SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
ประวัติศาสตร์ศิลป์และการออกแบบ
อุตสาหกรรม
History of Art & Industrial Design
(02246108)
ปีการศึกษา 2558
www.facebook.com/HISOFART&ID
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
(Industrial Revolution)
Thursday, November 26, 2015
โทมัส นิวโคเม็น (Thomas Newcoman) นักประดิษฐ์ เครื่องจักรไอน้ํา
(Atmospheric steam engine) ประมาณปี ค.ศ.1805
Thursday, November 26, 2015
การทํางานของผู้หญิงในโรงงานทอผ้า ประมาณปี ค.ศ.1805
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงในวิธีการและ
ระบบการผลิต จากการใช้แรงงานคนและสัตว์รวม
ทั้งพลังงานธรรมชาติ มาเป็นการใช้เครื่องมือและ
เครื่องจักรกลแบบง่ายๆ จนถึงแบบสลับซับซ้อนที่มี
ประสิทธิภาพรวดเร็ว และมีกําลังการผลิตสูง จน
เกิดเป็นระบบโรงงานแทนการผลิตในครัวเรือน
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศ
อังกฤษในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18
Thursday, November 26, 2015
สาเหตุของการปฎิวัติ
อุตสาหกรรมในประเทศ
อังกฤษ
Thursday, November 26, 2015
สาเหตุของการปฎิวัติอุตสาหกรรม
ในประเทศอังกฤษ
ปัจจัยที่ 1 : อังกฤษเป็นประเทศที่ร่ํารวยที่สุดในโลก
: ความร่ํารวย จากการค้าทาส ปล้นสดมภ์ สงคราม
การค้า อังกฤษมีอาณานิคมที่อยู่โพ้นทะเลที่เป็นแหล่ง
วัตถุดิบและตลาดทั้งใน ทวีปเอเชียและอเมริกา จนในที่สุด
การค้าได้กลายเป็นนโยบายหลักของประเทศ
: ความร่ํารวยได้กระจายตัวจากระดับขุนนางผู้ดี สู่
ชนชั้นกลาง โดยพ่อค้า การสะสมเงินจากการค้าขาย
รัฐบาลจัดตั้งธนาคารกลางของอังกฤษ (Bank of England,
ค.ศ.1694) เป็นแหล่งระดมเงินทุนของรัฐ การลงทุนใน
อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าต่างๆ
Thursday, November 26, 2015
สาเหตุของการปฎิวัติอุตสาหกรรม
ในประเทศอังกฤษ
ปัจจัยที่ 2 : การเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม เจ้าขุนมูลนาย ไป
สู่สังคมพาณิชยกรรม
: เกิดการยอมรับวิถีการเปลี่ยนแปลงด้านพาณิช
ยกรรม ของกลุ่มเจ้าขุนมูลนายแม้ว่าจะมีความขัดแย้ง
ระหว่างกลุ่มผู้มีอํานาจเก่า ผู้ร่ํารวยที่ดิน และกลุ่มผู้มีอํานาจ
การเงินใหม่ คือพ่อค้าพานิชย์ ขุนนางบางส่วนก็เปลี่ยนมา
ทําการค้า
: การยอมรับการซื้อขายและระบบเศรษฐกิจแบบ
ตลาด ความต้องการสินค้า การผลิตสินค้าคราวละมากๆ
Thursday, November 26, 2015
สาเหตุของการปฎิวัติอุตสาหกรรม
ในประเทศอังกฤษ
ปัจจัยที่ 3 : อังกฤษเป็นศูนย์กลางของวิทยาศาสตร์ และ
วิศวกรรม (เซอร์ไอแซค นิวตัน : ประธานผู้บริหารของราช
สมาคมแห่งลอนดอน (The Royal Society of London)) ในปี
ค.ศ.1703) และมีมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด (Oxford
University, ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1167) ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งแรกใน
ประเทศอังกฤษ เป็นแหล่งสรรพวิชา และมหาวิทยาลัยเคม
บริดจ์ (Cambridge University, ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1209) ที่เน้น
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ และได้รับการ
สนับสนุนจากราชวงศ์อังกฤษ
Thursday, November 26, 2015
มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด (Oxford University) ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.1167
Thursday, November 26, 2015
เซอร์ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton)
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ
ค.ศ. 1750
ปัจจัยที่ 4 : อังกฤษมีทรัพยากรประเภทถ่านหินและแร่เหล็ก
