จไปด้วยดี โดย จิรายุส สิ้นภัย สุธาสินี เข็มทอง รังสินี มีเอี่ยม
  • 5. 5 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ 1 กิตติกรรมประกาศ 1 สารบัญ 5 บทที่1 บทนา 6 ที่มาและความสาคัญ 6 วัตถุประสงค์ 8 ขอบเขตการศึกษา 8 ผลทคี่าดว่าจะได้รับ 8 บทที่ 2 เอกสารที่เกยี่วข้อง 9 1.ความสาคัญของระบบปฏิบัติการ 9 2.ข้อมูลเกยี่วกับระบบปฏิบัติการ 10 2.3 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ 11 3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 11 4.การทางานของระบบปฏิบัติการ 12 5. ประเภทระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 14 5.1 ระบบปฏิบัติการ Windows 14 5.2 ระบบปฏิบัติการ Ubuntu 16 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 17 1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 17 2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 17 บทที่4 ผลการดาเนินโครงงาน 19 วิธีการดาเนินงานนา เสนอออนไลน์ทั้งหมด 19 - 27 บทที่5 สรุปผลการเผยแพร่ข้อมูลออนไลน์เรื่องระบบปฏิบัติการ 28 ภาพผนวก 29
  • 6. 6 บรรณานุกรม 30 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ แนะนาให้รู้จักคาว่าระบบปฏิบัติการ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพอื่ให้เห็นเนื้อหาโดยรวม สาหรับความหมายของระบบปฏิบัติการในเบื้องต้น คือ โปรแกรม ที่จัดการคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ โดยทาหน้าที่ให้การสนับสนุนการประมวลผลในเบื้องต้น และทาหน้าที่อานวยความสะดวกให้ผู้ใช้ และคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทางานด้วยกัน อย่างราบรื่น จากความหมายข้างต้น ทาให้ทราบว่าคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีระบบปฏิบัติการ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญอีกส่วนหนึ่ง โดยปกติคอมพิวเตอร์จะมีส่วนประกอบสาคัญแยกกันได้ 4 ส่วนคือ Hardware, operating system, application program และ users 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยความจา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม ซึ่งเป็นส่วนที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพอื่ใช้เป็นซอร์ฟแวร์ในระดับพืน้ฐาน (primitive
  • 7. 7 level) โดยสามารถทางานได้โดยตรงกับทรัพยากรระบบด้วยคาสั่งง่ายๆ เช่น ADD MOVE หรือ JUMP คาสั่งเหล่านี้จะถูกกาหนดเป็นขั้นตอน การทางานของวงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอย่ใูน รูปแบบภาษาเครื่องและมักเป็นคาสั่งในการคานวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก 2. ระบบปฏิบัติการ (Operating system) เป็นโปรแกรมที่ทางานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพอื่จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอม พิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออานวยการพัฒนาและการใช้โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. โปรแกรมประยุกต์ (Application program) คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพอื่การทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, COBOL, PASCAL, BASIC ฯลฯ ตัวอย่างของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในทางธุรกิจ เช่น โปรแกรมระบบบัญชีจ่ายเงินเดือน (Payroll Program) โปรแกรมระบบเช่าซื้อ (Hire Purchase) โปรแกรมระบบสินค้าคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงอื่นไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน
  • 8. 8 ตามความต้องการหรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้เราสามารถดัดแปลงแก้ไขเพมิ่เติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ เพอื่ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกาหนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพอื่ทางานต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นตัวแปรภาษาต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษ าเครื่องแก่โปรแกรมเมอร์ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็น ไปอย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ศึกษาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) 2. เพอื่ใช้เป็นการศึกษา ให้กับผู้ที่สนใจ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ขอบเขตการศึกษา 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง ระบบปฏิบัติงาน (Operating System) ซึ่งประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการทั้งหลาย 2. โปรแกรมที่ใช้ในการดาเนินงาน ได้แก่
