SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ครู

คําเกียวสันสัน
            ้ ้
แต่มีความหมาย
ทุกคนเกิดมา
ทังหญิงทังชาย
    ้     ้
รู้ดีวาหมาย
      ่
ถึงใครคนหนึง  ่
คนที่คอยพูด คนที่คอยแนะ คนที่คอยแคะ คนที่คอยขน
คนให้ ความรู้ คนกู้ปวงชน คนที่รักคน คนนี ้แหละ “ครู”
ขอกราบแทบเท้ า
น้ อมเศียรน้ อมเกล้ า
ไม่ลบไม่หลู่
เคารพบูชา
ยกย่องเชิดชู
กราบบูชาครู
ทุกคน…ทุกคน

ด้ วยความเคารพอย่างสูง
จาก…ศิษย์คนหนึง่
วิสาขบูชา ๒๕๔๑

ธาตุแท้ ของครู
ธาตุแท้ ของครู คือ สภาพที่ทรงไว้ ซงความเป็ นครู มี ๓ ธาตุดงต่อไปนี ้
                                  ึ่                      ั
๑. ครุ ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงความหนัก
                                     ึ่
๒. คร ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงการยกย่อง
                                        ึ่
๓. คริ ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงเสียง  ึ่

ครู คือบุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังต่อไปนี ้

๑. สัตถุคารวตา ได้ แก่ หนักในพระศาสดา

ครู คือ บุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังต่อไปนี ้
(๑) สัตถุคารวตา ได้ แก่ หนักในพระศาสดา
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในพระบรมศาสดาของศาสนาที่
ตนนับถือด้ วยความเคารพสักการะบูชาอย่างยิ่ง ทังด้ วยกาย ด้ วยวาจาและด้ วยใจ เพราะพระบรมศาสดาของทุกศาสนา
                                             ้
ทรงดํารงพระองค์เป็ นคุรุฐานียบุคคล คือ บุคคลผู้เป็ นที่ตงแห่งความเคารพสูงสุดในความหมายโดยรวม ก็คือ บุคคลผู้
                                                        ั้
เป็ นครูไม่วาจะนับถือพระศาสนาใดนอกจากจะเคารพบูชาบูชาพระศาสดาของตนแล้ ว ย่อมไม่ดหมินเกลียดชังยุยงส่งเสริ ม
            ่                                                                      ู ่
ให้ เกิดการดูหมิ่นเกลียดชังพระบรมศาสดาของศาสนาอื่น จนก่อให้ เกิดความแตกแยกเกลียดชังกันระหว่างศาสนา

(๒) ธัมมคารวตา ได้ แก่ หนักในพระธรรม
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญเอาใจใส่ในการศึกษาปฏิบติธรรม
                                                                                           ั
สร้ างสรรค์ความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ง ตามหลักพระศาสนาที่ตนนับถือ ด้ วยการน้ อมนําพระธรรมคําสัง
                                                                                                      ่
สอนมาประพฤติปฏิบตในชีวิตประจําวันยึดมันในความรู้ความงามความดีและความจริง ตามหลักธรรมของพระศาสนา
                     ัิ                ่
อย่างสมําเสมอ
         ่

(๓) สังฆคารวตา ได้ แก่ หนักในพระสงฆ์
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในพระสงฆ์หรื อนักบวช นักสอน
ศาสนา นักเผยแผ่ธรรมในพระศาสนาที่ตนนับถือ ด้ วยการเข้ าไปหา ปรึกษา สนทนาธรรม และบํารุงด้ วยปั จจัย ๔ ตาม
สมควรความหนัก ๓ ประการข้ างต้ นนี ้ สําหรับครูผ้ เู ป็ นพุทธศาสนิกชนแล้ ว ก็คือ การแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น
จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญของ“พระรัตนตรัย” นันเอง  ่

(๔) สิกขาคารวตา ได้ แก่ หนักในการศึกษา
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญเอาใจใส่ในการศึกษาอย่างเต็มตัว เต็มใจ
เต็มความรู้เต็มความสามารถ เต็มกําลัง และเต็มสติปัญญาด้ วยการค้ นคว้ า ศึกษา วิเคราะห์และวิจย และพัฒนา
                                                                                           ั
การศึกษา เพื่อพัฒนาตน พัฒนาคนและพัฒนางานอย่างดีที่สด    ุ

(๕) อัปปมาทคารวตา ได้ แก่ หนักในความไม่ประมาท
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในความไม่ประมาท คือ ไม่
พลังเผลอ เลินเล่อ มัวเมาในลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข ไม่ประมาทในอาชีพครู และในความเป็ นครูของตน หมันดูแลรักษา
    ้                                                                                                 ่
ระเบียบวินยและจรรยาบรรณของครูอย่างเคร่งครัด ระมัดระวังตังใจอย่าให้ เกิดสภาพที่เรี ยกว่า “ภูมิค้ มกันบกพร่อง” ใน
          ั                                              ้                                      ุ
ความเป็ นครูของตน

(๖) ปฏิสนถารคารวตา ได้ แก่ หนักในการต้ อนรับ
          ั
ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในการต้ อนรับหรื อการ
ปฏิสนถาร ได้ แก่การสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบลูกศิษย์ ความสัมพันธ์ที่ดีกบพ่อแม่ ผู้ปกครองของลูกศิษย์ ความสัมพันธ์
        ั                                  ั                           ั
ที่ดีกบชุมชนและสังคมด้ วยการปฏิสนถาร ๒ อย่าง คือ
      ั                           ั
(๑) อามิสปฏิสนถาร ได้ แก่ การต้ อนรับด้ วยวัตถุสงของ
                ั                                 ิ่
(๒) ธรรมปฏิสนถาร ได้ แก่ การต้ อนรับด้ วยธรรม ด้ วยความช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน ด้ วยนํ ้าใจไมตรี สามารถเป็ นที่พงของ
              ั                                                                                               ึ่
ชุมชนและสังคมได้ อย่างดี เมื่อยามมีปัญหาก็ไม่นงดูดาย เข้ าไปช่วยเหลือตามความเหมาะสม
                                               ิ่

ครูเป็ นบุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังกล่าวนี ้ จึงได้ ชื่อว่า “ครู”
ครู คือบุคคลผู้ทรงไว้ ซงการยกย่อง ได้ แก่ การส่งเสริ มเพิ่มพูน ยกระดับความเป็ นคนให้ สงขึ ้น ดีขึ ้น ด้ วยความรู้ ความ
                         ึ่                                                               ู
งาม ความดี
และความจริง ด้ วยการปั นคน สร้ างคน และพิมพ์คน ให้ เป็ นพลเมืองที่ดีของชาติ
                            ้
ครู คือผู้ยกย่องลูกศิษย์ให้ เด่น ดัง และดี ในทุกที่และทุกทิศ ไม่เหยียบยําซํ ้าเติมลูกศิษย์ให้ ตกตําในที่ทกสถานและตลอด
                                                                        ่                         ่      ุ
กาลทุกเมื่อ
ดังนัน ครูจึงทําหน้ าทียกย่อง ๒ ประการ คือ
     ้                 ่
(๑) ทําของเสียให้ เป็ นของสวย เรี ยกว่า Recycle
(๒) ทําคนด้ อยให้ เป็ นคนเด่น เรียกว่า Reengineering

ครู คือบุคคลผู้ทรงไว้ ซงเสียงพูด บอกกล่าว ชี ้แจงแสดง เปิ ดเผย แนะนําลูกศิษย์ด้วยเสียงแห่งธรรม (Voice of
                       ึ่
Dhamma) ด้ วยการพรํ่ าสอนและสังสอนให้ ลกศิษย์เกิดความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ครูเป็ นบุคคลผู้ดํารง
                                     ่      ุ
ตําแหน่ง “ผู้ พดคนแรก” ในโลกสําหรับลูกศิษย์ เริ่ มตังแต่ครูในครอบครัว คือ พ่อแม่ ซึงเป็ นครูคนแรกของลูก
               ู                                    ้                              ่
(บุรพาจารย์) และครูในโรงเรี ยน ซึงได้ รับการยกย่องว่าเป็ น “แม่พมพ์ของชาติ”
                                   ่                            ิ
การอบรมสังสอนของครูตามหลักพระพุทธศาสนาได้ เปรี ยบเทียบไว้ วา ครูคือผู้
            ่                                                     ่
๑. หงายของที่ควํ่า (ความรู้ )
๒. เปิ ดของที่ปิด (ความงาม)
๓. บอกทางแก่คนหลงทาง (ความดี)
หากครูทกคนสามารถปกปอง คุ้มครอง ดูแลรักษา “ธาตุแท้ ” ของตนไว้ ได้ ครบถ้ วนทัง้ ๓ ธาตุ แล้ ว ย่อมได้ ชื่อว่าเป็ น “ครู
         ุ                ้
แท้ ” และดํารงอยูอย่าง “คุรุฐานียบุคคล” เฉกเช่นเกียวกันกับพระบรมศาสดา ซึงเป็ น “พระบรมครู” ของมนุษย์และเทวดา
                   ่                                                        ่
ทังหลายฉะนัน
  ้              ้

ครูคือใครในวันนี ้
ใครคือครู ครูคือใคร ในวันนี ้
ใช่อยูที่ปริ ญญามหาศาล
               ่
ใช่อยูทเี่ รี ยกว่าครูอาจารย์
                 ่
ใช่อยูนานสอนนานในโรงเรี ยน
                   ่
ครูคือผู้ชี ้นําทางความคิด
ให้ ร้ ูถก รู้ผิด คิดอ่านเขียน
           ู
ให้ ร้ ูทกข์ รู้ยาก รู้พากเพียร
             ุ
ให้ ร้ ูเปลียน แปลงสู้ รู้สร้ างงาน
                     ่
ครูคือผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์
ให้ สงสุดกว่าสัตว์เดรัจฉาน
         ู
ครูคือผู้สงสมอุดมการณ์ ั่
มีดวงมาลย์เพื่อปวงชนใช่ตนเอง
ครูจึงเป็ นนักสร้ างผู้ใหญ่ยง   ิ่
สร้ างคนจริง สร้ างคนกล้ า สร้ างคนเก่ง
สร้ างคนให้ เป็ นตัวของตัวเอง
ขอมอบเพลงนี ้มาบูชา “ครู”
  เนาวรัตน์ พงษ์ ไพบูลย์
                   กวีซีไรท์/ประพันธ์

คุณธรรมของครู
 ครูผ้ ดํารงธาตุแท้ ของตนไว้ ได้ นน คือ ครูผ้ มีคณธรรม ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้
       ู                              ั้         ู ุ
 ๑. ปิ โย คือ น่ารัก
 ๒. ครุ คือ น่าเคารพ
 ๓. ภาวนีโย คือ น่ายอกย่อง
 ๔. วัตตา คือ สอนดี
 ๕. วจนักขโม คือ สอนทน
 ๖. คัมภีรัง กถัง กัตตา คือ สอนลึกซึ ้ง
 ๗. โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ สอนสร้ างสรรค์ความดีงาม
 คุณธรรมทัง้ ๗ ประการ นี ้เรียกว่า “กัลยาณมิตรธรรม” ได้ แก่ ธรรมของผู้เป็ นมิตรที่ดี
 ครู คือ บุคคลผู้เป็ นมิตรที่ดี หรื อ “มิตรแท้ ” สําหรับลูกศิษย์เพราะเป็ นผู้ประกอบด้ วยคุณธรรมของมิตรแท้ ๔ ประการ
ดังต่อไปนี ้
 ๑. มิตรอุปการะ (อุปการี )
 ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ (สมานสุขทุกข์)
 ๓. มิตรแนะนําประโยชน์ (อัตถักขายี)
 ๔. มิตรมีนํ ้าใจ (อนุกมปี /สุหทยะ)
                              ั     ั
 ครู คือ มิตรอุปการะ ช่วยปกปอง คุ้มครองลูกศิษย์ทงชีวตและทรัพย์สน ยามลูกศิษย์มีภย ก็เป็ นที่พงพํานัก
                                         ้                 ั้ ิ              ิ                ั            ึ่
ได้ ขวนขวายช่วยเหลือลูกศิษย์เมือเกิดกิจจําเป็ น ทังด้ วยแรงเงินและแรงงาน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “อุปกรณ์
                                           ่            ้
ชีวิต” ของลูกศิษย์
    ครู คือ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มีสขร่วมเสพ มีทกข์ร่วมต้ านกับลูกศิษย์ เปิ ดเผย จริ งใจ ไว้ วางใจ เมื่อมีภยมาก็ไม่
                                               ุ      ุ                                                       ั
ทอดทิ ้งลูกศิษย์ แม้ ชีวตก็สละให้ ได้ เพื่อลูกศิษย์ของตน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “หุ้ นส่วนชีวิต” ของลูกศิษย์
                          ิ
    ครู คือ มิตรแนะนําประโยชน์ คอยห้ ามปรามกางกันลูกศิษย์จากความชัว แนะนําให้ ตงอยูในความดี ให้
                                                           ้                     ่          ั้ ่
คําปรึกษา ให้ ร้ ูให้ เห็นสิงที่เป็ นประโยชน์และบอกหนทางแห่งความสุขให้ ลกศิษย์คณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “รปภ.
                                ่                                              ู     ุ
ชีวิต” ของลูกศิษย์
    ครู คือ มิตรมีนํ ้าใจ มีทกข์ก็ทกข์ด้วย มีสขก็สขด้ วย กับลูกศิษย์ถกติเตียนก็ช่วยปองกันแก้ ไขให้ และช่วยส่งเสริ ม
                                  ุ          ุ     ุ ุ                    ู             ้
เพิ่มพูนเมื่อมีคนสรรเสริ ญลูกศิษย์ของตน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “ถังขยะชีวิต” ของลูกศิษย์
    ครูที่ดี คือ ครูที่มีกลยาณมิตรธรรม
                            ั
นี่หรื อครู
 ๑. ครูมาสาย
 คติ : สายบ่อย ๆ สอนน้ อยหน่อย อร่อยกําลังเหมาะ
๒. ครูค้าขาย
คติ : ครูที่ขยันหมันเพียรต้ องทําโรงเรี ยนให้ เป็ นตลาดครูที่มความสามารถ ต้ องทําตลาดให้ อยูในโรงเรี ยน
                               ่                              ี                             ่
๓. ครูคณนาย     ุ
คติ : สบาย สบาย คุณนายซะอย่าง หนทางสะดวกพรรคพวกมากมาย
๔. ครูโรงงาน
 คติ : ถักวันนี ้ เป็ นเศรษฐี ในวันหน้ า
๕. ครูสราบาน
          ุ
คติ : ศุกร์ เมาเสาร์ ถอนอาทิตย์นอนจันทร์ เกียจคร้ าน อังคารหยุด พุธลา พฤหัสมาไม่ส้ หน้ าคน
                                                                                   ู
๖. ครูโบราณ
 คติ : สอนดีก็สอนไป ฉันจะสอนอย่างไรใครอย่ายุง         ่
๗. ครูปากม้ า
 คติ : นินทาวันละนิด จิตแจ่มใส
  ปากใคร ปากมัน ปากของฉันใครอย่าแตะ
๘. ครูหน้ าใหญ่
คติ : ใหญ่ในโรงเรียน เป็ นเสมียนที่อําเภอ เกลอเจ้ านาย ได้ สองขัน ้
๙. ครูเกียจคร้ าน
 คติ : สอนบ้ าง ไม่สอนบ้ าง เปนแค่เรื อจ้ าง สตางค์เท่าเดิม
                                   ้
๑๐. ครูตย                 ุ๋
 คติ : เด็กมันยัว หลวมตัวไปหน่อย
                             ่
ประเภทของครู
กัลยาณมิตรธรรมได้ รักษาความเป็ นครูเอาไว้ และทําให้ เกิดประเภทของครู ๙ ประเภท ดังต่อไปนี ้
๑. ครูนกรบ  ั
๒. ครูนกรัก       ั
๓. ครูนกบอก         ั
๔. ครูนกชี ้          ั
๕. ครูนกดนตรี           ั
๖. ครูนกร้ อง ั
๗. ครูเรื อจ้ าง
๘. ครูนายช่าง
๙. ครูแม่พิมพ์


ครู คือ นักรบ คอยต่อสู้ ปองกัน และปราบปรามความชัวร้ ายให้ แก่ลกศิษย์ ทังความชัวร้ ายทีเ่ กิดจากภายนอก
                              ้                          ่              ู         ้       ่
และความชัวร้ ายทีเ่ กิดขึ ้นภายในตัวลูกศิษย์เอง รวมทังความชัวร้ ายที่เกิดขึ ้นในสังคมด้ วย เป็ นภารกิจของครูที่จก
           ่                                         ้      ่                                                   ั
ต่อสู้ ปองกัน
        ้
และกําจัดไป ในฐานะทีเ่ ป็ น “นักรบของสังคม” ซึงเป็ นนักรบร่วมสมัย
                                                 ่
นักรบร่วมสมัย
นักรบร่วมสมัย
นิงอยูไยทําไมไม่เชือดเฉือน
        ่
ต้ องต่อสู้เหล่าศัตรูผ้ มาเยือน
                        ู
ลบรอยเปื อนของแผ่นดินให้ สิ ้นไป
              ้
นักรบดีมีความคิดชี ้ผิดถูก
หมันฝั งปลูกลบรอยแผลแด่สมัย
     ่
สร้ างสังคมด้ วยตัวด้ วยหัวใจ
เฉยอยูไยทําไมไม่ลงมือ
          ่
ครูคือนักรบร่วมสมัย
แม้ จะไร้ อาวุธในมือถือ
จงไว้ ลายนักรบให้ คนลือ
ว่าครูคือนักสร้ างสมอุดมการณ์
เร่งบากบันฟาดฟั นเถิดนักรบ
            ่
ขอน้ อมนบผู้เก่งกาจผู้อาจหาญ
 เก่งและดีทงมีวิชาชาญ
                  ั้
 พร้ อมพิชิตคนพาลอภิบาลคนดี
 ลุกขึ ้นเถิด “นักรบร่วมสมัย”
 แล้ วฮึดสู้สดหัวใจไม่หลีกหนี
                ุ
 เพื่อสังคมครูคงพร้ อมและยอมพลี
 เพื่อโลกนี ้สุขสงบ…รบเถิดครู