จึงสามารถนําถ่านหินมาเป็นเชื้อเพลิงของเครื่องจักรไอน้ํา
และเป็นต้นทางของการถลุงเหล็ก และนําเหล็กไปใช้ในงาน
อุตสาหกรรม
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ
ค.ศ. 1750
ปัจจัยที่ 5 : อังกฤษมีระบบคุ้มครองสิทธิบัตรและลิขสิทธิ์ มี
นักประดิษฐ์จํานวนมาก ที่ได้คิดค้นกลไก เครื่องจักรกล
ใหม่ๆ ซึ่งนํามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง และ
ภาครัฐมีการคุ้มครองความคิด ทําให้เกิดความก้าวหน้าใน
การพัฒนา
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ คือ
1. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก “สมัยของ
เครื่องจักรไอน้ํา” ในระหว่าง ค.ศ 1760-1840
เป็นระยะที่มีการประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการ
ผลิตและการปรับปรุง โรงงานอุตสาหกรรมให้
มีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องจักรไอน้ํา เครื่องปั่น
ด้าย เครื่องทอผ้า เป็นต้น
Thursday, November 26, 2015
การนํากี่กระตุก (Flying Shuttle) ไปใช้ในกระบวนการทอผ้า ซึ่ง
ช่วยให้ช่างทอผ้าสามารถผลิตผ้าได้มากกว่าเดิมถึง 2 เท่า โดย
นักประดิษฐ์ จอห์น เคย์ (John Kay) ในปี ค.ศ. 1733
Thursday, November 26, 2015
ในปี ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮาร์กรีฟส์ (James Hargreaves) สามารถ
ผลิตเครื่องปั่นด้าย (Spinning Jenny) ได้สําเร็จ
Thursday, November 26, 2015
ในปี ค.ศ. 1769 ริชาร์ด อาร์กไรต์ (Richard Arkwright) ได้
ปรับปรุง เครื่องปั่นด้ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และพัฒนาเป็น
เครื่องจักรกลที่ใช้พลังน้ําหมุนแทนพลังคนเรียกว่า Water Frame
ทําให้เกิดโรงงาน ทอผ้าตามริมฝั่งแม่น้ําทั่วประเทศ
Thursday, November 26, 2015
การนําเครื่องปั่นด้าย (Spinning Mule) ไปใช้ในกระบวนการผลิต
เส้นด้าย ช่วยทําให้เพิ่มการใช้ฝ้ายในอุตสาหกรรมโดยนัก
ประดิษฐ์ แซมมวล ครอมป์ตัน (Samuel Crompton)
ในปี ค.ศ.1779
Thursday, November 26, 2015
ในปี ค.ศ. 1784 เอ็ดมัน คาร์ทไรท์ (Edmund Cartwright) ประดิษฐ์
เครื่องจักรทอผ้า (Power loom) ก่อนที่จะพัฒนาต่อมาในยุคหลัง
Thursday, November 26, 2015
อีไล วิตนีย์ (Eli Whitney) สามารถประดิษฐ์เครื่อง แยกเมล็ดฝ้าย
ออกจากใย (Cotton Gin) ได้เมื่อ ปีค.ศ. 1793
Thursday, November 26, 2015
Machinery XVIII James Watt steam machine. The Industrial Revolution lead to the emergence of machines
Thursday, November 26, 2015
การประดิษฐ์ที่พัฒนาควบคู่กับการทอผ้า คือ การประดิษฐ์
เครื่องจักรไอน้ํา โดยเจมส์ วัตต์ (James Watt) ชาวสกอตแลนด์
ประดิษฐ์ได้ใน ค.ศ. 1769 โดยใช้ขับเคลื่อนเครื่องจักรกลแทน
พลังงานน้ํา ทําให้มีการนําไปใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• การปรับปรุงการคมนาคมและการสื่อสาร ซึ่ง
เป็นผลมาจากความสําเร็จของอุตสาหกรรม
เหล็ก และเครื่องจักรไอน้ํา นําพลังงานไอน้ํา
มาขับเคลื่อนรถบรรทุก รถจักรไอน้ําจึงมี
บทบาทสําคัญใน อุตสาหกรรมขนส่งสินค้า
และปรับมาเป็นการขนส่งมนุษย์
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเหล็ก เมื่อมีการพัฒนา
เครื่องจักร กลไอน้ํา ทําให้อุตสาหกรรมเหล็กขยาย
ปริมาณการผลิตได้อย่างรวดเร็ว และเมื่อเฮนรี
คอร์ต (Henry Cort) ชาวอังกฤษ คิดค้นวิธีการ
หลอมเหล็ก (Pudding process) ให้มีคุณภาพดีขึ้น
เป็นเหล็กรูปพรรณ ในปี ค.ศ. 1783 ก็ส่งผลให้มีการ
ปรับปรุงคุณภาพของปืนใหญ่ ตลอดจนอาวุธ
ยุทโธปกรณ์ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
Thursday, November 26, 2015
The London Steam Carriage, by Trevithick and Vivian, demonstrated in London in 1803.