  • 9. 9 2.1 โปรแกรม Microsoft Word 2.2 โปรแกรม Photo Scape 2.3 โปรแกรม Adobe Photoshop ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ไปใช้ใน การศึกษาได้ 2. ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การจัดโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษา เรื่อ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. ความสาคัญของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ 2. ข้อมูลของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ 3. หน้าของระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์
  • 10. 10 4. การทางานของระบบปฏิบัติการ 5. ประเภทของระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 1. ความสาคัญของระบบปฏิบัติการ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายใ นคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงส่วนนาเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะทางานได้จาเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอย่ใูนเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอย่กูับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทางาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอย่ใูนคอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาด ใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ 2. ข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ 2.1 ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่อย่รูะหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคาสั่งสาหรับควบคุมการทางานของ ฮาร์ดแวร์ประยุกต์
  • 11. 11 ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น MS - DOS , UNIX , Windows 95 , และ Mac System 7 เป็นต้น ระบบปฏิบัติงานมีหน้าที่หลัก ๆ คือ  จัดส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา ที่เก็บข้อมูลสารอง และเครื่องพิมพ์  จัดการงานในส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้  ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล และการแสดงผล เป็นต้น ปกติแล้วโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรียกให้เริ่มต้นทางานผ่านระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการทางานอย่เูบื้องหลังการทางานของผู้ใช้ โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการบนเครื่องเมนเฟรมหรือเครื่องที่มีขนาดใหญ่ก็ย่อมมีการทา งานที่ซับซ้อนมากขึ้น เพราะต้องดูแลการทางานหลายอย่างจากผู้ใช้หลายคนพร้อมกัน 2.3 ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบ ปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX)
  • 12. 12 3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการจะอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ในลักษณะที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบกลไกการทางาน หรือฮาร์ดแวร์ของระบบ แบ่งออกได้ดังนี้ 1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) คือ ผู้ที่ใช้สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านร ะบบปฏิบัติการ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพอื่ที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคาสั่งหรื อสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพอื่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย 2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่อ งจ ากผู้ใช้งาน เค รื่อ งค อ มพิวเตอ ร์ผ่านทางร ะบ บ ป ฏิบัติกา ร อาจไม่จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทางานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแล การทางานของอุปกรณ์ต่างๆ เพอื่ให้การทางานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง 3. จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