 ครู คือ นักรัก คอยสร้ างสรรค์และรักษาความเจริ ญรุ่งเรื องให้ แก่ลกศิษย์ ด้ วยความเมตตาปรารถนาดีตอลูกศิษย์
                                                                    ู                                ่
สมํ่าเสมอ ช่วยพัฒนาครอบครัว พัฒนาชุมชน และพัฒนาสังคมของลูกศิษย์ให้ เจริ ญก้ าวหน้ าในฐานะเป็ น “นักรักของ
สังคม” โดยไม่เลือกที่รัก ไม่ผลักที่ชไม่จําเป็ นว่าเธอจะต้ องสดสวย ผู้ดีรํ่ารวย มากมายด้ วยการศึกษา ถ้ าครูจะรัก ให้
เธอเป็ นลูกชาวนา เป็ นลูกกําพร้ าจน ๆ ครูก็ไม่หวัน ่
 โลกมีใครที่เลือกเกิดได้ ดงหวัง หน้ าตาน่าชัง นํ ้าใจอาจงามเฉิดฉัน หน้ าตาสดใส บางทีซอนใจลวงกัน งามแต่รูปพรรณ
                          ั                                                             ่
หัวใจสิ ้นไร้ ราคา
 เราทุกคนเกิดมาย่อมมีพลังพลาด ใจเกินมีขาด มีช้า มีชื่นชีวา เห็นลูกศิษย์เลว ครูไม่อบจนปั ญญา รักแท้ จากใจสูงค่า
                            ้                                                         ั
ครูมีคอยท่าอีกหน
 ต่อให้ เธอกระทําบาปกรรมไม่น้อย ทําเรื่ องด่างพร้ อยเลือนลอยอยูอย่างสับสน แต่ครูคนนี ้ไม่มีลบรอยกังวล เป็ นห่วงเธอ
                                                        ่         ่
ล้ น ขอเป็ นคนที่รักเธอ
ครู คือ นักบอก บอกวิชา บอกความรู้ บอกความงาม บอกความดี และบอกความจริง ให้ แก่ลกศิษย์โดยไม่ปิดบัง ครู
                                                                              ู
เป็ นผู้เสาะแสวงหานํามา
เปิ ดเผยแก่ลกศิษย์ ในฐานะทีเ่ ป็ น “ผู้ บอกขุมทรัพย์” แก่ลกศิษย์และแก่สงคม
             ู                                            ู            ั

ย่อ โลกรวมเป็ นเล่มเต็มสาระ
ย่น ทางจะก้ าวไกลมาใกล้ เรา
ยก ที่อยูหางไกลมาใกล้ เรา
            ่ ่
ยาม หงอยเหงาเป็ นเพื่อนได้ เหมือนคน
บอก เรื่ องราวเล่าความตามลําดับ
บ่ง เรื่ องลับให้ แจ้ งทุกแห่งหน
ใบ้ ความหมายคลายความเขลาให้ เล่าชน
บรรยาย ความหมายคลายเขลาให้ เล่าชน
สร้ าง คนให้ เป็ นคนพ้ นความมืด
เสริ ม ชีพยืดเยื ้องย่างอย่างมีแก่น
ส่อง สว่างสร้ างชีวาอย่างมีแกน
สืบ ถ่ายแทนกองทุนทุกรุ่นวัย
ชม อดีตรัดเร้ นเห็นประวัติ
ช่วย ชูปัจจุบนทันสมัย
                  ั
ชี ้ อนาคตเด่นเห็นกําไร
ชุบ คนให้ อดมสุขสมบูรณ์
                ุ
รัก…ความรู้ ดตาราปั ญญาเลิศ
                    ูํ
รู้…ไว้ เถิดรู้ไว้ ไม่เสือมสูญ
                         ่
ดู…ให้ จําซํ ้าเข้ าใจไม่อาดูร
หนังสือ…พูนผลผลิตทุกวิชา
หนังสือ…คือเพื่อนที่ดีของชีวต     ิ
คือ…คูคิดคอยคลายหลายปั ญหา
          ่
ขุม…เงินทองกองทุนหนุนปั ญญา
ทรัพย์…ลํ ้าค่าคือหนังสือ “คูมือคน”
                                ่
(บทกวี “หนังสือคือขุมทรัพย์” ประพันธ์โดย นายสมควร เหล่าลาภะ ชนะเลิศโล่รางวัลในโครงการสารานุกรมไทยสําหรับ
เยาวชน โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหว ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๘)
                                    ่ ั

 ครู คือ นักชี ้ คอยชี ้ผิด ชี ้ถูกให้ ลกศิษย์และให้ สงคม ครูเป็ นผู้ชี ้ทางสร้ างทิศ นําชีวิตของลูกศิษย์และของสังคมไปสู่
                                        ู             ั
เปาหมาย คือ ความเจริ ญรุ่งเรื อง ก้ าวหน้ า มังคังและมันคง เพื่อให้ ลกศิษย์และสังคมเติบโตด้ วยความกล้ าหาญ ความ
  ้                                                ่ ่     ่                  ู
พยายามความคิด เรี ยนรู้ชีวต และพึงตนเองได้
                                 ิ        ่
ครู คือ นักดนตรี คอยเรี ยบเรียงเสียงประสาน ให้ จงหวะให้ ระดับประคับประคองชีวิตของลุกศิษย์และของสังคม ให้
                                                  ั
ดําเนินไปด้ วยความเรี ยบร้ อยและดีงามสมํ่าเสมอ ไม่ผิดจังหวะ ไม่ผิดระดับ ไม่ผิดโน้ ต ไม่ผิดคีย์ของชีวต และไม่ผิดทํานอง
                                                                                                    ิ
 ครูเป็ นนักดนตรี คอยดีด คอยสี คอยเป่ า คอยเขย่า และคอยขยับขับกล่อมบรรเลงเพลงชีวตของลูกศิษย์และของสังคม
                                                                                          ิ
ให้ สขสมและสร้ างสรรค์บรรยากาศที่เต็มไปด้ วยความสุขที่ถกต้ องตาม “ทํานองธรรม”
     ุ                                                  ู

เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก
เผชิญโศกอย่างสนุกสนานและสุขศานต์
ทักทายทุกข์รอบข้ างอย่างสําราญ
ยิ ้มรับการดูหมิ่นอย่างยินดี
 ทุกย่างก้ าว…เท่าย่างอย่างองอาจ
 ทรงอํานาจ “ตาทิธรรม” นําวิถี
 ไม่วนวาย…ไม่หวันไหวในท่าที
       ุ่            ่
 ท่วงท่านี ้…ถูกทํานองครรลองธรรม
เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก
ประสบโชคลาภใหญ่…ไม่ถลํา
ถึงเสือมยศลดลาภไป…ไม่ระกํา
          ่
ไม่ตื่นคําสรรเสริ ญเกินพอดี
 ทุกย่างก้ าว…เท่าย่างอย่างองอาจ
 ทรงอํานาจ “ตาทิธรรม” นําวิถี
 ไม่วนวาย…ไม่หวันไหวในท่าที
       ุ่              ่
 ท่วงท่านี ้…ถูกทํานองครรลองธรรม
เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก
ไม่มีโยก…ไม่มียง…ไม่สงตํ่า
                  ุ่      ู
“เท่าทัน” ทุกท่วงเท้ าทางขาว – ดํา
ทางที่ยา…ทุกเท่าเหยียบอย่างเรียบร้ อย
            ํ่
 ทุกย่างก้ าว…เท้ าย่างไม่ขวางโลก
 ยังเสพโศก…แต่ไม่เศร้ าไม่เหงาหงอย
 ยังเสพสุข…แต่ไม่ปลื ้มลืมตัวลอย
 ทุกอย่างปล่อย…ค่อยค่อยปรับ “โลกกับธรรม”

ครู คือ นักร้ อง คอยสร้ างความบันเทิงรื่ นเริ งใจให้ ลกศิษย์และสังคม ผ่อนคลายอารมณ์ ทังในยามทุกข์และยามสุข ครู
                                                        ู                                   ้
เป็ นผู้คอยเรี ยบเรี ยงถ้ อยร้ อย
กรองคําปลอบประโลมลูกศิษย์เมื่อยามชีวิตมีทกข์ เมื่อยามลูกศิษย์มีสข ก็คอยบํารุงขวัญ สร้ างสรรค์พลังใจให้
                                                   ุ                    ุ
 ครูเป็ นนักร้ อง คอยร้ องปลุกลูกศิษย์ให้ ตื่นตัว ตื่นตา และตื่นใจอยูตลอดเวลา ให้ ทนสมัย ทันเหตุการณ์และทันโลกอยูเ่ สมอ
                                                                     ่             ั
ในฐานะที่เป็ น
“ผู้ ปลุก” ปลุกทังตนเองและผู้อื่น
                  ้
ตื่นเถิด
ตื่นเถิดหนา ฉันมาจากแดนไกล
ด้ วยดวงใจ ซึ ้งรักและศรัทธา
ตื่นเถิดเรา อรุณรุ่งกําลังมา
รี บล้ างหน้ าตา สวัสดีอรุณ
เยาวชนหญิงชายไม่มวเมา   ั
พวกเรานันไร้ ความเฉื่อยชา
            ้
ดอกไม่เบ่งบานทุกเวลา
มาเถิดเชิญมาครูจะบอกธรรมนําทาง
 ร่วมกันสร้ างชีวให้ สดใส
                  ี
 เอานํ ้าใจรดใจให้ งอกงาม
 สักสันหนึงท้ องฟ้ าเป็ นสีคราม
              ่
 ชีวตงดงามได้ ชมฉํ่าและชื่นใจ
     ิ              ุ่

 ครู คือ เรื อจ้ าง คอยรับและไปส่งลูกศิษย์สจดหมายปลายทางทีปรารถนาด้ วยเรื อ คือความรู้ ฝ่ าคลืน ฝื นลมแรง ข้ าม
                                                      ู่ ุ            ่                                    ่
นํ ้าข้ ามมหาสมุทรถึงจุดหมายปลายทางแล้ ว ก็จอดเรื อรอคอยที่ทานํ ้า เพื่อทําหน้ าทีเ่ รื อจ้ างอย่างนี ้อีกวันแล้ ววันเล่าเดือน
                                                                    ่
แล้ วเดือนเล่า ปี แล้ วปี เล่า อย่างไม่เบื่อ ไม่บน อดทน อดกลัน บากบัน ทําหน้ าที่ครูอย่างไม่ร้ ูเหน็ดเหนื่อย นี่
                                                    ่             ้       ่
แหละ “ชีวิตครู”ชีวตครู  ิ
คิดดูชีวิตนี่หนา แต่ก่อนแต่ไรไหนมา โอ้ วาสนาไม่เคยเฟื่ องฟู มีบางครังกับยังต้ องโดนลบหลู่ ลูกศิษย์ที่คดล้ างครูมีอยู่
                                                                        ้                                    ิ
อักโข
 คิดดูชีวิตครูที่ทน อบรมบ่มความรู้จน ลูกศิษย์ได้ ผลต่อไปใหญ่โต เป็ นเจ้ าขุนมูลนายมากมายดูโก้ ครูเล่าอับเฉาดัง           ่
โค อยูนาสาโทต่อไปเหมือนเรื อจ้ างลอยคว้ างรับส่ง มีคนโดยสารมาลงแจวส่งถึงฝั่ งดังใจ ส่งแล้ วก็แจวไปรับใหม่ หมุนเวียน
            ่                                                                        ่
ไม่เปลียนแปรไป อาภัพกระไรนี่ชีวิตครูคดไปน่าน้ อยใจโชคชะตา อบรมบ่มความรู้มา ลูกศิษย์ลกหาไม่มาใฝ่ ดู ไปได้ ดีมงมี
          ่                                   ิ                                                   ู                          ั่
รุ่งเรื องเฟื่ องฟู ลูกศิษย์ใดคิดถึงครู ให้ จงเฟื่ องฟูรุ่งเรื อง

ครู คือ นายช่าง ทํางานช่างสร้ างลูกศิษย์และสังคม ด้ วยงานช่าง ๑๐ หมู่ ดังต่อไปนี ้
๑. ช่างแกะ
๒. ช่างชัก
๓. ช่างสลัก
๔. ช่างกลึง
๕. ช่างปั น
          ้
๖. ช่างวัด
๗. ช่างขัด
๘. ช่างตี
๙. ช่างสี
๑๐. ช่างวาด
ครูเป็ นนายช่าง คอยแกะ คอยชัก คอยสลัก คอยกลึง คอยปั น คอยวัด คอยตี คอยสี คอยวาด แต่งแต้ มตบแต่งลูกศิษย์ให้
                                                     ้
เป็ นคนมีคณ ๕ อย่าง คือ
            ุ
 ๑. คุณสมบัติ
 ๒. คุณวุฒิ
 ๓. คุณธรรม
 ๔. คุณภาพ
 ๕. คุณประโยชน์
 ครูจึงคือ “สถาปนิกและวิศวกรของสังคม” อย่างแท้ จริง


 ครู คือ แม่พิมพ์ ทําตัวเป็ นแบบอย่างทีดีของลูกศิษย์และของสังคม เพียบพร้ อมด้ วยวิชชาและจรณะ มีความรู้คู่
                                               ่
คุณธรรมสมบูรณ์ด้วย “วิชชาจรณสมบัติ”
 ครูเป็ นแม่พิมพ์ของชาติ ทํางานการพิมพ์ ๓ ประการ คือ
 ๑. พิมพ์ตน
 ๒. พิมพ์คน
 ๓. พิมพ์งาน
แม่พิมพ์ของชาติ
 แสงเรื องเรื องที่สองประเทืองอยูทวเมืองไทย คือแม่พิมพ์อนน้ อยใหญ่ โอ้ ครูไทยในแดนแหลมทอง เหนื่อยยากอย่างไรไม่
                    ่                   ่ ั่            ั
เคยบ่นไปให้ ใครเขามอง
ครูนนยังลําพองในเกียรติของตนเสมอมาที่ทํางานช่างสุดกันดารในป่ าดงไพร ถึงจะไกลก็เหมือนใกล้ เร่งรุดไปให้
       ั้
ทันเวลา กลับบ้ านไม่ทน บางวันต้ องไปอาศัย
                           ั
หลวงตา ครอบครัวคอยท่าไม่ร้ ูวาไปอยูไหนถึงโรงเรี ยนก็เจียนจะสายจวนได้ เวลา เห็นศิษย์รออยูพร้ อมหน้ า ต้ องรี บมาทํา
                                      ่      ่                                                 ่
การสอน ไม่มีเวลาที่จะได้ มาหยุดพอ
พักผ่อน โรงเรี ยนในดงป่ าดอน ให้ โหยอ่อนสะท้ อนอุราชื่อของครูฟังดูก็หรูชวนชื่นใจ งานที่ทําก็ยิ่งใหญ่ สร้ างชาติไทยให้
วัฒนา ฐานะของครูใครใครก็ร้ ูวาด้ อย ่
หนักหนา ยังสู้ทนอุตส่าห์สงสอนศิษย์มาเป็ นหลายปี นี่แหละครูทให้ ความรู้อยูทวเมืองไทย หวังสิงเดียวคือขอให้ เด็กของ
                             ั่                               ี่            ่ ั่             ่
ไทยในพื ้นธานี ได้ มีความรู้เพื่อช่วยเชิดชู
ไทยให้ ผองศรี ครูก็ภมใจที่สมความเหนื่อยยากตรากตรํามา
          ่            ู ิ
ครูสอนอย่างไร ทําได้ อย่างนัน   ้
(ยถาวาที ตถาการี)
   สังสอนคนอื่นอย่างไรบ้ าง
     ่
   ครูควรสร้ างตนเหมือนที่เตือนเขา
   พึงฝึ กตนให้ ดีก่อนที่เรา
   ตนนี ้เล่า…ฝึ กยากลําบากจัง
ครูทําอย่างไร สอนได้ อย่างนัน     ้
(ยถาการี ตถาวาที)
วางตนไว้ ในความดีงามก่อน
    จึงค่อยสอนใครใครในภายหลัง
    เป็ นครูคนขวนขวายหมายระวัง
    ไม่พลาดพลังเศร้ าหมองเรื่ องของตน
                ้
หน้ าที่ของครู
หน้ าที่ของครู คือ ภารกิจในความรับผิดชอบของครู ซึงครูจกต้ องคอยเลี ้ยงดู เอาใจใส่ดแล รับเป็ นภาระ ดุจ “ภริ ยาของ
                                                           ่ ั                              ู
ตน”
ภาระ แปลว่า สิงที่หนัก
                  ่
ภริ ยา แปลว่า บุคคลที่ต้องเลี ้ยงดู
ดังนัน หน้ าที่ของครูจึงเป็ นสิงที่หนักและจักต้ องเลี ้ยงดูทอดทิ ้งไม่ได้ ดุจภรรยาและลูกน้ อยฉะนัน
       ้                       ่                                                                 ้
บุคคลผู้เป็ นครูควรหมันดูแลรักษาสุขภาพ “ใบหน้ า” ของตนอยูเ่ สมอ ได้ แก่ หน้ า ๓ หน้ า ต่อไปนี ้ คือ
                       ่
๑. หน้ านอก บอกความสดใส
๒. หน้ าใน บอกความดี
๓. หน้ าที่ บอกความสามารถ