Thursday, November 26, 2015
รถรางขับเคลื่อนด้วยพลังไอน้ํา โดยนักประดิษฐ์ ริชาร์ด เทรวิ
ทิคก์(Richard Trevithick) ในปี ค.ศ. 1804
Thursday, November 26, 2015
หัวรถจักรเคลื่อนด้วยพลังไอน้ํา โดยนักประดิษฐ์ จอร์จ สตีเฟนสัน
(George Stephenson) จาก The Killingworth Colliery Railway
ในปี ค.ศ. 1816
Thursday, November 26, 2015
บริษัทรถไฟสต็อกตันและดาร์ลิงตันได้แต่งตั้ง จอร์จ
สตีเฟนสันเป็นวิศวกรในปี ค.ศ. 1821 ในขณะเส้นทาง
เดิมตั้งใจที่จะใช้ม้าลาก แต่สตีเฟนสันดําเนินการ
สํารวจเส้นทางใหม่ที่จะสามารถขนส่งสินค้าจากรถ
พลังไอน้ํา นอกจากนี้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมใน
ภายหลังเพื่อให้การใช้งานของหัวรถจักรไอน้ําสามารถ
บรรทุกผู้โดยสารและบรรทุกสินค้าได้พร้อมกัน เส้น
ทางยาว 40 กิโลเมตรนี้จึงเปิดขึ้นในวันที่ 27 กันยายน
1825 ทําให้หัวรถจักรพลังไอน้ําสตีเฟนสัน No. 1 จึง
เป็นหัวรถจักรไอน้ําที่บรรทุกผู้โดยสารสาธารณะเป็น
ครั้งแรกในโลก
Thursday, November 26, 2015
หัวรถจักรไอน้ํา ชื่อ ร็อกเกต (Rocket) ของจอร์จ สตีเฟนสัน
(George Stephenson) ในปี ค.ศ. 1829
Thursday, November 26, 2015
หัวรถจักรถูกสร้างขึ้นโดย (Robert Stephenson and Company) ใน
เมืองนิวคาส์เซล อับพอน ไทน์ (Newcastle upon Tyne) เพื่อเข้าแข่งขัน
และชนะเลิศ (The Rainhill Trials) จัดโดย (The Liverpool &
Manchester Railway) เนื่องจากเป็นงานออกแบบที่ดีที่สุดสําหรับเป็นหัว
รถลากในทางรถไฟ
Thursday, November 26, 2015
หัวรถจักรไอน้ํา "นอร์ทสตาร์" (The North Star) เป็นหัวรถจักร
สําหรับรางแบบกว้าง ถูกสร้างขึ้นโดย บริษัท โรเบิร์ตสตีเฟนสัน
(Robert Stephenson Company) ในปี ค.ศ. 1837 ทิ้งในปี ค.ศ.1906
Thursday, November 26, 2015
เรือพลังไอน้ํา ชื่อ SS Great Western เดินเรือระหว่างบริสตอลกับ
นิวยอร์ค ช่วงปี ค.ศ. 1838-1846
Thursday, November 26, 2015
โรงงาน The Engine House ในสวินดอน (Swindon) ประเทศ
อังกฤษ จากภาพพิมพ์ของ J.C.Bourne ปี ค.ศ. 1846
Thursday, November 26, 2015
เตาหลอมเหล็กกล้า (Bessemer converter) ของเซอร์ เฮนรี่
เบซเซ็มเมอร์ (Sir Henry Bessemer) ในปี ค.ศ. 1856
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ คือ
2. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ.