  • 13. 13 ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพอื่ให้โปรแกรมดาเนินต่อไปได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจา (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/output) ดั ง นั้ น ระบบป ฏิบัติการจะต้อ งจัดส รรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อ ให้เกิดป ระโยชน์สูงสุด ถ้าร ะบ บ ป ฏิบัติก ารส าม ารถ จักส รรท รัพ ย าก รให้มีป ร ะสิท ธิภ าพ แล้ ว ก า ร ท า ง า น ข อ ง โ ป ร แ ก ร ม ต่า ง ๆ ก็ส า ม า ร ถ ท า ใ ห้ ไ ด้ร ว ด เร็ว และได้ปริมาณงานเพมิ่ขึ้นด้วย 4. การทางานของระบบปฏิบัติการ 4 . 1 ร ะ บ บ ค น เ ดี ย ว ( Single User) ใ ช้ ใ น เ ค รื่ อ ง PC ที่มีผู้ใช้คนเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น DOS (Disk Operating System) ซึ่งระบบ DOS เ ป็ น ร ะ บ บ ป ฏิ บัติก า ร ที่ ถู ก พัฒ น า ขึ้ น โ ด ย บ ริษัท IBM เพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องพีซี ซึ่งตัวโปรแกรม DOS จะถูก Load หรือ อ่าน จ ากแผ่น ดิส ก์เข้าไป เก็บไว้ใน หน่วยคว าม จ าก่อ น จ ากนั้น DOS จ ะ ไ ป ท า ห น้า ที่เ ป็น ผู้ป ร ะ ส า น ง า น ต่า ง ๆ ระห ว่างผู้ใช้กับอุป กรณ์คอ มพิว เตอ ร์ทั้งห ล าย โด ยอัตโนมัติ โด ยที่ DOS จะรับคาสั่งจากผู้ใช้หรือโปรแกรมแล้ว นาไปปฏิบัติตาม โดยการทางานจะเป็นแบบ Text mode สั่งงานโดยการกดคาสั่งเข้าไป 4 .2 ร ะ บ บ Multiprogramming เป็นระบบที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกัน เช่น UNIX, Linux
  • 14. 14 ซึ่ง UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้บนเครื่อง SUN ของบริษัท SUN Microsystems แต่ไม่ได้เป็นคู่แข่งกับบริษัท Microsoft ในเรื่องของระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PC แต่อย่างใด แต่Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด (Open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้อง ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน นอกจากนี้ UNIX ยังถูกออกแบบมาเพอื่ ตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multiuser system) 4.3 ระบบ Multitasking เป็นระบบที่คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน เป็นหลักการในแนวเดียวกับระบบ Multiprogramming เช่น Windows ซึ่ง Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัท Microsoft ซึ่งจะมีส่วนติดต่อกับ ผู้ใช้ (User interface) เป็นแบบกราฟิก หรือเป็นระบบที่ใช้รูปภาพแทนคาสั่ง เรียกว่า GUI (Graphic User Interface) โดยสามารถสั่งให้เครื่องทางานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์หรือคลิกที่คาสั่งที่ต้องก าร ระบบนี้อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถใช้งานโปรแกรมได้มากกว่า 1 โปรแกรมในขณะเดียวกันซึ่งถ้าเป็นระบบ DOS หากต้องการเปลี่ยนไปทางานโปรแกรมอื่น ๆ จะต้องออกจาก โปรแกรมเดิมก่อนจึงจะสามารถไปใช้งานโปรแกรมอื่น ๆ ได้ ในลักษณะการทางานของ Windows จะมีส่วนที่เรียกว่า “หน้าต่าง”
  • 15. 15 โดยแต่ละโปรแกรมจะถือเป็นหน้าต่างหนึ่งหน้าต่าง ผู้ใช้สามารถ สลับไปมาระหว่างแต่ละหน้าต่างได้ นอกจากนี้ระบบ Windows ยังให้โปรแกรมต่าง ๆ สามารถ แชร์ข้อมูลระหว่างกันได้ผ่านทางคลิปบอร์ด (Clipboard) ระบบ Windows ทาให้ผู้ใช้ ทั่ว ๆไปสามารถทาความเข้าใจ เรียนรู้และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 4.4 ระบบเครือข่าย (Networking) เป็นระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเชื่อมโยงส่งข้อมูลให้กันและกัน และยังสามารถทางานประสานกันได้เช่น NOS (network Operating System) 5. ประเภทระบบปฏิบัติการที่ใช้ในชีวิตจริง 5.1 ระบบปฏิบัติการ Windows คือระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง ( operating system) สร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เนื่องจากความยากในการใช้งานดอสทาให้บริษัท ไมโครซอฟต์ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Windows ที่มีลักษณะเป็น GUI (Graphic-User Interface) ที่นารูปแบบของสัญลักษณ์ภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้ อนคาสั่งทีล ะบรรทัด ซึ่ง ใก ล้ เคีย ง กับ แ ม ค อิน ท อ ช โอ เอ ส เพื่อ ให้ก าร ใช้งา น ด อ ส ท า ได้ง่าย ขึ้น แ ต่ วิ น โ ด ว ส์ จ ะ ยั ง ไ ม่ ใ ช่ ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร จ ริ ง ๆ เนื่อ ง จ า ก มัน จ ะ ท า ง า น อ ยู่ภ า ย ใต้ก า ร ค ว บ คุม ข อ ง ด อ ส อีก ที