“การศึกษาเป็ นเรื่ องใหญ่และสําคัญยิ่งของมนุษย์ คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้ รับการสังสอนจากบิดามารดาอันเป็ นความ
                                                                                         ่
รู้เบื ้องต้ นเมื่อเจริ ญเติบโตขึ ้นก็เป็ นหน้ าที่ของครูและอาจารย์ สังสอนให้ ได้ รับวิชาความรู้สงและอบรมจิตใจให้ ถึง
                                                                      ่                          ู
พร้ อมด้ วยคุณธรรมเพื่อจะได้ เป็ นพลเมืองดีของชาติสบต่อไป งานของคนที่เป็ นครูจึงเป็ นงานที่สาคัญยิ่ง ท่านทังหลา
                                                             ื                                        ํ             ้
ยซึงจะออกไปทําหน้ าที่ครูจะต้ องตังมันอยูในหลักศีลธรรม และพยายามถ่ายทอดวิชาความรู้แก่เด็กให้ ดีที่สดทีจะทําได้
     ่                                      ้ ่ ่                                                              ุ ่
นอกจากนี ้ จงวางตนให้ สมกับที่เป็ นครู ให้ นกเรี ยนมีความเคารพนับถือ และเป็ นที่เลือมใสไว้ วางใจของผู้ปกครองนักเรี ยน
                                                      ั                                     ่
ด้ วย”
พระบรมราโชวาท
๑๓ ธันวาคม ๒๕๐๕

หน้ าที่มีคณประโยชน์ ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้
           ุ
๑. สร้ างความรัก (ปิ ยะ)
๒. สร้ างความเคารพ (คุรุ)
๓. สร้ างที่พงที่ระลึก (สรณียะ)
             ึ่
๔. ไม่ก่อความแตกแยก (อวิคคหะ)ล
๕. ไม่เกิดการทะเลาะโต้ เถียง (อวิวาทะ)ล
๖. สร้ างความเสมอภาคสมัครสมาน (สามัคคี)
๗. รวมกันเป็ นหนึงเดียว (เอกีภาพ)
                   ่

หากครูหรื อบุคคลที่มีหน้ าที่ไม่ปฏิบติหน้ าที่ ละเว้ นหน้ าที่ หือหลีกเลียงหน้ าที่แล้ ว ย่อมก่อให้ เกิด “โทษของการไม่ปฏิบติ
                                    ั                                    ่                                                ั
หน้ าที่” ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้
๑. เป็ นคนอัปปรี ย์นาเกลียด (อัปปิ ยะ)
                    ่
๒. ไม่มีคนเคารพนับถือ (อคารวะ)
๓. เป็ นคนไร้ ที่พง พึงไม่ได้ ไม่มีใครคิดถึง (อสรณียะ)
                  ึ่ ่
๔. ก่อความแตกแยก (วิคคหะ)
๕. ทะเลาะวิวาท (วิวาทะ)
๖. ขาดความเสมอภาค ไม่สมัครสมาน (อสมัคคะ)
๗. รวมคน รวมงานเป็ นหนึงไม่ได้ (อเนกีภาพ)
                              ่
คนที่ไม่ปฏิบติหน้ าที่ คือ คนไม่รักษาหน้ า คนเสียหน้ า คนไม่มีหน้ า ถือได้ วาเป็ น “คนพิการ” ประเภทหนึงซึงเป็ นคน
             ั                                                              ่                         ่ ่
พิการที่มีอนตรายต่อสังคมมากทีสด
           ั                      ่ ุ
ยิ่งกว่าคนพิการตัวจริ ง เสียงจริ งเป็ นร้ อยเท่าทวีคณ
                                                    ู


หลักสูตรของครู
 หลักสูตรของครู คือ กระบวนการเรี ยนการสอนของครูประกอบด้ วยองค์ความรู้ แรงจูงใจให้ ร้ ู การปฏิบติ การ
                                                                                              ั
วัดผล และการขยายผลแห่งการ
เรี ยนรู้นน สูลกศิษย์และสูสงคม
          ั้ ่ ู          ่ ั
 หลักสูตรของครู ประกอบด้ วย กระบวนการเรี ยนการสอนดังต่อไปนี ้
๑. เตรี ยมการสอน
 ๑. เตรี ยมการสอน (อาวาสสัปปายะ)
 ๒. เตรี ยมสืออุปกรณ์การสอน (อาหารสัปปายะ)
                ่
 ๓. เตรี ยมคนสอน (ปุคคลสัปปายะ)
 ๔. เตรี ยมเรื่ องสอน (ธัมมสัปปายะ)
 ๕. เตรี ยมกิจกรรม (อิริยาปถสัปปายะ)
 ๖. เตรี ยมสิงแวดล้ อม (อุตสปปายะ)
              ่               ุ ั
 ๗. เตรี ยมชุมชน (โคจรสัปปายะ)

๒. หลักการสอน
๑. สอนให้ ร้ ูจก เรี ยกว่า ปริ ยติ
                ั                 ั
๒. สอนให้ ร้ ูจริ ง เรี ยกว่า ปฏิบติั
๓. สอนให้ ร้ ูแจ้ ง เรี ยกว่า ปฏิเวธ
๓. กลยุทธการสอน
๑. ปราบแล้ วสอน เรี ยกว่า อิทธิปาฏิหาริ ย์
๒. ปลุกแล้ วสอน เรี ยกว่า อาเทสนาปาฏิหาริ ย์
๓. ปลอบประโลมสอน เรี ยกว่า อนุสาสนีปาฏิหาริ ย์
๔. วิธีการสอน
๑. ชี ้หลัก ด้ วยวิชาการ (สันทัสสนา)
๒. ชักชวน ด้ วยกิจกรรม (สมาทปนา)
๓. ปลุกใจ ด้ วยเกม (สมุตเตชนา)
 ๔. ให้ เพลิน ด้ วยเพลง (สัมปหังสนา)
๕. ผลสําเร็ จของการสอน คือ การที่ลกศิษย์ได้ รับ ปริ ญญา ๓ ใบ ดังนี ้
                                           ู
 ๑. รู้ดี เรี ยกว่า ญาตปริ ญญา
 ๒. มีเหตุผล เรี ยกว่า ตีรณปริ ญญา
 ๓. หลุดพ้ นอวิชชา เรี ยกว่า ปหานปริ ญญา
หากครูดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรทีกล่าวมานี ้ย่อมสามารถพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนา
                  ํ                                  ่
บ้ านเมืองได้ อย่างดียิ่ง โดยไม่ต้องสงสัยเลย
๖. สือการสอน
          ่
 สือการสอนที่ดีที ๒ ประเภท คือ
    ่
 ๑. สือภายใน ได้ แก่ ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน ๖
            ่
 ๒. สือภายนอก ได้ แก่ รูป เสียง กลิน รส ผัสสะ และอารมณ์ เรี ยกว่าอายตนะภายนอก ๖
              ่                          ่
 สือภายนอก ยังแบ่งออกไปอีกเป็ น ๒ ชนิด คือ สือธรรมชาติ ได้ แก่ คน สัตว์ พืช วัตถุ สิงแวดล้ อมที่เป็ นธรรมชาติทก
      ่                                                ่                            ่                         ุ
อย่าง และ
สือประดิษฐ์ ได้ แก่ สิงที่เราสร้ างขึ ้น จัดทําขึ ้น
  ่                         ่
 ครูที่ดี ครูที่มีความสามารถ ครูที่ฉลาด อย่าพลาดสือการสอนเหล่านี ้
                                                         ่
๗. ลูกศิษย์
 ลูกศิษย์ที่ครูสอน มี ๔ ประเภท คือ
 ๑. หัวไวใจสู้ เรี ยกว่า พวกบัวพ้ นนํ ้า
        (อุคฆติตญํู)    ั
 ๒. รอดูจงหวะ เรี ยกว่า พวกบัวปริ่ มนํ ้า
                    ั
        (วิปจิตญํู)   ั
 ๓. พอจะแนะนํา เรี ยกว่า พวกบัวใต้ นํ ้า
        (เนยยะ)
 ๔. ตํ่าต้ อยติดตม เรี ยกว่า พวกบัวติดตม
        (ปทปรมะ)
 ตามหลักพระพุทธศาสนาบอกว่า สอนได้ ทกประเภทครูอย่าท้ อนะ…
                                                ุ
หลักสูตรการสร้ างคน
มีหลักสูตรที่ดีมีครูสอน
ดับโลกร้ อนด้ วยศีลธรรมนําคนสู้
เทพเต็มบ้ าน มาไม่ม…ดีเฟื่ องฟู
                          ี
ศิษย์กบครูคือแบบอย่างการสร้ างคน
                ั
งามอย่างครู
 บุคคลผู้ได้ รับการเคารพยกย่องและนับถือว่า “ครู” ย่อมมีความงามสมกับความเป็ นครู ในฐานะที่เป็ น คุรุฐานีย
บุคคล โดยแท้
งามอย่างครู ประกอบด้ วย “ความงาม” ๔ อย่าง ดังต่อไปนี ้

ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยรูปร่างหน้ าตา กิริยามารยาท ความสะอาด มีระเบียบวินยทางร่างกายที่ดี ใครได้ พบเห็นก็เป็ น
                                                                                ั
มงคลทังแก่ตนและคนอื่น
        ้
ในขณะที่กําลังปฏิบติหน้ าที่ของครู ครูต้องระมัดระวังตังใจ อย่าให้ เกิด “กายภาษา” (Body Language) ในท่าที่ตด
                    ั                                 ้                                                   ิ
ลบ ดังต่อไปนี ้
๑. คนขี ้ยา
๒. ชิงหาหลัก
๓. ไม้ ปักรัว
            ้
๔. ชะมดติดจัน   ่
๕. กังหันต้ องลม
๖. ชมท้ องฟ้ า
๗. ท้ าชกมวย
๘. ช่วยรถติดหล่ม
๙. ก้ ม ๆ เงย ๆ
ครูต้องพยายามระมัดระวังปองกันตนเองไม่ให้ เกิด “ขยะท่าทาง” ดังต่อไปนี ้
                           ้
๑. แลบ
๒. ล้ วง
๓. แคะ
๔. แกะ
๕. เกา
๖. หาว
๗. โยก
๘. ถอน
๙. ค้ อน
๑๐.กะพริ บ
ครูต้องหมัน “บริ หารกาย” ให้ มีสขภาพสมบูรณ์แข็งแรงอยูเ่ สมอ ต้ องรู้จก “แต่งกาย” ให้ สวยงามสมกับความเป็ นครู ใน
          ่                     ุ                                     ั
ความหมายสูงสุด คือ ไม่ประกอบวจีทจริต นันเอง
                                      ุ      ่


ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยเสียง ประกอบด้ วยความงามในการพูด บอก กล่าว ด้ วยเสียงทีดีที่ประเสริ ฐ ดุจ “เสียงของ
                                                                                 ่
พรหม” ๘ ลักษณะ ดังต่อไปนี ้
๑. ไพเราะ (วิสสัฏโฐ)
๒. ชัดเจน (วิญเญยโย)
๓. นุมนวล (มัญชุ)
     ่
๔. ชวนฟั ง (สวนีโย)
 ๕. กลมกล่อม (พินทุ)
 ๖. ไม่แตกพร่า (อวิสารี )
 ๗. ลึกซึ ้ง (คัมภีโร)
 ๘. ก้ องกังวาล (นีนนาที)
 ครูต้องพยายามฝึ กฝนอบรมตน หมัน “บริ หารวาจา” ให้ มความงาม ทัง้ ๘ อย่าง ให้ ได้ ต้ องรู้จก “แต่งเสียง” ให้ สวยงามสม
                              ่                    ี                                     ั
กับความเป็ นครู
ในความหมายสูงสุด คือ ไม่ประกอบวจีทจริ ต นันเอง
                                     ุ    ่

ครู คือบุคคลผู้งดงามด้ วยความประพฤติ ปฏิบติขดเกลาตนเอง ตังมันอยูในความดีงามสมกับความเป็ นครูอยูเ่ สมอ
                                            ั ั             ้ ่ ่
ครูต้องขยันหมันพยายามลด ละ เลิกความประพฤติที่ติดลบ น่ารังเกียจ ๙ ประการ ดังต่อไปนี ้
                 ่
๑. โดดเดี่ยว
๒. ดื ้อยา
๓. กบในกะลา
๔. นํ ้าชาล้ นถ้ วย
๕. ป่ วยไม่รักษา
๖. แสวงหาแต่ประโยชน์ตน
๗. มองคนในแง่ร้าย
๘. จิตใจไม่สะอาด
๙. ตกเป็ นทาสอบายมุข
ครูต้องพยายามฝึ กฝนอบรมตนเองด้ วยการ “บริ หารใจ” ให้ มีความงามอยูเ่ สมอ ต้ องรู้จก “แต่งใจ” ให้ งดงามสมกับ
                                                                                 ั
ความเป็ นครู ด้ วยความประพฤติที่บวก น่ารัก ๑๑ ประการ ต่อไปนี ้
๑. มนุษย์สมพันธ์ดี
              ั
๒. รับผิดชอบต่อหน้ าที่
๓. เชื่อมัน
          ่
๔. ความคิดสร้ างสรรค์
๕. แก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าได้
๖. อดทน
๗. เสียสละ
๘. อารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส
๙. มีความรักให้
๑๐.ซื่อสัตย์
๑๑.รับฟั งความคิดเห็น
โดยความหมายสูงสุด ก็คือ ไม่ประกอบมโนทุจริ ต นันเอง
                                                ่
ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยความรู้ ความสามารถ ความเฉลียวฉลาด เป็ นนักปราชญ์ เปี่ ยมด้ วยสติปัญญา ครูที่ดีคือครู
ที่มีความงามด้ วย “สัปปุริสธรรม”
 อันเป็ นองค์ความรู้ ๗ ประการ คือ
 ๑. รู้เหตุ (ธํมมัญํุตา)
 ๒. รู้ผล (อัตถัญํุตา)
 ๓. รู้ตน (อัตตัญํุตา)
 ๔. รู้ประมาณ (มัตตัญํุตา)
 ๕. รู้กาลเวลา (กาลัญํุตา)
 ๖. รู้คน (ปุคคลัญํุตา)
 ๗. รู้ชมชน (ปริ สญํุตา)
          ุ         ั
งามอย่างครู โดยสรุป คือ
รูปร่างหน้ าตา
วาจาต้ องใจ
ภายในยอดเยี่ยม
เปี่ ยมด้ วยความรู้

อนาคตเด็กไทยในมือครู
 คอยครู
ทําไมครูที่นี่มีน้อยนัก
เด็กเด็กมักถามถึงครูอยูเ่ สมอ
ครูคนใหม่อยูไหนกันเล่าเออ
                ่
เด็กชะเง้ อคอยครูอยูทกวัน
                       ่ ุ
 ครูมากมายมีไหมในวันนี ้
 ที่ยินดีอยูบ้านป่ าอาสาสอน
            ่
 ร่วมทุกข์สขกับเด็กในดงดอน
              ุ
 เอื ้ออาทรสอนสังอย่างตังใจ
                   ่       ้

ครูไปแล้ วทําไมไม่ยอมกลับ
หรื อใครจับครุไว้ ที่ไหนหนอ
เด็กเพียรถามหน้ าเศร้ านังเฝ้ ารอ
                          ่
นํ ้าตาคลอ…ที่น…ไม่มีครู”
                  ี่

ถิ่นไทยในป่ ากว้ าง ห่างไกล
แสงวัฒนธรรมใด ส่องบ้ าง
เห็นเทียนรํ าไร เล่มหนึง
                       ่
ครูนนแหละอาจสร้ าง เสกให้ ชชวาล ฯ
     ั้                    ั

 มือครู คือ มือนายช่าง ผู้สร้ างมนุษย์ สร้ างสังคม และสร้ างโลก เป็ นมือทีซื่อตรง และเป็ นมือที่เสียสละ เพื่อสร้ างลูกศิษย์
                                                                          ่
ให้ มีชีวิตทีเ่ หมาะสม
 ลูกศิษย์ เจริ ญรุ่งเรื องด้ วยมือครูซงเป็ นมือนายช่าง ๑๐ มือดังต่อไปนี ้
                                      ึ่
 ๑. มือแกะ
 ๒. มือสลัก
 ๓. มือชัก
 ๔. มือกลึง
 ๕. มือปั น ้
 ๖. มือวัด
 ๗. มือขัด
 ๘. มือตี
 ๙. มือสี
 ๑๐.มือวาด

มือแกะ ครูจะประคับประคองลูกศิษย์ด้วยความทะนุถนอม ค่อย ๆ แกะชีวตลูกศิษย์ตามแบบทีเ่ ขียนไว้ ด้ วยความ
                                                                         ิ
ระมัดระวังอย่างยิง   ่
มือสลัก ครุจะค่อย ๆสลักลายต่าง ๆสร้ างชีวิตลูกศิษย์อย่างสวยงาม ด้ วยลวดลายความรู้และความประพฤติที่ดี
มือชัก ครุจะคอยชักนําลูกศิษย์ไปในทางทีดี พร้ อมทังชักกระตุกเตือนสติให้ หลีกหนีความชัว สิงที่มีโทษต่าง ๆ
                                             ่       ่                                   ่ ่
มือกลึง ครูจะคอยกลึงชีวตลูกศิษย์ให้ เกลี ้ยงเกลา กลมกลืนไร้ เสี ้ยนหนาม ไร้ ความหยาบกระด้ าง
                             ิ
มือปั น ครูจะค่อย ๆปั นแต่งชีวิตลูกศิษย์อย่างทะนุถนอมให้ เป็ นรูปปั นตามที่ประสงค์ ระมัดระวังไม่ให้ แตก ไม่ให้ บบสลาย
      ้                ้                                            ้                                           ุ
ดังปฎิมากรชิ ้นเอก
มือวัด ครูเป็ นผู้วดระดับชีวตของลูกศิษย์ วัดความเจริ ญก้ าวหน้ า วัดความรู้ และความเป็ นคนอยูเ่ สมอ
                   ั             ิ
มือขัด ครูจะคอยขัดเกลาชีวตของลูกศิษย์ให้ งดงาม เป็ นเงาวาววับ เปล่งประกายเจิดจ้ าโดดเด่น
                                   ิ
มือตี ครูจะคอยขัดเกลาชีวตของลูกศิษย์ไม่ให้ หลงไปในทางชัว ตีกรอบชีวิตลูกศิษย์ให้ อยูในครรลองที่ดีงาม และตีกน
                               ิ                            ่                          ่                          ั
อันตรายที่จะเกิดขึ ้นแก่ลกศิษย์
                           ู
ดุจช่างหม้ อตบแต่งหม้ อดินของตน
มือสี ครุจะคอยแต่งแต้ มสีชีวิตให้ แก่ลกศิษย์ให้ งดงามด้ วยความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ง ด้ วยสีที่งดงามที่ดีที่สด
                                      ู                                                                               ุ
ดุจวิจิตรศิลปชันเยี่ยม
              ์ ้
มือวาด ครูเป็ นผู้วาดชีวตของลูกศิษย์ ให้ เป็ นภาพที่ตนปรารถนา เป็ นภาพที่สวยงาม มีคณค่าและความสําคัญ ดุจจิตรกร
                         ิ                                                           ุ
เอกของโลก
มือครู คือ มือพิมพ์
ครูจะพิมพ์ชีวิตของลูกศิษย์เป็ นอย่างไรขึ ้นอยูกบครูซงเป็ นแม่พิมพ์ หากแม่พิมพ์ดี ลูกพิมพ์ก็ดีด้วย หากแม่พมพ์เลวลูก
                                              ่ ั   ึ่                                                   ิ
พิมพ์ก็เลวเช่นเดียวกัน

มือครู คือ หัตถาครองพิภพ
อนาคตของเด็กและเยาวชนทุกคนที่เกิดมาล้ วนอยูใน มือครู ขึ ้นอยูกบครูวาจะสร้ าง จะรักษา หรื อจะทําลายเพราะมือครู
                                           ่                 ่ ั   ่
คือ หัตภาครองพิภพ จะบวกหรื อ
ลบชีวิตลูกศิษย์ได้ ทงนัน
                    ั้ ้

แม่ปสอนลูกปู
      ู
แม่ปสอนลูกปูดอย่างแม่
        ู         ู
ทังที่แท้ แม่เดินเกเที่ยวเฉไฉ
  ้
ลูกจะเดินตรงทางถูกได้ อย่างไร
จะสอนใครควรเริ่ มต้ นด้ วยตนเอง !