1860- 1914 หรือเรียกว่า“ยุคเหล็กกล้า” (Age of
Steel) การนําความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา
ประยุกต์ใช้ในการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่าง
แท้จริง อุตสาหกรรมที่สําคัญ คือ อุตสาหกรรม
ผลิตเครื่องจักรกลที่ทําด้วยเหล็กกล้า (Steel) และ
อุตสาหกรรมเคมี  
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• และเป็นยุคที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากก๊าซ
ธรรมชาติ น้ํามันปิโตรเลียม และไฟฟ้า (ส่วนถ่านหิน
และเครื่องจักรไอน้ําลดความสําคัญลง) ส่งผลให้
อุตสาหกรรมของทวีปยุโรปขยายตัวอย่างรวดเร็วโดย
เฉพาะเมื่อเหล็กกล้ามีราคาถูกลงทําให้อุตสาหกรรม
หนัก เช่น การต่อเรือ การคมนาคม และการผลิต
เครื่องจักรกลต่าง ๆ พัฒนาก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น         
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• การขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในทวีป
ยุโรป ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มี
ประเทศในภาคพื้นยุโรปหลายประเทศประสบผล
สําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดย
เฉพาะเยอรมันกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรม
ก้าวหน้าและเป็นคู่แข่งที่สําคัญของอังกฤษ
Thursday, November 26, 2015
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
• การเกิดประเทศผู้นําด้านอุตสาหกรรมของโลก ก่อน
สงครามโลก ครั้งที่ 1(ค.ศ.1914-1918) อังกฤษยังคง
มีฐานะเป็นประเทศผู้นําทางด้านเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรมชั้นนําของโลก โดยเยอรมันเป็นประเทศ
ที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงมากที่สุด จนกระทั้งใน
ปี ค.ศ.1920 จึงเกิดประเทศคู่แข่งสําคัญเพิ่ม
ขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต และญี่ปุ่น 
Thursday, November 26, 2015
ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม
หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม
แหลงเศรษฐทรัพย การเกษตรกรรม
การพาณิชยกรรม
แหลงเศรษฐทรัพย การเกษตรกรรม
การพาณิชยกรรม
การผลิตทางอุตสาหกรรม
ผลกระทบจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม
Thursday, November 26, 2015
ภาพกาน้ําชาจากเงิน (Silver Teapot) ของเจมส์ ฟรายด์ (James
Frey) เมืองดับลิน ในปี ค.ศ. 1826-27
Thursday, November 26, 2015
Industrialization
Thursday, November 26, 2015
ผลกระทบของการปฎิวัติ
อุตสาหกรรม
• การเกิดความบาดหมาง (Alienation) ระหว่างชนชั้น
ทางสังคม ชนชั้นกรรมกร ช่างฝีมือแรงงานและ กลุ่ม
ชนชั้นผู้นํา พ่อค้า เจ้าของโรงงาน
• กลุ่มนายทุนร่ํารวยจากการค้า และกลุ่มคนงานมีราย
ได้ไม่สูงและลําบาก
• การเกิดสังคมเมือง แออัด สกปรก และโรคระบาด
• ปัญหามลภาวะและสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตราย
Thursday, November 26, 2015
ภาพอาคารเรือนกระจก (The Crystal Palace) สถานที่จัดงาน
The Great Exhibition ครั้งแรกของโลกที่กรุงลอนดอน ในปี
ค.ศ. 1851
Thursday, November 26, 2015
การปฎิเสธความเรียบง่าย
ของระบบอุตสาหกรรม
Thursday, November 26, 2015
 ภาพพระคริสต์ในบ้านของผู้ปกครอง “Christ In the House of His
Parents” โดย จอห์น อเวอเร็ต มิลเลส์ (John Everett Millais) ปี ค.ศ.
1850
Thursday, November 26, 2015
การเคลื่อนไหวทางศิลปะ
และหัตถกรรม
(Art and Craft Movement)
Thursday, November 26, 2015
การเคลื่อนไหวทางศิลปะและหัตถกรรมเกิดมาจาก
ความพยายามที่จะปฏิรูปการออกแบบและการตกแต่ง
การเกิดปฏิกิริยากับรูปแบบร่วมสมัย นักปฏิรูปที่
เกี่ยวข้องกับเรื่องการผลิต ส่วนหนึ่งเป็นปฏิกิริยาต่อ
ต้านรูปแบบของงานต่างๆที่แสดงในนิทรรศการใหญ่
(The Great Exhibition) ซึ่งเป็นความหรูหราจอมปลอม
และไม่ใส่ใจคุณภาพของวัสดุที่ใช้ นักประวัติศาสตร์
ศิลปะนิโคลัส เพฟเนอร์ (Nicolas Pevsner) ได้กล่าวว่า
“ผลงานในนิทรรศการแสดงให้เห็นถึงความไม่รู้ความ
ต้องการขั้นพื้นฐานในการสร้างรูปแบบความสมบูรณ์
ของพื้นผิวรายละเอียด จึงได้งานที่หยาบกระด้าง".