  • 16. 16 กล่าวคือจ ะต้อ งมีการติดตั้งดอ ส ก่อนที่จ ะติดตั้งระบบป ฏิบัติการ Windows และผู้ใช้จะสามารถเรียกใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่มีอย่ใูนดอสได้โดยผ่านทางWindows ซึ่ง Windows จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส ระบบป ฏิบัติการ Windows ใช้หลักการแบ่งงานเป็นส่วน เรียกว่า หน้าต่างงาน (windows) ที่แสดงผลลัพธ์แต่ละโปรแกรม ปัจจุบันมีการผลิตและจาหน่ายหลายรุ่น เช่น Windows XP, Windows Vista, Windows 7 เป็นต้น 5.2
  • 17. 17 5.2 ระบบปฏิบัติการ Ubuntu เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพืน้ฐานบนลินุก ซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคาในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others" อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 14.04 ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธ์ิ เช่น ไดรเวอร์) โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบตัิการสาหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้
  • 18. 18 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บไซต์เพอื่การศึกษาเรื่อง ระบบปฏิบัติการ (Operating System) มีวิธีการดาเนินการโครงงานตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา 1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 1.2 โปรแกรมที่ใช้ดาเนินงาน ได้แก่ 1.1 โปรแกรม Microsoft Word 1.2 โปรแกรม Internet Browser (Mozilla Firefox)
  • 19. 19 1.3 โปรแกรม Adobe Photoshop 1.4 โปรแกรม Photo scape 2. ขั้นตอนการดาเนินงาน 2.1 ศึกษาหัวข้อโครงงานที่ครูที่ปรึกษาให้มา 2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่องระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และศึกษาเพมิ่เติมจากเว็บไซต์ต่าง ๆ และจัดเก็บข้อมูล เพอื่จัดทาเนื้อหาต่อไป 2.3 ศึกษาการทางานของระบบปฏิบัติการ โดยการศึกษาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต โปรแกรม Microsoft Word 2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพอื่นาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2.5 จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โดยสร้างบทเรียนที่สนใจตามเสนอแบบโครงร่างที่เสนอ
  • 20. 20 2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบ ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพอื่ให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจ ทั้งนี้เมื่อได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นที่น่าสนใจ 2.7 จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 2.8 ประเมินผลงานโดยให้ครูที่ปรึกษาประเมินผลงานและให้เพอื่นผู้ที่สนใจร่วมประเมิน บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เพอื่การศึกษา เรื่อง ระบบปฏิบัติการ(Operating System) มีผลการดาเนินโครงงาน ดังนี้
  • 21. 21 1. อันดับแรก ต้องสมัคร Gmail 2.เมื่อสมัคร G-mail เรียบร้อยแล้ว ให้เข้าไปที่ www.blogger.com
  • 22. 22 3. ทาการเขียน Blogger ใหม่
  • 23. 23
  • 24. 24 4. เข้าไปทโี่ปรแกรม Microsoft Word และพิมพ์เค้าโครงของโครงงานที่จะทาให้เรียบร้อย
  • 25. 25 5. ศึกษา ค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเรื่อง ระบบปฏิบัติการ ผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต และนาข้อมูลที่เป็นประโยชน์มา
  • 26. 26 6. นาข้อมูลที่ได้มา ใส่ลงโปรแกรม Microsoft Word
  • 29. 29 บทที่ 5 สรุปผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ ได้ดังนี้ 1.สรุปผลการ 1. สรุปผลการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ผู้จัดทาได้เผยแพร่ความรู้ออนไลน์เพอื่การศึกษา เรื่อง การเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 เนื้อหาบทความ 1.2 ใบความรู้ 1.3 ใบงาน 2. การประเมินประสิทธิภาพ 2.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพเรื่องการเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 3. อุปสรรคในการทาโครงงาน 3.1 ทางานไม่ตรงกัน 3.2 อินเตอร์เน็ตช้า 3.3 ไวรัสกินงา 4.ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาต่อ 1. ควรมีการเพมิ่เนื้อหาที่มีความหลากหลายให้มากกว่า
  • 31. 31 บรรณานุกรม http://th.wikipedia.org http://www.itcomtech.net http://www.suwanpaiboon.ac.th http://www.thaiall.com https://www.google.co.th