ครูสอนฉัน
 ครูสอนฉันว่าบุหรี่ มีโทษมาก แต่ที่ปากครูมีบหรี่ อยู่
                                                 ุ
และที่เห็นเลาเลากระเป๋ าครู ซองบุหรี่ ที่ร้ ูครูเพิ่งซื ้อ
 ครูสอนฉันว่าสุราพาเกิดโรค ร่างกายโศกโทรมไปมิใช่หรื อ
แต่เช้ าเย็นเห็นครูแก้ วคูมือ แถมบางมื ้อหนักแท้ แผ่สบาย
                          ่
 ครูสอนฉันการพนันมันร้ างผลาญ ทังเงินบ้ านไร่นาพาฉิบหาย
                                      ้
ใครลองแล้ วหลงมันอันตราย แต่ให้ ตายเถอะวงไผ่นนไงครู        ั่
 ครูสอนฉันให้ ร้ ูจกรักสะอาด อย่างทิ ้งเศษกระดาษหมันกวาดถู
                   ั                                          ่
รอยเท้ าใครยําเดินเชิญผินดู
               ่                        รอยเท้ าครูเหยียบใหม่ ๆครูไม่เช็ด
 ครูสอนฉันให้ ร้ ูจกรักหน้ าที่ งานใดมีมอบหมายควรให้ เสร็ จ
                     ั
ถึงชัวโมงไม่เข้ าห้ องครูสองเพชร ใครจะเม็ดใหญ่กว่ากันให้ ฉนรอ
     ่                      ่                                   ั
 ในสิงที่ครูห้ามปรามว่าชัว ก็มีอยูในตัวครูหลายข้ อ
         ่                    ่     ่
คําสังสอนทุกอย่างงามละออ จะเชื่อก็แปลกใจไยครูทํา
       ่

เด็กถามครู
ทําไมครูชอบมาสาย
ทําไมครูชอบขายของผ่อน
ทําไมพ่อแง่แม่งอน
ทําไมไม่สอนตรงเวลา

ทําไมครูชอบแก่งแย่ง
ทําไมครูชอบแข่งกันสวย
ทําไมชอบอวดรํ่ ารวย
ทําไมเล่นหวย เล่นแชร์

ทําไมไม่ตรวจการบ้ าน
ทําไมทําการสอนแย่
ทําไมครูชอบรักแก
ทําไมเห็นแก่ตวจัง
             ั


ครูถามเด็ก
ทําไมครูถามไม่ตอบ
ทําไมไม่ชอบอ่านเขียน
ทําไมชอบหนีโรงเรี ยน
ทําไมไม่ชอบทําดี

ทําไมจึงชอบแกล้ งเพื่อน
ทําไมเสื ้อเปื อนป่ นปี ้
               ้
ทําไมไม่สามัคคี
ทําไมไม่ชอบตีตอกร   ่

 ทําไมไม่ทําการบ้ าน
 ทําไมดื ้อด้ านยามสอน
 ทําไมมาเรียนหลบนอน
 ทําไมครูสอนไม่จํา
(จากนักเรี ยนและครูโรงเรียนนกฮูกวิทยา)

ครู คือ สถาปนิกชันยอด้
 ครูจะบอกลูกศิษย์ให้ มีชีวิตที่ดีทสด มันคงที่สด มีคณภาพที่สด มีคณประโยชน์ที่สด ต่อสังคมและประเทศชาติครูหวังว่า
                                      ี่ ุ ่         ุ ุ          ุ ุ                 ุ
ลูกศิษย์คือผลงานการออกแบบทีดีที่สดของครู่ ุ
ครู คือ วิศวกรรมชันเยี่ยม
                   ้
ครูจะสร้ างลูกศิษย์ให้ เจริ ญรุ่งเรื อง ก้ าวหน้ า มันคง และมังคังที่สด ให้ ยงยืนยาวนาน ครูจะควบคุมการก่อสร้ างทังหมด
                                                      ่       ่ ่ ุ          ั่                                  ้
ด้ วยตัวครูเอง
หวังว่าสักวันหนึงผลงานการก่อสร้ างของครูชินนี ้จะเป็ น หนึงในสิงมหัศจรรย์ของโลก
                ่                                  ้            ่ ่

ครู คือ ผู้เจียระไนเพชร
 ครู คือ ผู้เจียระไนเพชร ลูกศิษย์เป็ นเพชรเม็ดงามที่สดที่ครูจะเจียรไน หวังว่า ครูคงเป็ นช่างเจียรไนที่ดีนะ และ
                                                     ุ
เช่นเดียวกัน เพชรที่
ครูจะเจียระไน คงจะเป็ น เพชรนํ ้าเอกทีเ่ ยี่ยมที่ดีที่สดในโลก
                                                       ุ
 มีคนเขาบอกว่า การเจียระไนเพชรนันมีหลายระดับฝี มือเพชรก็เช่นเดียวกัน มีทงยอดเยี่ยมและยอดแย่ ดังนี ้
                                       ้                                ั้
 ๑. ผู้เจียนระไนชันแย่ - เพชรชันแย่
                       ้         ้
ตโม ตมปรายโม
 ๒. ผู้เจียระไนชันแย่ - เพชรชันเยี่ยม
                 ้            ้
ตโม โชติปรายโน
 ๓. ผู้เจียระไนชันเยี่ยม - เพชรชันแย่
                   ้                 ้
โชติ ตมปรายโน
 ๔. ผู้เจียระไนชันยอด - เพชรชันเยี่ยม
                     ้             ้
โชติ โชติปรายโน
 หวังว่า ครูกบลูกศิษย์ทกคน คงจะเป็ นผู้เจียระไนชันเยี่ยมและเพชรชันยอดของกันและกันนะ
              ั          ุ                               ้       ้

ครูคือผู้ปลูกต้ นไม้
   ครู คือ ผู้ปลูกต้ นไม้ ต้ นไม้ ที่ควรปลูกมีหลายพันธุ์ หลายชนิด ดังต่อไปนี ้
๑. ไม้ ล้มลุก
๒. ไม้ ยืนต้ น
๓. ไม้ ดอก
๔. ไม้ ประดับ
๕. ไม้ ผล
ครูคิดไม่ตกว่า ครูจะปลูกไม้ ชนิดไหนและพันธุ์ใดดี หากครูเลือกได้ แต่ครูมีสทธิ์หรื อเปล่าที่จะเลือกคัดชนิดและพันธุ์ไม้
                                                                                   ิ
ด้ วยตัวครูเอง
ครูคิดว่าไม่มีสทธิหรอกนะ ถ้ าอย่างนัน ครูจะปลูกมันทังหมดนันแหละ
                  ิ                         ้             ้     ้
ต้ นไม้ ของครูคงจะมีคนสนใจบ้ างหรอก น่าจะขายได้ เพราะบางคนก็ชอบไม้ ดอก ไม้ ประดับ หรื อไม้ ผล ขึ ้นอยูกบว่า เขา่ ั
จะนําไปใช้ ประโยชน์อะไร
แต่หากให้ ครูเลือกทีจะปลูกจริง ๆแล้ ว ครูขอเลือกที่จะปลูก ไม้ ยนต้ น และ ไม้ ผล ก็แล้ วกันนะ เพราะอะไรหรื อก็เพราะ
                        ่                                         ื
ไม้ ยืนต้ น มีรากแก้ วและละต้ นทีแข็งแรง มีแก่ที่ดี มีเปลือก มีกระพี ้ มีกิ่ง มีก้าน สาขาเด่นสง่า มีใบ มีดอก และมีผลที่
                                        ่
สวยงาม ปลูกเพียง
ครังเดียวดูแลดี ๆ มีคณประโยชน์ตอเราตลอดชีวิตเลย
    ้                     ุ               ่
ไม้ ผล เก็บผลไว้ กินก็ได้ นําผลไปเพาะขยายพันธุ์นาไปปลูกใหม่ได้ อีก ผลเดียวต้ นเดียวงอกงามได้ เป็ นหลายร้ อยหลายพัน
                                                     ํ
ต้ น
และหลายล้ านผล
ครูอยากให้ ลกศิษย์ของครูทกคนเป็ น ไม้ ยืนต้ น และเป็ นไม้ ผล ครูจะปลูกไปทัวประเทศไทยเลย และทังโลกด้ วย
                ู               ุ                                                    ่                      ่
ครูไม่อยากให้ ลกศิษย์ของครูเป็ น ไม้ ดอก หรื อ ไม้ ประดับ หรื อไม้ ล้มลุก ที่หาแก่นสารสาระใด ๆไม่คอยจะได้ ดแลรักษา
                    ู                                                                                     ่        ู
ก็ยาก ปลูก
ตามฤดูกาล ลงทุนก็สง ตายก็งาย เสียเวลามากด้ วย
                            ู         ่
ต้ นไม้ ของครู
 นานมาแล้ ว ครูได้ ปลูกต้ นไม้ ไว้ ต้นหนึง เพื่อบังลมหนาวและคอยให้ ร่มเงา ปลูกไง้ เพื่อพวกเราทุก ๆคน
                                         ่
 ครูใช้ เหงื่อแทนนํ ้ารดลงไป เพื่อให้ ผลิดอกออกกผล ให้ เราทุก ๆคนเติบโตอย่างร่มเย็นในบ้ านเรา
 ผ่านมาแล้ วนันหลายปี ต้ นไม้ นนสูงใหญ่ ลมแรงเท่าไรก็บรรเทา ออกผลให้ เก็บกิน แตกใบให้ ร่มเงา คอยดูแลเราตลอดไป
                 ้                 ั้
 จวบวันนี ้ ใต้ เงาแห่งต้ นไม้ ต้นใหญ่ เราจะอยูจะคอยอาศัย แผ่ดนที่กว้ างไกล แต่ครุวาหัวใจของเรากว้ างกว่า
                                                  ่                ิ                   ่
 เราจะอยูตรงนี ้และยังอยู่ และจะอยูเ่ พื่อคอยรักษา จะรวมกันเข้ ามา และมีเพียงสัญญาในหัวใจ
 จากวันนี ้ สักหมื่นปี ต้ นไม่ที่ครูปลูก ต้ องสวย ต้ องงดงามและยิงใหญ่ สืบสานและติดตามจากความทีครูตงใจ เหงื่อเรา
                                                                 ่                                   ่ ั้
จะเทไป
ให้ ต้นไม้ ของเรายังงดงาม…….ยังงดงาม
(จากแบบเพลง ต้ นไม้ ของพ่อ )

ต้ นไม้ ของครู ครูเคยฝั นเอาไว้ วา ครูจะปลูกต้ นไม้ ที่มี “คุณสมบัตของต้ นไม้ ที่ด” ๑๐ ประการ ดังต่อไปนี ้
                                 ่                                 ิ              ี

๑. มีรากกตัญํูกตเวที
๒. มีแก่นหิริโอตตัปปะ
๓. มีเมล็ดสัจจะ
๔. มีเปลือกทมะ
๕. มีลาต้ นขันติ
        ํ
๖. มีใบจาคะ
๗. มีสะเก็ดทาน
๘. มีดอกปิ ยะวาจา
๙. มีกิ่งอัตถจริยา
๑๐.มีผลสมานัตตตา

ต้ นยอ กับ กอไผ่
 ที่โรงเรี ยนของครู ครูได้ ปลูกต้ นไม้ สาคัญอยู่ ๒ ต้ น คือ ต้ นยอ กับ กอไผ่ ไว้ เป็ น “เพื่อนคูคิด มิตรคูคย”
                                        ํ                                                       ่         ่ ุ
 ต้ นไม้ ทงสอง เป็ นต้ นไม้ ที่ดมากเลย มันคอยช่วยครูบริ หารงานโรงเรี ยนอยูเสมอยามทีครูคิดอะไรไม่ออกก็บอกกับมันจึงทํา
            ั้                  ี                                                        ่
ให้
ครูประสบความสําเร็จอตลอดมา
 ครูให้ ความนับถือต้ นไม้ ทงสองต้ นนี ้มาก อยากจะยกย่องบูชามันให้ เป็ น “ครูของครู”
                             ั้

ไม้ เรี ยวของครู

ไม้ เรี ยวหลวงตาปรารถนาให้ ความฉลาด
กินข้ าวก้ นบาตรก็อาจเป็ นรัฐมนตรี
อย่าไปถือสา เมื่อตอนหลวงตาจู้จี ้
เด็กวัดถมไปด้ วยดี ด้ วยบารมีหลวงตา
ไม้ เรี ยวของครูให้ ความรู้และความสามารถ
 มือครูสะอาดสร้ างชาติให้ สวยโสภา
 ดุจโคมสวรรค์สองชีวตอันเจิดจ้ า
                    ่ ิ
 ศิษย์ครูได้ ร้ ูวชาด้ วยความเมตตาของครู
                  ิ
ไม้ เรี ยวอันน้ อยเท่านัน ้
นายพลนายพันจึงมียศอันโก้ หรู
                        ่
จากตัว ก.ไก่ เรื่ อยไปถึง เอ ไอ ยู
พระคุณของครูยงใหญ่ดจดังแผ่นฟ้ า
                     ิ่     ุ
 ไม้ เรี ยวของครูให้ ความรู้และความสามารถ
 มือครูสะอาดสร้ างชาติให้ พฒนาั
 อย่าจมเรื อน้ อยที่คอยรับคนข้ ามท่า
 ไม่มี ครูสอน ก.กา จะได้ ปริ ญญาหรื อไร

 ที่สวนหย่อมและสนามหญ้ าบริ เวณรอบ ๆ โรงเรี ยน ครูก็ได้ ปลูกหญ้ าแพรกแซกไปทัวสนาม ยังมีต้นดอกมะเขือ และดอก
                                                                                      ่
เข็มแดงแซมแซง
ไปด้ วย ช่างสวยงามจริ ง ๆ
 ต้ นไม้ เหล่านี ้ แม้ มนจะเป็ นแค่ไม้ ดอกไม้ ประดับ มันก็ทําให้ โรงเรี ยนของครูสวยงามและมีความหมายทีดี
                        ั                                                                               ่
 ครูให้ นกเรี ยนช่วยกันทําแปลง นาสาธิตอยูแปลงหนึงข้ างหลังอาคารเรี ยน เอาไว้ ให้ นกเรี ยนปลูกข้ าว เพราะบ้ านเราเป็ น
          ั                                     ่       ่                               ั
ประเทศเกษตรกรรม
   พอถึงฤดูเก็บเกี่ยว เกี่ยวข้ าวแล้ ว เราก็นาข้ าวเปลือกมาคัวเป็ น “ข้ าวตอก” แจกกันกินอย่างเอร็ ดอร่อยดี
                                              ํ                  ่
 ครูคิดว่า หากลูกศิษย์ของครูทกคน เป็ นดังหญ้ าแพรก ข้ าวตอก ดอกมะเขือ และดอกเข็มแดง คงจะดีไม่น้อยเลย ครู
                                    ุ             ่
คงจะไม่เหนื่อยเปล่า……….
โชคดีที่เชื่อครู
 อยูบ้านเป็ นคนดีต้องทําดีพอแม่สอนมา อีกลุงปาน้ าอาสังสอนมาต้ องสนใจ ใครจะชวนหรื อมายัวยุ จงกลัว หนูจงอย่า
     ่                          ่                     ้        ่                                  ่
เชื่อใคร เพราะหนูยง       ั
เป็ นเด็ก อนาคตสดใส ถ้ ามีรอยด่างบนเส้ นทางคงมืดมน
 เมื่อหนูมาโรงเรี ยน ต้ องพากเพียรทุกวิธี เจอะแต่ครูดีดีทานหวังดีกบหนูทกคน มีอะไรที่ยงไม่ร้ ู คุณครูทานสอนท่าน
                                                             ่           ั    ุ            ั              ่
ฝึ กฝน หนูจะสบาย
ไม่ต้องกลัวอับจน ไม่ต้องหมองหม่น ถ้ าหนูทกคนเชื่อคุณครู
                                                    ุ
 [อยากให้ ครูงามเด่นเช่นอาทิตย์
 ส่องชีวิตของมวลชนคนทุกถิ่น
 เป็ นความหวังพลังขวัญจรรโลงจินต์
 ให้ ชีวินพัฒนาเติบกล้ าไกล
 เพราะครูเป็ นพลังสังคมนี ้
 สร้ างชีวีพฒนาเติบกล้ าได้
             ั
 มีคณครูคโลกาฟ้ าอําไพ
       ุ       ู่
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู
ความหมายของครู

More Related Content

What's hot

ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 

What's hot (20)

กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 

Viewers also liked

บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์niralai
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการniralai
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธniralai
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอดniralai
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูniralai
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์Patchara Kornvanich
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 

Viewers also liked (20)

บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการ
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอด
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครู
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 

Similar to ความหมายของครู

บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3niralai
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5niralai
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูniralai
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยAon Wallapa
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครูkashinova
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวSineenat Kaewlay
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 

Similar to ความหมายของครู (20)

บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรมพิธีปิดค่ายจริยธรรม
พิธีปิดค่ายจริยธรรม
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 

More from niralai

332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่นniralai
 

More from niralai (20)

332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น
 

ความหมายของครู

  • 1.
  • 2. ครู คําเกียวสันสัน ้ ้ แต่มีความหมาย ทุกคนเกิดมา ทังหญิงทังชาย ้ ้ รู้ดีวาหมาย ่ ถึงใครคนหนึง ่ คนที่คอยพูด คนที่คอยแนะ คนที่คอยแคะ คนที่คอยขน คนให้ ความรู้ คนกู้ปวงชน คนที่รักคน คนนี ้แหละ “ครู” ขอกราบแทบเท้ า น้ อมเศียรน้ อมเกล้ า ไม่ลบไม่หลู่ เคารพบูชา ยกย่องเชิดชู กราบบูชาครู ทุกคน…ทุกคน ด้ วยความเคารพอย่างสูง จาก…ศิษย์คนหนึง่ วิสาขบูชา ๒๕๔๑ ธาตุแท้ ของครู ธาตุแท้ ของครู คือ สภาพที่ทรงไว้ ซงความเป็ นครู มี ๓ ธาตุดงต่อไปนี ้ ึ่ ั ๑. ครุ ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงความหนัก ึ่ ๒. คร ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงการยกย่อง ึ่ ๓. คริ ธาตุ ได้ แก่ สภาพที่ทรงไว้ ซงเสียง ึ่ ครู คือบุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังต่อไปนี ้ ๑. สัตถุคารวตา ได้ แก่ หนักในพระศาสดา ครู คือ บุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังต่อไปนี ้ (๑) สัตถุคารวตา ได้ แก่ หนักในพระศาสดา ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในพระบรมศาสดาของศาสนาที่ ตนนับถือด้ วยความเคารพสักการะบูชาอย่างยิ่ง ทังด้ วยกาย ด้ วยวาจาและด้ วยใจ เพราะพระบรมศาสดาของทุกศาสนา ้ ทรงดํารงพระองค์เป็ นคุรุฐานียบุคคล คือ บุคคลผู้เป็ นที่ตงแห่งความเคารพสูงสุดในความหมายโดยรวม ก็คือ บุคคลผู้ ั้
  • 3. เป็ นครูไม่วาจะนับถือพระศาสนาใดนอกจากจะเคารพบูชาบูชาพระศาสดาของตนแล้ ว ย่อมไม่ดหมินเกลียดชังยุยงส่งเสริ ม ่ ู ่ ให้ เกิดการดูหมิ่นเกลียดชังพระบรมศาสดาของศาสนาอื่น จนก่อให้ เกิดความแตกแยกเกลียดชังกันระหว่างศาสนา (๒) ธัมมคารวตา ได้ แก่ หนักในพระธรรม ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญเอาใจใส่ในการศึกษาปฏิบติธรรม ั สร้ างสรรค์ความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ง ตามหลักพระศาสนาที่ตนนับถือ ด้ วยการน้ อมนําพระธรรมคําสัง ่ สอนมาประพฤติปฏิบตในชีวิตประจําวันยึดมันในความรู้ความงามความดีและความจริง ตามหลักธรรมของพระศาสนา ัิ ่ อย่างสมําเสมอ ่ (๓) สังฆคารวตา ได้ แก่ หนักในพระสงฆ์ ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในพระสงฆ์หรื อนักบวช นักสอน ศาสนา นักเผยแผ่ธรรมในพระศาสนาที่ตนนับถือ ด้ วยการเข้ าไปหา ปรึกษา สนทนาธรรม และบํารุงด้ วยปั จจัย ๔ ตาม สมควรความหนัก ๓ ประการข้ างต้ นนี ้ สําหรับครูผ้ เู ป็ นพุทธศาสนิกชนแล้ ว ก็คือ การแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญของ“พระรัตนตรัย” นันเอง ่ (๔) สิกขาคารวตา ได้ แก่ หนักในการศึกษา ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่นจริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญเอาใจใส่ในการศึกษาอย่างเต็มตัว เต็มใจ เต็มความรู้เต็มความสามารถ เต็มกําลัง และเต็มสติปัญญาด้ วยการค้ นคว้ า ศึกษา วิเคราะห์และวิจย และพัฒนา ั การศึกษา เพื่อพัฒนาตน พัฒนาคนและพัฒนางานอย่างดีที่สด ุ (๕) อัปปมาทคารวตา ได้ แก่ หนักในความไม่ประมาท ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในความไม่ประมาท คือ ไม่ พลังเผลอ เลินเล่อ มัวเมาในลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข ไม่ประมาทในอาชีพครู และในความเป็ นครูของตน หมันดูแลรักษา ้ ่ ระเบียบวินยและจรรยาบรรณของครูอย่างเคร่งครัด ระมัดระวังตังใจอย่าให้ เกิดสภาพที่เรี ยกว่า “ภูมิค้ มกันบกพร่อง” ใน ั ้ ุ ความเป็ นครูของตน (๖) ปฏิสนถารคารวตา ได้ แก่ หนักในการต้ อนรับ ั ครูต้องแสดงความเคารพอย่างหนักแน่น จริ งจังมองเห็นคุณค่าและความสําคัญ เอาใจใส่ในการต้ อนรับหรื อการ ปฏิสนถาร ได้ แก่การสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบลูกศิษย์ ความสัมพันธ์ที่ดีกบพ่อแม่ ผู้ปกครองของลูกศิษย์ ความสัมพันธ์ ั ั ั ที่ดีกบชุมชนและสังคมด้ วยการปฏิสนถาร ๒ อย่าง คือ ั ั (๑) อามิสปฏิสนถาร ได้ แก่ การต้ อนรับด้ วยวัตถุสงของ ั ิ่ (๒) ธรรมปฏิสนถาร ได้ แก่ การต้ อนรับด้ วยธรรม ด้ วยความช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน ด้ วยนํ ้าใจไมตรี สามารถเป็ นที่พงของ ั ึ่ ชุมชนและสังคมได้ อย่างดี เมื่อยามมีปัญหาก็ไม่นงดูดาย เข้ าไปช่วยเหลือตามความเหมาะสม ิ่ ครูเป็ นบุคคลผู้ทรงความหนักไว้ ๖ ประการ ดังกล่าวนี ้ จึงได้ ชื่อว่า “ครู”
  • 4. ครู คือบุคคลผู้ทรงไว้ ซงการยกย่อง ได้ แก่ การส่งเสริ มเพิ่มพูน ยกระดับความเป็ นคนให้ สงขึ ้น ดีขึ ้น ด้ วยความรู้ ความ ึ่ ู งาม ความดี และความจริง ด้ วยการปั นคน สร้ างคน และพิมพ์คน ให้ เป็ นพลเมืองที่ดีของชาติ ้ ครู คือผู้ยกย่องลูกศิษย์ให้ เด่น ดัง และดี ในทุกที่และทุกทิศ ไม่เหยียบยําซํ ้าเติมลูกศิษย์ให้ ตกตําในที่ทกสถานและตลอด ่ ่ ุ กาลทุกเมื่อ ดังนัน ครูจึงทําหน้ าทียกย่อง ๒ ประการ คือ ้ ่ (๑) ทําของเสียให้ เป็ นของสวย เรี ยกว่า Recycle (๒) ทําคนด้ อยให้ เป็ นคนเด่น เรียกว่า Reengineering ครู คือบุคคลผู้ทรงไว้ ซงเสียงพูด บอกกล่าว ชี ้แจงแสดง เปิ ดเผย แนะนําลูกศิษย์ด้วยเสียงแห่งธรรม (Voice of ึ่ Dhamma) ด้ วยการพรํ่ าสอนและสังสอนให้ ลกศิษย์เกิดความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ครูเป็ นบุคคลผู้ดํารง ่ ุ ตําแหน่ง “ผู้ พดคนแรก” ในโลกสําหรับลูกศิษย์ เริ่ มตังแต่ครูในครอบครัว คือ พ่อแม่ ซึงเป็ นครูคนแรกของลูก ู ้ ่ (บุรพาจารย์) และครูในโรงเรี ยน ซึงได้ รับการยกย่องว่าเป็ น “แม่พมพ์ของชาติ” ่ ิ การอบรมสังสอนของครูตามหลักพระพุทธศาสนาได้ เปรี ยบเทียบไว้ วา ครูคือผู้ ่ ่ ๑. หงายของที่ควํ่า (ความรู้ ) ๒. เปิ ดของที่ปิด (ความงาม) ๓. บอกทางแก่คนหลงทาง (ความดี) หากครูทกคนสามารถปกปอง คุ้มครอง ดูแลรักษา “ธาตุแท้ ” ของตนไว้ ได้ ครบถ้ วนทัง้ ๓ ธาตุ แล้ ว ย่อมได้ ชื่อว่าเป็ น “ครู ุ ้ แท้ ” และดํารงอยูอย่าง “คุรุฐานียบุคคล” เฉกเช่นเกียวกันกับพระบรมศาสดา ซึงเป็ น “พระบรมครู” ของมนุษย์และเทวดา ่ ่ ทังหลายฉะนัน ้ ้ ครูคือใครในวันนี ้ ใครคือครู ครูคือใคร ในวันนี ้ ใช่อยูที่ปริ ญญามหาศาล ่ ใช่อยูทเี่ รี ยกว่าครูอาจารย์ ่ ใช่อยูนานสอนนานในโรงเรี ยน ่ ครูคือผู้ชี ้นําทางความคิด ให้ ร้ ูถก รู้ผิด คิดอ่านเขียน ู ให้ ร้ ูทกข์ รู้ยาก รู้พากเพียร ุ ให้ ร้ ูเปลียน แปลงสู้ รู้สร้ างงาน ่ ครูคือผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้ สงสุดกว่าสัตว์เดรัจฉาน ู ครูคือผู้สงสมอุดมการณ์ ั่ มีดวงมาลย์เพื่อปวงชนใช่ตนเอง ครูจึงเป็ นนักสร้ างผู้ใหญ่ยง ิ่ สร้ างคนจริง สร้ างคนกล้ า สร้ างคนเก่ง
  • 5. สร้ างคนให้ เป็ นตัวของตัวเอง ขอมอบเพลงนี ้มาบูชา “ครู” เนาวรัตน์ พงษ์ ไพบูลย์ กวีซีไรท์/ประพันธ์ คุณธรรมของครู ครูผ้ ดํารงธาตุแท้ ของตนไว้ ได้ นน คือ ครูผ้ มีคณธรรม ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้ ู ั้ ู ุ ๑. ปิ โย คือ น่ารัก ๒. ครุ คือ น่าเคารพ ๓. ภาวนีโย คือ น่ายอกย่อง ๔. วัตตา คือ สอนดี ๕. วจนักขโม คือ สอนทน ๖. คัมภีรัง กถัง กัตตา คือ สอนลึกซึ ้ง ๗. โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ สอนสร้ างสรรค์ความดีงาม คุณธรรมทัง้ ๗ ประการ นี ้เรียกว่า “กัลยาณมิตรธรรม” ได้ แก่ ธรรมของผู้เป็ นมิตรที่ดี ครู คือ บุคคลผู้เป็ นมิตรที่ดี หรื อ “มิตรแท้ ” สําหรับลูกศิษย์เพราะเป็ นผู้ประกอบด้ วยคุณธรรมของมิตรแท้ ๔ ประการ ดังต่อไปนี ้ ๑. มิตรอุปการะ (อุปการี ) ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ (สมานสุขทุกข์) ๓. มิตรแนะนําประโยชน์ (อัตถักขายี) ๔. มิตรมีนํ ้าใจ (อนุกมปี /สุหทยะ) ั ั ครู คือ มิตรอุปการะ ช่วยปกปอง คุ้มครองลูกศิษย์ทงชีวตและทรัพย์สน ยามลูกศิษย์มีภย ก็เป็ นที่พงพํานัก ้ ั้ ิ ิ ั ึ่ ได้ ขวนขวายช่วยเหลือลูกศิษย์เมือเกิดกิจจําเป็ น ทังด้ วยแรงเงินและแรงงาน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “อุปกรณ์ ่ ้ ชีวิต” ของลูกศิษย์ ครู คือ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มีสขร่วมเสพ มีทกข์ร่วมต้ านกับลูกศิษย์ เปิ ดเผย จริ งใจ ไว้ วางใจ เมื่อมีภยมาก็ไม่ ุ ุ ั ทอดทิ ้งลูกศิษย์ แม้ ชีวตก็สละให้ ได้ เพื่อลูกศิษย์ของตน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “หุ้ นส่วนชีวิต” ของลูกศิษย์ ิ ครู คือ มิตรแนะนําประโยชน์ คอยห้ ามปรามกางกันลูกศิษย์จากความชัว แนะนําให้ ตงอยูในความดี ให้ ้ ่ ั้ ่ คําปรึกษา ให้ ร้ ูให้ เห็นสิงที่เป็ นประโยชน์และบอกหนทางแห่งความสุขให้ ลกศิษย์คณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “รปภ. ่ ู ุ ชีวิต” ของลูกศิษย์ ครู คือ มิตรมีนํ ้าใจ มีทกข์ก็ทกข์ด้วย มีสขก็สขด้ วย กับลูกศิษย์ถกติเตียนก็ช่วยปองกันแก้ ไขให้ และช่วยส่งเสริ ม ุ ุ ุ ุ ู ้ เพิ่มพูนเมื่อมีคนสรรเสริ ญลูกศิษย์ของตน คุณธรรมข้ อนี ้ คือ ครูทําตนเป็ น “ถังขยะชีวิต” ของลูกศิษย์ ครูที่ดี คือ ครูที่มีกลยาณมิตรธรรม ั นี่หรื อครู ๑. ครูมาสาย คติ : สายบ่อย ๆ สอนน้ อยหน่อย อร่อยกําลังเหมาะ
  • 6. ๒. ครูค้าขาย คติ : ครูที่ขยันหมันเพียรต้ องทําโรงเรี ยนให้ เป็ นตลาดครูที่มความสามารถ ต้ องทําตลาดให้ อยูในโรงเรี ยน ่ ี ่ ๓. ครูคณนาย ุ คติ : สบาย สบาย คุณนายซะอย่าง หนทางสะดวกพรรคพวกมากมาย ๔. ครูโรงงาน คติ : ถักวันนี ้ เป็ นเศรษฐี ในวันหน้ า ๕. ครูสราบาน ุ คติ : ศุกร์ เมาเสาร์ ถอนอาทิตย์นอนจันทร์ เกียจคร้ าน อังคารหยุด พุธลา พฤหัสมาไม่ส้ หน้ าคน ู ๖. ครูโบราณ คติ : สอนดีก็สอนไป ฉันจะสอนอย่างไรใครอย่ายุง ่ ๗. ครูปากม้ า คติ : นินทาวันละนิด จิตแจ่มใส ปากใคร ปากมัน ปากของฉันใครอย่าแตะ ๘. ครูหน้ าใหญ่ คติ : ใหญ่ในโรงเรียน เป็ นเสมียนที่อําเภอ เกลอเจ้ านาย ได้ สองขัน ้ ๙. ครูเกียจคร้ าน คติ : สอนบ้ าง ไม่สอนบ้ าง เปนแค่เรื อจ้ าง สตางค์เท่าเดิม ้ ๑๐. ครูตย ุ๋ คติ : เด็กมันยัว หลวมตัวไปหน่อย ่ ประเภทของครู กัลยาณมิตรธรรมได้ รักษาความเป็ นครูเอาไว้ และทําให้ เกิดประเภทของครู ๙ ประเภท ดังต่อไปนี ้ ๑. ครูนกรบ ั ๒. ครูนกรัก ั ๓. ครูนกบอก ั ๔. ครูนกชี ้ ั ๕. ครูนกดนตรี ั ๖. ครูนกร้ อง ั ๗. ครูเรื อจ้ าง ๘. ครูนายช่าง ๙. ครูแม่พิมพ์ ครู คือ นักรบ คอยต่อสู้ ปองกัน และปราบปรามความชัวร้ ายให้ แก่ลกศิษย์ ทังความชัวร้ ายทีเ่ กิดจากภายนอก ้ ่ ู ้ ่ และความชัวร้ ายทีเ่ กิดขึ ้นภายในตัวลูกศิษย์เอง รวมทังความชัวร้ ายที่เกิดขึ ้นในสังคมด้ วย เป็ นภารกิจของครูที่จก ่ ้ ่ ั ต่อสู้ ปองกัน ้ และกําจัดไป ในฐานะทีเ่ ป็ น “นักรบของสังคม” ซึงเป็ นนักรบร่วมสมัย ่
  • 7. นักรบร่วมสมัย นักรบร่วมสมัย นิงอยูไยทําไมไม่เชือดเฉือน ่ ต้ องต่อสู้เหล่าศัตรูผ้ มาเยือน ู ลบรอยเปื อนของแผ่นดินให้ สิ ้นไป ้ นักรบดีมีความคิดชี ้ผิดถูก หมันฝั งปลูกลบรอยแผลแด่สมัย ่ สร้ างสังคมด้ วยตัวด้ วยหัวใจ เฉยอยูไยทําไมไม่ลงมือ ่ ครูคือนักรบร่วมสมัย แม้ จะไร้ อาวุธในมือถือ จงไว้ ลายนักรบให้ คนลือ ว่าครูคือนักสร้ างสมอุดมการณ์ เร่งบากบันฟาดฟั นเถิดนักรบ ่ ขอน้ อมนบผู้เก่งกาจผู้อาจหาญ เก่งและดีทงมีวิชาชาญ ั้ พร้ อมพิชิตคนพาลอภิบาลคนดี ลุกขึ ้นเถิด “นักรบร่วมสมัย” แล้ วฮึดสู้สดหัวใจไม่หลีกหนี ุ เพื่อสังคมครูคงพร้ อมและยอมพลี เพื่อโลกนี ้สุขสงบ…รบเถิดครู ครู คือ นักรัก คอยสร้ างสรรค์และรักษาความเจริ ญรุ่งเรื องให้ แก่ลกศิษย์ ด้ วยความเมตตาปรารถนาดีตอลูกศิษย์ ู ่ สมํ่าเสมอ ช่วยพัฒนาครอบครัว พัฒนาชุมชน และพัฒนาสังคมของลูกศิษย์ให้ เจริ ญก้ าวหน้ าในฐานะเป็ น “นักรักของ สังคม” โดยไม่เลือกที่รัก ไม่ผลักที่ชไม่จําเป็ นว่าเธอจะต้ องสดสวย ผู้ดีรํ่ารวย มากมายด้ วยการศึกษา ถ้ าครูจะรัก ให้ เธอเป็ นลูกชาวนา เป็ นลูกกําพร้ าจน ๆ ครูก็ไม่หวัน ่ โลกมีใครที่เลือกเกิดได้ ดงหวัง หน้ าตาน่าชัง นํ ้าใจอาจงามเฉิดฉัน หน้ าตาสดใส บางทีซอนใจลวงกัน งามแต่รูปพรรณ ั ่ หัวใจสิ ้นไร้ ราคา เราทุกคนเกิดมาย่อมมีพลังพลาด ใจเกินมีขาด มีช้า มีชื่นชีวา เห็นลูกศิษย์เลว ครูไม่อบจนปั ญญา รักแท้ จากใจสูงค่า ้ ั ครูมีคอยท่าอีกหน ต่อให้ เธอกระทําบาปกรรมไม่น้อย ทําเรื่ องด่างพร้ อยเลือนลอยอยูอย่างสับสน แต่ครูคนนี ้ไม่มีลบรอยกังวล เป็ นห่วงเธอ ่ ่ ล้ น ขอเป็ นคนที่รักเธอ
  • 8. ครู คือ นักบอก บอกวิชา บอกความรู้ บอกความงาม บอกความดี และบอกความจริง ให้ แก่ลกศิษย์โดยไม่ปิดบัง ครู ู เป็ นผู้เสาะแสวงหานํามา เปิ ดเผยแก่ลกศิษย์ ในฐานะทีเ่ ป็ น “ผู้ บอกขุมทรัพย์” แก่ลกศิษย์และแก่สงคม ู ู ั ย่อ โลกรวมเป็ นเล่มเต็มสาระ ย่น ทางจะก้ าวไกลมาใกล้ เรา ยก ที่อยูหางไกลมาใกล้ เรา ่ ่ ยาม หงอยเหงาเป็ นเพื่อนได้ เหมือนคน บอก เรื่ องราวเล่าความตามลําดับ บ่ง เรื่ องลับให้ แจ้ งทุกแห่งหน ใบ้ ความหมายคลายความเขลาให้ เล่าชน บรรยาย ความหมายคลายเขลาให้ เล่าชน สร้ าง คนให้ เป็ นคนพ้ นความมืด เสริ ม ชีพยืดเยื ้องย่างอย่างมีแก่น ส่อง สว่างสร้ างชีวาอย่างมีแกน สืบ ถ่ายแทนกองทุนทุกรุ่นวัย ชม อดีตรัดเร้ นเห็นประวัติ ช่วย ชูปัจจุบนทันสมัย ั ชี ้ อนาคตเด่นเห็นกําไร ชุบ คนให้ อดมสุขสมบูรณ์ ุ รัก…ความรู้ ดตาราปั ญญาเลิศ ูํ รู้…ไว้ เถิดรู้ไว้ ไม่เสือมสูญ ่ ดู…ให้ จําซํ ้าเข้ าใจไม่อาดูร หนังสือ…พูนผลผลิตทุกวิชา หนังสือ…คือเพื่อนที่ดีของชีวต ิ คือ…คูคิดคอยคลายหลายปั ญหา ่ ขุม…เงินทองกองทุนหนุนปั ญญา ทรัพย์…ลํ ้าค่าคือหนังสือ “คูมือคน” ่ (บทกวี “หนังสือคือขุมทรัพย์” ประพันธ์โดย นายสมควร เหล่าลาภะ ชนะเลิศโล่รางวัลในโครงการสารานุกรมไทยสําหรับ เยาวชน โดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหว ๑๑ สิงหาคม ๒๕๒๘) ่ ั ครู คือ นักชี ้ คอยชี ้ผิด ชี ้ถูกให้ ลกศิษย์และให้ สงคม ครูเป็ นผู้ชี ้ทางสร้ างทิศ นําชีวิตของลูกศิษย์และของสังคมไปสู่ ู ั เปาหมาย คือ ความเจริ ญรุ่งเรื อง ก้ าวหน้ า มังคังและมันคง เพื่อให้ ลกศิษย์และสังคมเติบโตด้ วยความกล้ าหาญ ความ ้ ่ ่ ่ ู พยายามความคิด เรี ยนรู้ชีวต และพึงตนเองได้ ิ ่
  • 9. ครู คือ นักดนตรี คอยเรี ยบเรียงเสียงประสาน ให้ จงหวะให้ ระดับประคับประคองชีวิตของลุกศิษย์และของสังคม ให้ ั ดําเนินไปด้ วยความเรี ยบร้ อยและดีงามสมํ่าเสมอ ไม่ผิดจังหวะ ไม่ผิดระดับ ไม่ผิดโน้ ต ไม่ผิดคีย์ของชีวต และไม่ผิดทํานอง ิ ครูเป็ นนักดนตรี คอยดีด คอยสี คอยเป่ า คอยเขย่า และคอยขยับขับกล่อมบรรเลงเพลงชีวตของลูกศิษย์และของสังคม ิ ให้ สขสมและสร้ างสรรค์บรรยากาศที่เต็มไปด้ วยความสุขที่ถกต้ องตาม “ทํานองธรรม” ุ ู เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก เผชิญโศกอย่างสนุกสนานและสุขศานต์ ทักทายทุกข์รอบข้ างอย่างสําราญ ยิ ้มรับการดูหมิ่นอย่างยินดี ทุกย่างก้ าว…เท่าย่างอย่างองอาจ ทรงอํานาจ “ตาทิธรรม” นําวิถี ไม่วนวาย…ไม่หวันไหวในท่าที ุ่ ่ ท่วงท่านี ้…ถูกทํานองครรลองธรรม เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก ประสบโชคลาภใหญ่…ไม่ถลํา ถึงเสือมยศลดลาภไป…ไม่ระกํา ่ ไม่ตื่นคําสรรเสริ ญเกินพอดี ทุกย่างก้ าว…เท่าย่างอย่างองอาจ ทรงอํานาจ “ตาทิธรรม” นําวิถี ไม่วนวาย…ไม่หวันไหวในท่าที ุ่ ่ ท่วงท่านี ้…ถูกทํานองครรลองธรรม เดินไปอย่างธรรมดา…เข้ าหาโลก ไม่มีโยก…ไม่มียง…ไม่สงตํ่า ุ่ ู “เท่าทัน” ทุกท่วงเท้ าทางขาว – ดํา ทางที่ยา…ทุกเท่าเหยียบอย่างเรียบร้ อย ํ่ ทุกย่างก้ าว…เท้ าย่างไม่ขวางโลก ยังเสพโศก…แต่ไม่เศร้ าไม่เหงาหงอย ยังเสพสุข…แต่ไม่ปลื ้มลืมตัวลอย ทุกอย่างปล่อย…ค่อยค่อยปรับ “โลกกับธรรม” ครู คือ นักร้ อง คอยสร้ างความบันเทิงรื่ นเริ งใจให้ ลกศิษย์และสังคม ผ่อนคลายอารมณ์ ทังในยามทุกข์และยามสุข ครู ู ้ เป็ นผู้คอยเรี ยบเรี ยงถ้ อยร้ อย กรองคําปลอบประโลมลูกศิษย์เมื่อยามชีวิตมีทกข์ เมื่อยามลูกศิษย์มีสข ก็คอยบํารุงขวัญ สร้ างสรรค์พลังใจให้ ุ ุ ครูเป็ นนักร้ อง คอยร้ องปลุกลูกศิษย์ให้ ตื่นตัว ตื่นตา และตื่นใจอยูตลอดเวลา ให้ ทนสมัย ทันเหตุการณ์และทันโลกอยูเ่ สมอ ่ ั ในฐานะที่เป็ น “ผู้ ปลุก” ปลุกทังตนเองและผู้อื่น ้
  • 10. ตื่นเถิด ตื่นเถิดหนา ฉันมาจากแดนไกล ด้ วยดวงใจ ซึ ้งรักและศรัทธา ตื่นเถิดเรา อรุณรุ่งกําลังมา รี บล้ างหน้ าตา สวัสดีอรุณ เยาวชนหญิงชายไม่มวเมา ั พวกเรานันไร้ ความเฉื่อยชา ้ ดอกไม่เบ่งบานทุกเวลา มาเถิดเชิญมาครูจะบอกธรรมนําทาง ร่วมกันสร้ างชีวให้ สดใส ี เอานํ ้าใจรดใจให้ งอกงาม สักสันหนึงท้ องฟ้ าเป็ นสีคราม ่ ชีวตงดงามได้ ชมฉํ่าและชื่นใจ ิ ุ่ ครู คือ เรื อจ้ าง คอยรับและไปส่งลูกศิษย์สจดหมายปลายทางทีปรารถนาด้ วยเรื อ คือความรู้ ฝ่ าคลืน ฝื นลมแรง ข้ าม ู่ ุ ่ ่ นํ ้าข้ ามมหาสมุทรถึงจุดหมายปลายทางแล้ ว ก็จอดเรื อรอคอยที่ทานํ ้า เพื่อทําหน้ าทีเ่ รื อจ้ างอย่างนี ้อีกวันแล้ ววันเล่าเดือน ่ แล้ วเดือนเล่า ปี แล้ วปี เล่า อย่างไม่เบื่อ ไม่บน อดทน อดกลัน บากบัน ทําหน้ าที่ครูอย่างไม่ร้ ูเหน็ดเหนื่อย นี่ ่ ้ ่ แหละ “ชีวิตครู”ชีวตครู ิ คิดดูชีวิตนี่หนา แต่ก่อนแต่ไรไหนมา โอ้ วาสนาไม่เคยเฟื่ องฟู มีบางครังกับยังต้ องโดนลบหลู่ ลูกศิษย์ที่คดล้ างครูมีอยู่ ้ ิ อักโข คิดดูชีวิตครูที่ทน อบรมบ่มความรู้จน ลูกศิษย์ได้ ผลต่อไปใหญ่โต เป็ นเจ้ าขุนมูลนายมากมายดูโก้ ครูเล่าอับเฉาดัง ่ โค อยูนาสาโทต่อไปเหมือนเรื อจ้ างลอยคว้ างรับส่ง มีคนโดยสารมาลงแจวส่งถึงฝั่ งดังใจ ส่งแล้ วก็แจวไปรับใหม่ หมุนเวียน ่ ่ ไม่เปลียนแปรไป อาภัพกระไรนี่ชีวิตครูคดไปน่าน้ อยใจโชคชะตา อบรมบ่มความรู้มา ลูกศิษย์ลกหาไม่มาใฝ่ ดู ไปได้ ดีมงมี ่ ิ ู ั่ รุ่งเรื องเฟื่ องฟู ลูกศิษย์ใดคิดถึงครู ให้ จงเฟื่ องฟูรุ่งเรื อง ครู คือ นายช่าง ทํางานช่างสร้ างลูกศิษย์และสังคม ด้ วยงานช่าง ๑๐ หมู่ ดังต่อไปนี ้ ๑. ช่างแกะ ๒. ช่างชัก ๓. ช่างสลัก ๔. ช่างกลึง ๕. ช่างปั น ้ ๖. ช่างวัด ๗. ช่างขัด ๘. ช่างตี ๙. ช่างสี ๑๐. ช่างวาด
  • 11. ครูเป็ นนายช่าง คอยแกะ คอยชัก คอยสลัก คอยกลึง คอยปั น คอยวัด คอยตี คอยสี คอยวาด แต่งแต้ มตบแต่งลูกศิษย์ให้ ้ เป็ นคนมีคณ ๕ อย่าง คือ ุ ๑. คุณสมบัติ ๒. คุณวุฒิ ๓. คุณธรรม ๔. คุณภาพ ๕. คุณประโยชน์ ครูจึงคือ “สถาปนิกและวิศวกรของสังคม” อย่างแท้ จริง ครู คือ แม่พิมพ์ ทําตัวเป็ นแบบอย่างทีดีของลูกศิษย์และของสังคม เพียบพร้ อมด้ วยวิชชาและจรณะ มีความรู้คู่ ่ คุณธรรมสมบูรณ์ด้วย “วิชชาจรณสมบัติ” ครูเป็ นแม่พิมพ์ของชาติ ทํางานการพิมพ์ ๓ ประการ คือ ๑. พิมพ์ตน ๒. พิมพ์คน ๓. พิมพ์งาน แม่พิมพ์ของชาติ แสงเรื องเรื องที่สองประเทืองอยูทวเมืองไทย คือแม่พิมพ์อนน้ อยใหญ่ โอ้ ครูไทยในแดนแหลมทอง เหนื่อยยากอย่างไรไม่ ่ ่ ั่ ั เคยบ่นไปให้ ใครเขามอง ครูนนยังลําพองในเกียรติของตนเสมอมาที่ทํางานช่างสุดกันดารในป่ าดงไพร ถึงจะไกลก็เหมือนใกล้ เร่งรุดไปให้ ั้ ทันเวลา กลับบ้ านไม่ทน บางวันต้ องไปอาศัย ั หลวงตา ครอบครัวคอยท่าไม่ร้ ูวาไปอยูไหนถึงโรงเรี ยนก็เจียนจะสายจวนได้ เวลา เห็นศิษย์รออยูพร้ อมหน้ า ต้ องรี บมาทํา ่ ่ ่ การสอน ไม่มีเวลาที่จะได้ มาหยุดพอ พักผ่อน โรงเรี ยนในดงป่ าดอน ให้ โหยอ่อนสะท้ อนอุราชื่อของครูฟังดูก็หรูชวนชื่นใจ งานที่ทําก็ยิ่งใหญ่ สร้ างชาติไทยให้ วัฒนา ฐานะของครูใครใครก็ร้ ูวาด้ อย ่ หนักหนา ยังสู้ทนอุตส่าห์สงสอนศิษย์มาเป็ นหลายปี นี่แหละครูทให้ ความรู้อยูทวเมืองไทย หวังสิงเดียวคือขอให้ เด็กของ ั่ ี่ ่ ั่ ่ ไทยในพื ้นธานี ได้ มีความรู้เพื่อช่วยเชิดชู ไทยให้ ผองศรี ครูก็ภมใจที่สมความเหนื่อยยากตรากตรํามา ่ ู ิ ครูสอนอย่างไร ทําได้ อย่างนัน ้ (ยถาวาที ตถาการี) สังสอนคนอื่นอย่างไรบ้ าง ่ ครูควรสร้ างตนเหมือนที่เตือนเขา พึงฝึ กตนให้ ดีก่อนที่เรา ตนนี ้เล่า…ฝึ กยากลําบากจัง ครูทําอย่างไร สอนได้ อย่างนัน ้ (ยถาการี ตถาวาที)
  • 12. วางตนไว้ ในความดีงามก่อน จึงค่อยสอนใครใครในภายหลัง เป็ นครูคนขวนขวายหมายระวัง ไม่พลาดพลังเศร้ าหมองเรื่ องของตน ้ หน้ าที่ของครู หน้ าที่ของครู คือ ภารกิจในความรับผิดชอบของครู ซึงครูจกต้ องคอยเลี ้ยงดู เอาใจใส่ดแล รับเป็ นภาระ ดุจ “ภริ ยาของ ่ ั ู ตน” ภาระ แปลว่า สิงที่หนัก ่ ภริ ยา แปลว่า บุคคลที่ต้องเลี ้ยงดู ดังนัน หน้ าที่ของครูจึงเป็ นสิงที่หนักและจักต้ องเลี ้ยงดูทอดทิ ้งไม่ได้ ดุจภรรยาและลูกน้ อยฉะนัน ้ ่ ้ บุคคลผู้เป็ นครูควรหมันดูแลรักษาสุขภาพ “ใบหน้ า” ของตนอยูเ่ สมอ ได้ แก่ หน้ า ๓ หน้ า ต่อไปนี ้ คือ ่ ๑. หน้ านอก บอกความสดใส ๒. หน้ าใน บอกความดี ๓. หน้ าที่ บอกความสามารถ “การศึกษาเป็ นเรื่ องใหญ่และสําคัญยิ่งของมนุษย์ คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้ รับการสังสอนจากบิดามารดาอันเป็ นความ ่ รู้เบื ้องต้ นเมื่อเจริ ญเติบโตขึ ้นก็เป็ นหน้ าที่ของครูและอาจารย์ สังสอนให้ ได้ รับวิชาความรู้สงและอบรมจิตใจให้ ถึง ่ ู พร้ อมด้ วยคุณธรรมเพื่อจะได้ เป็ นพลเมืองดีของชาติสบต่อไป งานของคนที่เป็ นครูจึงเป็ นงานที่สาคัญยิ่ง ท่านทังหลา ื ํ ้ ยซึงจะออกไปทําหน้ าที่ครูจะต้ องตังมันอยูในหลักศีลธรรม และพยายามถ่ายทอดวิชาความรู้แก่เด็กให้ ดีที่สดทีจะทําได้ ่ ้ ่ ่ ุ ่ นอกจากนี ้ จงวางตนให้ สมกับที่เป็ นครู ให้ นกเรี ยนมีความเคารพนับถือ และเป็ นที่เลือมใสไว้ วางใจของผู้ปกครองนักเรี ยน ั ่ ด้ วย” พระบรมราโชวาท ๑๓ ธันวาคม ๒๕๐๕ หน้ าที่มีคณประโยชน์ ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้ ุ ๑. สร้ างความรัก (ปิ ยะ) ๒. สร้ างความเคารพ (คุรุ) ๓. สร้ างที่พงที่ระลึก (สรณียะ) ึ่ ๔. ไม่ก่อความแตกแยก (อวิคคหะ)ล ๕. ไม่เกิดการทะเลาะโต้ เถียง (อวิวาทะ)ล ๖. สร้ างความเสมอภาคสมัครสมาน (สามัคคี) ๗. รวมกันเป็ นหนึงเดียว (เอกีภาพ) ่ หากครูหรื อบุคคลที่มีหน้ าที่ไม่ปฏิบติหน้ าที่ ละเว้ นหน้ าที่ หือหลีกเลียงหน้ าที่แล้ ว ย่อมก่อให้ เกิด “โทษของการไม่ปฏิบติ ั ่ ั หน้ าที่” ๗ ประการ ดังต่อไปนี ้ ๑. เป็ นคนอัปปรี ย์นาเกลียด (อัปปิ ยะ) ่
  • 13. ๒. ไม่มีคนเคารพนับถือ (อคารวะ) ๓. เป็ นคนไร้ ที่พง พึงไม่ได้ ไม่มีใครคิดถึง (อสรณียะ) ึ่ ่ ๔. ก่อความแตกแยก (วิคคหะ) ๕. ทะเลาะวิวาท (วิวาทะ) ๖. ขาดความเสมอภาค ไม่สมัครสมาน (อสมัคคะ) ๗. รวมคน รวมงานเป็ นหนึงไม่ได้ (อเนกีภาพ) ่ คนที่ไม่ปฏิบติหน้ าที่ คือ คนไม่รักษาหน้ า คนเสียหน้ า คนไม่มีหน้ า ถือได้ วาเป็ น “คนพิการ” ประเภทหนึงซึงเป็ นคน ั ่ ่ ่ พิการที่มีอนตรายต่อสังคมมากทีสด ั ่ ุ ยิ่งกว่าคนพิการตัวจริ ง เสียงจริ งเป็ นร้ อยเท่าทวีคณ ู หลักสูตรของครู หลักสูตรของครู คือ กระบวนการเรี ยนการสอนของครูประกอบด้ วยองค์ความรู้ แรงจูงใจให้ ร้ ู การปฏิบติ การ ั วัดผล และการขยายผลแห่งการ เรี ยนรู้นน สูลกศิษย์และสูสงคม ั้ ่ ู ่ ั หลักสูตรของครู ประกอบด้ วย กระบวนการเรี ยนการสอนดังต่อไปนี ้ ๑. เตรี ยมการสอน ๑. เตรี ยมการสอน (อาวาสสัปปายะ) ๒. เตรี ยมสืออุปกรณ์การสอน (อาหารสัปปายะ) ่ ๓. เตรี ยมคนสอน (ปุคคลสัปปายะ) ๔. เตรี ยมเรื่ องสอน (ธัมมสัปปายะ) ๕. เตรี ยมกิจกรรม (อิริยาปถสัปปายะ) ๖. เตรี ยมสิงแวดล้ อม (อุตสปปายะ) ่ ุ ั ๗. เตรี ยมชุมชน (โคจรสัปปายะ) ๒. หลักการสอน ๑. สอนให้ ร้ ูจก เรี ยกว่า ปริ ยติ ั ั ๒. สอนให้ ร้ ูจริ ง เรี ยกว่า ปฏิบติั ๓. สอนให้ ร้ ูแจ้ ง เรี ยกว่า ปฏิเวธ ๓. กลยุทธการสอน ๑. ปราบแล้ วสอน เรี ยกว่า อิทธิปาฏิหาริ ย์ ๒. ปลุกแล้ วสอน เรี ยกว่า อาเทสนาปาฏิหาริ ย์ ๓. ปลอบประโลมสอน เรี ยกว่า อนุสาสนีปาฏิหาริ ย์ ๔. วิธีการสอน ๑. ชี ้หลัก ด้ วยวิชาการ (สันทัสสนา) ๒. ชักชวน ด้ วยกิจกรรม (สมาทปนา)
  • 14. ๓. ปลุกใจ ด้ วยเกม (สมุตเตชนา) ๔. ให้ เพลิน ด้ วยเพลง (สัมปหังสนา) ๕. ผลสําเร็ จของการสอน คือ การที่ลกศิษย์ได้ รับ ปริ ญญา ๓ ใบ ดังนี ้ ู ๑. รู้ดี เรี ยกว่า ญาตปริ ญญา ๒. มีเหตุผล เรี ยกว่า ตีรณปริ ญญา ๓. หลุดพ้ นอวิชชา เรี ยกว่า ปหานปริ ญญา หากครูดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรทีกล่าวมานี ้ย่อมสามารถพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนา ํ ่ บ้ านเมืองได้ อย่างดียิ่ง โดยไม่ต้องสงสัยเลย ๖. สือการสอน ่ สือการสอนที่ดีที ๒ ประเภท คือ ่ ๑. สือภายใน ได้ แก่ ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน ๖ ่ ๒. สือภายนอก ได้ แก่ รูป เสียง กลิน รส ผัสสะ และอารมณ์ เรี ยกว่าอายตนะภายนอก ๖ ่ ่ สือภายนอก ยังแบ่งออกไปอีกเป็ น ๒ ชนิด คือ สือธรรมชาติ ได้ แก่ คน สัตว์ พืช วัตถุ สิงแวดล้ อมที่เป็ นธรรมชาติทก ่ ่ ่ ุ อย่าง และ สือประดิษฐ์ ได้ แก่ สิงที่เราสร้ างขึ ้น จัดทําขึ ้น ่ ่ ครูที่ดี ครูที่มีความสามารถ ครูที่ฉลาด อย่าพลาดสือการสอนเหล่านี ้ ่ ๗. ลูกศิษย์ ลูกศิษย์ที่ครูสอน มี ๔ ประเภท คือ ๑. หัวไวใจสู้ เรี ยกว่า พวกบัวพ้ นนํ ้า (อุคฆติตญํู) ั ๒. รอดูจงหวะ เรี ยกว่า พวกบัวปริ่ มนํ ้า ั (วิปจิตญํู) ั ๓. พอจะแนะนํา เรี ยกว่า พวกบัวใต้ นํ ้า (เนยยะ) ๔. ตํ่าต้ อยติดตม เรี ยกว่า พวกบัวติดตม (ปทปรมะ) ตามหลักพระพุทธศาสนาบอกว่า สอนได้ ทกประเภทครูอย่าท้ อนะ… ุ หลักสูตรการสร้ างคน มีหลักสูตรที่ดีมีครูสอน ดับโลกร้ อนด้ วยศีลธรรมนําคนสู้ เทพเต็มบ้ าน มาไม่ม…ดีเฟื่ องฟู ี ศิษย์กบครูคือแบบอย่างการสร้ างคน ั งามอย่างครู บุคคลผู้ได้ รับการเคารพยกย่องและนับถือว่า “ครู” ย่อมมีความงามสมกับความเป็ นครู ในฐานะที่เป็ น คุรุฐานีย
  • 15. บุคคล โดยแท้ งามอย่างครู ประกอบด้ วย “ความงาม” ๔ อย่าง ดังต่อไปนี ้ ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยรูปร่างหน้ าตา กิริยามารยาท ความสะอาด มีระเบียบวินยทางร่างกายที่ดี ใครได้ พบเห็นก็เป็ น ั มงคลทังแก่ตนและคนอื่น ้ ในขณะที่กําลังปฏิบติหน้ าที่ของครู ครูต้องระมัดระวังตังใจ อย่าให้ เกิด “กายภาษา” (Body Language) ในท่าที่ตด ั ้ ิ ลบ ดังต่อไปนี ้ ๑. คนขี ้ยา ๒. ชิงหาหลัก ๓. ไม้ ปักรัว ้ ๔. ชะมดติดจัน ่ ๕. กังหันต้ องลม ๖. ชมท้ องฟ้ า ๗. ท้ าชกมวย ๘. ช่วยรถติดหล่ม ๙. ก้ ม ๆ เงย ๆ ครูต้องพยายามระมัดระวังปองกันตนเองไม่ให้ เกิด “ขยะท่าทาง” ดังต่อไปนี ้ ้ ๑. แลบ ๒. ล้ วง ๓. แคะ ๔. แกะ ๕. เกา ๖. หาว ๗. โยก ๘. ถอน ๙. ค้ อน ๑๐.กะพริ บ ครูต้องหมัน “บริ หารกาย” ให้ มีสขภาพสมบูรณ์แข็งแรงอยูเ่ สมอ ต้ องรู้จก “แต่งกาย” ให้ สวยงามสมกับความเป็ นครู ใน ่ ุ ั ความหมายสูงสุด คือ ไม่ประกอบวจีทจริต นันเอง ุ ่ ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยเสียง ประกอบด้ วยความงามในการพูด บอก กล่าว ด้ วยเสียงทีดีที่ประเสริ ฐ ดุจ “เสียงของ ่ พรหม” ๘ ลักษณะ ดังต่อไปนี ้ ๑. ไพเราะ (วิสสัฏโฐ) ๒. ชัดเจน (วิญเญยโย) ๓. นุมนวล (มัญชุ) ่
  • 16. ๔. ชวนฟั ง (สวนีโย) ๕. กลมกล่อม (พินทุ) ๖. ไม่แตกพร่า (อวิสารี ) ๗. ลึกซึ ้ง (คัมภีโร) ๘. ก้ องกังวาล (นีนนาที) ครูต้องพยายามฝึ กฝนอบรมตน หมัน “บริ หารวาจา” ให้ มความงาม ทัง้ ๘ อย่าง ให้ ได้ ต้ องรู้จก “แต่งเสียง” ให้ สวยงามสม ่ ี ั กับความเป็ นครู ในความหมายสูงสุด คือ ไม่ประกอบวจีทจริ ต นันเอง ุ ่ ครู คือบุคคลผู้งดงามด้ วยความประพฤติ ปฏิบติขดเกลาตนเอง ตังมันอยูในความดีงามสมกับความเป็ นครูอยูเ่ สมอ ั ั ้ ่ ่ ครูต้องขยันหมันพยายามลด ละ เลิกความประพฤติที่ติดลบ น่ารังเกียจ ๙ ประการ ดังต่อไปนี ้ ่ ๑. โดดเดี่ยว ๒. ดื ้อยา ๓. กบในกะลา ๔. นํ ้าชาล้ นถ้ วย ๕. ป่ วยไม่รักษา ๖. แสวงหาแต่ประโยชน์ตน ๗. มองคนในแง่ร้าย ๘. จิตใจไม่สะอาด ๙. ตกเป็ นทาสอบายมุข ครูต้องพยายามฝึ กฝนอบรมตนเองด้ วยการ “บริ หารใจ” ให้ มีความงามอยูเ่ สมอ ต้ องรู้จก “แต่งใจ” ให้ งดงามสมกับ ั ความเป็ นครู ด้ วยความประพฤติที่บวก น่ารัก ๑๑ ประการ ต่อไปนี ้ ๑. มนุษย์สมพันธ์ดี ั ๒. รับผิดชอบต่อหน้ าที่ ๓. เชื่อมัน ่ ๔. ความคิดสร้ างสรรค์ ๕. แก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าได้ ๖. อดทน ๗. เสียสละ ๘. อารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส ๙. มีความรักให้ ๑๐.ซื่อสัตย์ ๑๑.รับฟั งความคิดเห็น โดยความหมายสูงสุด ก็คือ ไม่ประกอบมโนทุจริ ต นันเอง ่
  • 17. ครู คือ บุคคลผู้งดงามด้ วยความรู้ ความสามารถ ความเฉลียวฉลาด เป็ นนักปราชญ์ เปี่ ยมด้ วยสติปัญญา ครูที่ดีคือครู ที่มีความงามด้ วย “สัปปุริสธรรม” อันเป็ นองค์ความรู้ ๗ ประการ คือ ๑. รู้เหตุ (ธํมมัญํุตา) ๒. รู้ผล (อัตถัญํุตา) ๓. รู้ตน (อัตตัญํุตา) ๔. รู้ประมาณ (มัตตัญํุตา) ๕. รู้กาลเวลา (กาลัญํุตา) ๖. รู้คน (ปุคคลัญํุตา) ๗. รู้ชมชน (ปริ สญํุตา) ุ ั งามอย่างครู โดยสรุป คือ รูปร่างหน้ าตา วาจาต้ องใจ ภายในยอดเยี่ยม เปี่ ยมด้ วยความรู้ อนาคตเด็กไทยในมือครู คอยครู ทําไมครูที่นี่มีน้อยนัก เด็กเด็กมักถามถึงครูอยูเ่ สมอ ครูคนใหม่อยูไหนกันเล่าเออ ่ เด็กชะเง้ อคอยครูอยูทกวัน ่ ุ ครูมากมายมีไหมในวันนี ้ ที่ยินดีอยูบ้านป่ าอาสาสอน ่ ร่วมทุกข์สขกับเด็กในดงดอน ุ เอื ้ออาทรสอนสังอย่างตังใจ ่ ้ ครูไปแล้ วทําไมไม่ยอมกลับ หรื อใครจับครุไว้ ที่ไหนหนอ เด็กเพียรถามหน้ าเศร้ านังเฝ้ ารอ ่ นํ ้าตาคลอ…ที่น…ไม่มีครู” ี่ ถิ่นไทยในป่ ากว้ าง ห่างไกล แสงวัฒนธรรมใด ส่องบ้ าง
  • 18. เห็นเทียนรํ าไร เล่มหนึง ่ ครูนนแหละอาจสร้ าง เสกให้ ชชวาล ฯ ั้ ั มือครู คือ มือนายช่าง ผู้สร้ างมนุษย์ สร้ างสังคม และสร้ างโลก เป็ นมือทีซื่อตรง และเป็ นมือที่เสียสละ เพื่อสร้ างลูกศิษย์ ่ ให้ มีชีวิตทีเ่ หมาะสม ลูกศิษย์ เจริ ญรุ่งเรื องด้ วยมือครูซงเป็ นมือนายช่าง ๑๐ มือดังต่อไปนี ้ ึ่ ๑. มือแกะ ๒. มือสลัก ๓. มือชัก ๔. มือกลึง ๕. มือปั น ้ ๖. มือวัด ๗. มือขัด ๘. มือตี ๙. มือสี ๑๐.มือวาด มือแกะ ครูจะประคับประคองลูกศิษย์ด้วยความทะนุถนอม ค่อย ๆ แกะชีวตลูกศิษย์ตามแบบทีเ่ ขียนไว้ ด้ วยความ ิ ระมัดระวังอย่างยิง ่ มือสลัก ครุจะค่อย ๆสลักลายต่าง ๆสร้ างชีวิตลูกศิษย์อย่างสวยงาม ด้ วยลวดลายความรู้และความประพฤติที่ดี มือชัก ครุจะคอยชักนําลูกศิษย์ไปในทางทีดี พร้ อมทังชักกระตุกเตือนสติให้ หลีกหนีความชัว สิงที่มีโทษต่าง ๆ ่ ่ ่ ่ มือกลึง ครูจะคอยกลึงชีวตลูกศิษย์ให้ เกลี ้ยงเกลา กลมกลืนไร้ เสี ้ยนหนาม ไร้ ความหยาบกระด้ าง ิ มือปั น ครูจะค่อย ๆปั นแต่งชีวิตลูกศิษย์อย่างทะนุถนอมให้ เป็ นรูปปั นตามที่ประสงค์ ระมัดระวังไม่ให้ แตก ไม่ให้ บบสลาย ้ ้ ้ ุ ดังปฎิมากรชิ ้นเอก มือวัด ครูเป็ นผู้วดระดับชีวตของลูกศิษย์ วัดความเจริ ญก้ าวหน้ า วัดความรู้ และความเป็ นคนอยูเ่ สมอ ั ิ มือขัด ครูจะคอยขัดเกลาชีวตของลูกศิษย์ให้ งดงาม เป็ นเงาวาววับ เปล่งประกายเจิดจ้ าโดดเด่น ิ มือตี ครูจะคอยขัดเกลาชีวตของลูกศิษย์ไม่ให้ หลงไปในทางชัว ตีกรอบชีวิตลูกศิษย์ให้ อยูในครรลองที่ดีงาม และตีกน ิ ่ ่ ั อันตรายที่จะเกิดขึ ้นแก่ลกศิษย์ ู ดุจช่างหม้ อตบแต่งหม้ อดินของตน มือสี ครุจะคอยแต่งแต้ มสีชีวิตให้ แก่ลกศิษย์ให้ งดงามด้ วยความรู้ ความงาม ความดี และความจริ ง ด้ วยสีที่งดงามที่ดีที่สด ู ุ ดุจวิจิตรศิลปชันเยี่ยม ์ ้ มือวาด ครูเป็ นผู้วาดชีวตของลูกศิษย์ ให้ เป็ นภาพที่ตนปรารถนา เป็ นภาพที่สวยงาม มีคณค่าและความสําคัญ ดุจจิตรกร ิ ุ เอกของโลก
  • 19. มือครู คือ มือพิมพ์ ครูจะพิมพ์ชีวิตของลูกศิษย์เป็ นอย่างไรขึ ้นอยูกบครูซงเป็ นแม่พิมพ์ หากแม่พิมพ์ดี ลูกพิมพ์ก็ดีด้วย หากแม่พมพ์เลวลูก ่ ั ึ่ ิ พิมพ์ก็เลวเช่นเดียวกัน มือครู คือ หัตถาครองพิภพ อนาคตของเด็กและเยาวชนทุกคนที่เกิดมาล้ วนอยูใน มือครู ขึ ้นอยูกบครูวาจะสร้ าง จะรักษา หรื อจะทําลายเพราะมือครู ่ ่ ั ่ คือ หัตภาครองพิภพ จะบวกหรื อ ลบชีวิตลูกศิษย์ได้ ทงนัน ั้ ้ แม่ปสอนลูกปู ู แม่ปสอนลูกปูดอย่างแม่ ู ู ทังที่แท้ แม่เดินเกเที่ยวเฉไฉ ้ ลูกจะเดินตรงทางถูกได้ อย่างไร จะสอนใครควรเริ่ มต้ นด้ วยตนเอง ! ครูสอนฉัน ครูสอนฉันว่าบุหรี่ มีโทษมาก แต่ที่ปากครูมีบหรี่ อยู่ ุ และที่เห็นเลาเลากระเป๋ าครู ซองบุหรี่ ที่ร้ ูครูเพิ่งซื ้อ ครูสอนฉันว่าสุราพาเกิดโรค ร่างกายโศกโทรมไปมิใช่หรื อ แต่เช้ าเย็นเห็นครูแก้ วคูมือ แถมบางมื ้อหนักแท้ แผ่สบาย ่ ครูสอนฉันการพนันมันร้ างผลาญ ทังเงินบ้ านไร่นาพาฉิบหาย ้ ใครลองแล้ วหลงมันอันตราย แต่ให้ ตายเถอะวงไผ่นนไงครู ั่ ครูสอนฉันให้ ร้ ูจกรักสะอาด อย่างทิ ้งเศษกระดาษหมันกวาดถู ั ่ รอยเท้ าใครยําเดินเชิญผินดู ่ รอยเท้ าครูเหยียบใหม่ ๆครูไม่เช็ด ครูสอนฉันให้ ร้ ูจกรักหน้ าที่ งานใดมีมอบหมายควรให้ เสร็ จ ั ถึงชัวโมงไม่เข้ าห้ องครูสองเพชร ใครจะเม็ดใหญ่กว่ากันให้ ฉนรอ ่ ่ ั ในสิงที่ครูห้ามปรามว่าชัว ก็มีอยูในตัวครูหลายข้ อ ่ ่ ่ คําสังสอนทุกอย่างงามละออ จะเชื่อก็แปลกใจไยครูทํา ่ เด็กถามครู ทําไมครูชอบมาสาย ทําไมครูชอบขายของผ่อน ทําไมพ่อแง่แม่งอน ทําไมไม่สอนตรงเวลา ทําไมครูชอบแก่งแย่ง ทําไมครูชอบแข่งกันสวย
  • 20. ทําไมชอบอวดรํ่ ารวย ทําไมเล่นหวย เล่นแชร์ ทําไมไม่ตรวจการบ้ าน ทําไมทําการสอนแย่ ทําไมครูชอบรักแก ทําไมเห็นแก่ตวจัง ั ครูถามเด็ก ทําไมครูถามไม่ตอบ ทําไมไม่ชอบอ่านเขียน ทําไมชอบหนีโรงเรี ยน ทําไมไม่ชอบทําดี ทําไมจึงชอบแกล้ งเพื่อน ทําไมเสื ้อเปื อนป่ นปี ้ ้ ทําไมไม่สามัคคี ทําไมไม่ชอบตีตอกร ่ ทําไมไม่ทําการบ้ าน ทําไมดื ้อด้ านยามสอน ทําไมมาเรียนหลบนอน ทําไมครูสอนไม่จํา (จากนักเรี ยนและครูโรงเรียนนกฮูกวิทยา) ครู คือ สถาปนิกชันยอด้ ครูจะบอกลูกศิษย์ให้ มีชีวิตที่ดีทสด มันคงที่สด มีคณภาพที่สด มีคณประโยชน์ที่สด ต่อสังคมและประเทศชาติครูหวังว่า ี่ ุ ่ ุ ุ ุ ุ ุ ลูกศิษย์คือผลงานการออกแบบทีดีที่สดของครู่ ุ ครู คือ วิศวกรรมชันเยี่ยม ้ ครูจะสร้ างลูกศิษย์ให้ เจริ ญรุ่งเรื อง ก้ าวหน้ า มันคง และมังคังที่สด ให้ ยงยืนยาวนาน ครูจะควบคุมการก่อสร้ างทังหมด ่ ่ ่ ุ ั่ ้ ด้ วยตัวครูเอง หวังว่าสักวันหนึงผลงานการก่อสร้ างของครูชินนี ้จะเป็ น หนึงในสิงมหัศจรรย์ของโลก ่ ้ ่ ่ ครู คือ ผู้เจียระไนเพชร ครู คือ ผู้เจียระไนเพชร ลูกศิษย์เป็ นเพชรเม็ดงามที่สดที่ครูจะเจียรไน หวังว่า ครูคงเป็ นช่างเจียรไนที่ดีนะ และ ุ เช่นเดียวกัน เพชรที่
  • 21. ครูจะเจียระไน คงจะเป็ น เพชรนํ ้าเอกทีเ่ ยี่ยมที่ดีที่สดในโลก ุ มีคนเขาบอกว่า การเจียระไนเพชรนันมีหลายระดับฝี มือเพชรก็เช่นเดียวกัน มีทงยอดเยี่ยมและยอดแย่ ดังนี ้ ้ ั้ ๑. ผู้เจียนระไนชันแย่ - เพชรชันแย่ ้ ้ ตโม ตมปรายโม ๒. ผู้เจียระไนชันแย่ - เพชรชันเยี่ยม ้ ้ ตโม โชติปรายโน ๓. ผู้เจียระไนชันเยี่ยม - เพชรชันแย่ ้ ้ โชติ ตมปรายโน ๔. ผู้เจียระไนชันยอด - เพชรชันเยี่ยม ้ ้ โชติ โชติปรายโน หวังว่า ครูกบลูกศิษย์ทกคน คงจะเป็ นผู้เจียระไนชันเยี่ยมและเพชรชันยอดของกันและกันนะ ั ุ ้ ้ ครูคือผู้ปลูกต้ นไม้ ครู คือ ผู้ปลูกต้ นไม้ ต้ นไม้ ที่ควรปลูกมีหลายพันธุ์ หลายชนิด ดังต่อไปนี ้ ๑. ไม้ ล้มลุก ๒. ไม้ ยืนต้ น ๓. ไม้ ดอก ๔. ไม้ ประดับ ๕. ไม้ ผล ครูคิดไม่ตกว่า ครูจะปลูกไม้ ชนิดไหนและพันธุ์ใดดี หากครูเลือกได้ แต่ครูมีสทธิ์หรื อเปล่าที่จะเลือกคัดชนิดและพันธุ์ไม้ ิ ด้ วยตัวครูเอง ครูคิดว่าไม่มีสทธิหรอกนะ ถ้ าอย่างนัน ครูจะปลูกมันทังหมดนันแหละ ิ ้ ้ ้ ต้ นไม้ ของครูคงจะมีคนสนใจบ้ างหรอก น่าจะขายได้ เพราะบางคนก็ชอบไม้ ดอก ไม้ ประดับ หรื อไม้ ผล ขึ ้นอยูกบว่า เขา่ ั จะนําไปใช้ ประโยชน์อะไร แต่หากให้ ครูเลือกทีจะปลูกจริง ๆแล้ ว ครูขอเลือกที่จะปลูก ไม้ ยนต้ น และ ไม้ ผล ก็แล้ วกันนะ เพราะอะไรหรื อก็เพราะ ่ ื ไม้ ยืนต้ น มีรากแก้ วและละต้ นทีแข็งแรง มีแก่ที่ดี มีเปลือก มีกระพี ้ มีกิ่ง มีก้าน สาขาเด่นสง่า มีใบ มีดอก และมีผลที่ ่ สวยงาม ปลูกเพียง ครังเดียวดูแลดี ๆ มีคณประโยชน์ตอเราตลอดชีวิตเลย ้ ุ ่ ไม้ ผล เก็บผลไว้ กินก็ได้ นําผลไปเพาะขยายพันธุ์นาไปปลูกใหม่ได้ อีก ผลเดียวต้ นเดียวงอกงามได้ เป็ นหลายร้ อยหลายพัน ํ ต้ น และหลายล้ านผล ครูอยากให้ ลกศิษย์ของครูทกคนเป็ น ไม้ ยืนต้ น และเป็ นไม้ ผล ครูจะปลูกไปทัวประเทศไทยเลย และทังโลกด้ วย ู ุ ่ ่ ครูไม่อยากให้ ลกศิษย์ของครูเป็ น ไม้ ดอก หรื อ ไม้ ประดับ หรื อไม้ ล้มลุก ที่หาแก่นสารสาระใด ๆไม่คอยจะได้ ดแลรักษา ู ่ ู ก็ยาก ปลูก ตามฤดูกาล ลงทุนก็สง ตายก็งาย เสียเวลามากด้ วย ู ่
  • 22. ต้ นไม้ ของครู นานมาแล้ ว ครูได้ ปลูกต้ นไม้ ไว้ ต้นหนึง เพื่อบังลมหนาวและคอยให้ ร่มเงา ปลูกไง้ เพื่อพวกเราทุก ๆคน ่ ครูใช้ เหงื่อแทนนํ ้ารดลงไป เพื่อให้ ผลิดอกออกกผล ให้ เราทุก ๆคนเติบโตอย่างร่มเย็นในบ้ านเรา ผ่านมาแล้ วนันหลายปี ต้ นไม้ นนสูงใหญ่ ลมแรงเท่าไรก็บรรเทา ออกผลให้ เก็บกิน แตกใบให้ ร่มเงา คอยดูแลเราตลอดไป ้ ั้ จวบวันนี ้ ใต้ เงาแห่งต้ นไม้ ต้นใหญ่ เราจะอยูจะคอยอาศัย แผ่ดนที่กว้ างไกล แต่ครุวาหัวใจของเรากว้ างกว่า ่ ิ ่ เราจะอยูตรงนี ้และยังอยู่ และจะอยูเ่ พื่อคอยรักษา จะรวมกันเข้ ามา และมีเพียงสัญญาในหัวใจ จากวันนี ้ สักหมื่นปี ต้ นไม่ที่ครูปลูก ต้ องสวย ต้ องงดงามและยิงใหญ่ สืบสานและติดตามจากความทีครูตงใจ เหงื่อเรา ่ ่ ั้ จะเทไป ให้ ต้นไม้ ของเรายังงดงาม…….ยังงดงาม (จากแบบเพลง ต้ นไม้ ของพ่อ ) ต้ นไม้ ของครู ครูเคยฝั นเอาไว้ วา ครูจะปลูกต้ นไม้ ที่มี “คุณสมบัตของต้ นไม้ ที่ด” ๑๐ ประการ ดังต่อไปนี ้ ่ ิ ี ๑. มีรากกตัญํูกตเวที ๒. มีแก่นหิริโอตตัปปะ ๓. มีเมล็ดสัจจะ ๔. มีเปลือกทมะ ๕. มีลาต้ นขันติ ํ ๖. มีใบจาคะ ๗. มีสะเก็ดทาน ๘. มีดอกปิ ยะวาจา ๙. มีกิ่งอัตถจริยา ๑๐.มีผลสมานัตตตา ต้ นยอ กับ กอไผ่ ที่โรงเรี ยนของครู ครูได้ ปลูกต้ นไม้ สาคัญอยู่ ๒ ต้ น คือ ต้ นยอ กับ กอไผ่ ไว้ เป็ น “เพื่อนคูคิด มิตรคูคย” ํ ่ ่ ุ ต้ นไม้ ทงสอง เป็ นต้ นไม้ ที่ดมากเลย มันคอยช่วยครูบริ หารงานโรงเรี ยนอยูเสมอยามทีครูคิดอะไรไม่ออกก็บอกกับมันจึงทํา ั้ ี ่ ให้ ครูประสบความสําเร็จอตลอดมา ครูให้ ความนับถือต้ นไม้ ทงสองต้ นนี ้มาก อยากจะยกย่องบูชามันให้ เป็ น “ครูของครู” ั้ ไม้ เรี ยวของครู ไม้ เรี ยวหลวงตาปรารถนาให้ ความฉลาด กินข้ าวก้ นบาตรก็อาจเป็ นรัฐมนตรี อย่าไปถือสา เมื่อตอนหลวงตาจู้จี ้ เด็กวัดถมไปด้ วยดี ด้ วยบารมีหลวงตา
  • 23. ไม้ เรี ยวของครูให้ ความรู้และความสามารถ มือครูสะอาดสร้ างชาติให้ สวยโสภา ดุจโคมสวรรค์สองชีวตอันเจิดจ้ า ่ ิ ศิษย์ครูได้ ร้ ูวชาด้ วยความเมตตาของครู ิ ไม้ เรี ยวอันน้ อยเท่านัน ้ นายพลนายพันจึงมียศอันโก้ หรู ่ จากตัว ก.ไก่ เรื่ อยไปถึง เอ ไอ ยู พระคุณของครูยงใหญ่ดจดังแผ่นฟ้ า ิ่ ุ ไม้ เรี ยวของครูให้ ความรู้และความสามารถ มือครูสะอาดสร้ างชาติให้ พฒนาั อย่าจมเรื อน้ อยที่คอยรับคนข้ ามท่า ไม่มี ครูสอน ก.กา จะได้ ปริ ญญาหรื อไร ที่สวนหย่อมและสนามหญ้ าบริ เวณรอบ ๆ โรงเรี ยน ครูก็ได้ ปลูกหญ้ าแพรกแซกไปทัวสนาม ยังมีต้นดอกมะเขือ และดอก ่ เข็มแดงแซมแซง ไปด้ วย ช่างสวยงามจริ ง ๆ ต้ นไม้ เหล่านี ้ แม้ มนจะเป็ นแค่ไม้ ดอกไม้ ประดับ มันก็ทําให้ โรงเรี ยนของครูสวยงามและมีความหมายทีดี ั ่ ครูให้ นกเรี ยนช่วยกันทําแปลง นาสาธิตอยูแปลงหนึงข้ างหลังอาคารเรี ยน เอาไว้ ให้ นกเรี ยนปลูกข้ าว เพราะบ้ านเราเป็ น ั ่ ่ ั ประเทศเกษตรกรรม พอถึงฤดูเก็บเกี่ยว เกี่ยวข้ าวแล้ ว เราก็นาข้ าวเปลือกมาคัวเป็ น “ข้ าวตอก” แจกกันกินอย่างเอร็ ดอร่อยดี ํ ่ ครูคิดว่า หากลูกศิษย์ของครูทกคน เป็ นดังหญ้ าแพรก ข้ าวตอก ดอกมะเขือ และดอกเข็มแดง คงจะดีไม่น้อยเลย ครู ุ ่ คงจะไม่เหนื่อยเปล่า………. โชคดีที่เชื่อครู อยูบ้านเป็ นคนดีต้องทําดีพอแม่สอนมา อีกลุงปาน้ าอาสังสอนมาต้ องสนใจ ใครจะชวนหรื อมายัวยุ จงกลัว หนูจงอย่า ่ ่ ้ ่ ่ เชื่อใคร เพราะหนูยง ั เป็ นเด็ก อนาคตสดใส ถ้ ามีรอยด่างบนเส้ นทางคงมืดมน เมื่อหนูมาโรงเรี ยน ต้ องพากเพียรทุกวิธี เจอะแต่ครูดีดีทานหวังดีกบหนูทกคน มีอะไรที่ยงไม่ร้ ู คุณครูทานสอนท่าน ่ ั ุ ั ่ ฝึ กฝน หนูจะสบาย ไม่ต้องกลัวอับจน ไม่ต้องหมองหม่น ถ้ าหนูทกคนเชื่อคุณครู ุ [อยากให้ ครูงามเด่นเช่นอาทิตย์ ส่องชีวิตของมวลชนคนทุกถิ่น เป็ นความหวังพลังขวัญจรรโลงจินต์ ให้ ชีวินพัฒนาเติบกล้ าไกล เพราะครูเป็ นพลังสังคมนี ้ สร้ างชีวีพฒนาเติบกล้ าได้ ั มีคณครูคโลกาฟ้ าอําไพ ุ ู่