Thursday, November 26, 2015
การเคลื่อนไหวทางศิลปะและ
หัตถกรรม
• จอห์น รัสกิน (John Ruskin) สรุปว่าศิลปะของงาน
สถาปัตยกรรมนั้นจะต้องเริ่มด้วยการค้นหารูปแบบ
ของงาน ด้วยการสร้างสรรค์ประยุกต์ร่วมกับศาสตร์
ต่างๆหลายแขนง
• ทําอย่างไรจึงจะสร้างความสมดุลย์ระหว่าง สถาปนิก
นักออกแบบและช่างฝีมือ และนําศิลปหัตถกรรมเชิง
ช่าง (Handcraftsmanship) ไปผลิตของที่ถูกออกแบบ
มาอย่างดีและราคาไม่แพง เป็นวัตถุในชีวิตประจําวัน
Thursday, November 26, 2015
การเคลื่อนไหวทางศิลปะและ
หัตถกรรม
• กลุ่มสถาปนิก นักออกแบบที่ออกมาเคลื่อนไหว
ต่อต้านงานออกแบบในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม
• นําโดยวิลเลียม มอริส (William Morris, ค.ศ.
1834 –1896) ชาร์ล อาร์ แอชบี (Charles R.
Ashbee, ค.ศ.1863 –1942) วิลเลียม อาร์ เลท
ทาบี (William R. Lethaby, ค.ศ.1857 - 1931)
และ ซีอาร์ วอยเซญ์
Thursday, November 26, 2015
การเคลื่อนไหวทางศิลปะและ
หัตถกรรม
• หลักการของกลุ่มคือ ความซื่อสัตย์ (Honesty)
• Design Unity (งานออกแบบเป็นหนึ่งเดียวกัน)
• Joy in Labour (มีความรื่นรมณ์ในการทํางาน)
• Individualism (ปัจเจกชนและทักษะเชิงช่าง)
• Regionalism (ท้องถิ่นนิยม)
Thursday, November 26, 2015
William Morris
(1834 –1896)
Thursday, November 26, 2015
ภาพกระดาษติดผนัง (Trellis Wallpaper) ลายดอกกุหลาบ
โดยวิลเลียม มอริส (William Morris)
Thursday, November 26, 2015
ภาพผ้าม่าน (Tapestry) และกระดาษติดผนัง (Wallpaper) ของ
บริษัทมอริสและคอมพานี กรุงลอนดอน
Thursday, November 26, 2015
ภาพเก้าอี้ของมอริสและคอมพานี (Morris & Co.)
กรุงลอนดอน ก่อตั้งในปี ค.ศ.1861
Thursday, November 26, 2015
Charles R.Ashbee
(1863 –1942)
Thursday, November 26, 2015
• ก่อตั้งสมาคมช่างและโรงเรียนหัตถกรรม (Guild and
School of Handicraft) ในปี ค.ศ.1888, ในสลัมของ
โบสถ์ขาว (White Chapel)
• การแสวงหาไม่เพียง แต่จะตั้งมาตรฐานที่สูงขึ้นของ
งานฝีมือ แต่ในช่วงที่ทํางานควรดําเนินการเพื่อ
ปกป้องสถานะของช่างฝีมือด้วย จึงพยายามที่จะให้
ค่าเฉลี่ยระหว่างความเป็นอิสระของศิลปิน ซึ่งเป็น
ปัจเจกและมักจะถูกลดทอนลง กับผลงานในร้านค้าที่
คนงานถูกโยงไว้กับรูปแบบเชิงพาณิชย์อย่างหมดจด
อยู่ในกฎระเบียบและไม่มีส่วนในธุรกิจ หรือความ
สนใจเกินกว่าค่าจ้างรายสัปดาห์ของคนงาน
Thursday, November 26, 2015
ภาพถ้วย (Chalice) ของ ชาร์ล อาร์ แอชบี (Charles R.
Ashbee) ในปีค.ศ.1903
Thursday, November 26, 2015
ภาพโถใส่น้ําจากแก้วรอบเงิน (Silver Mounted Decantor)
ของ ชาร์ล อาร์ แอชบี (Charles R.Ashbee) ปีค.ศ.1905
Thursday, November 26, 2015
ภาพชั้นวางของจากวีเนียร์ไม้มะฮ็อกกานี (MahoganyVeneered
Etagere) ของ ชาร์ล อาร์ แอชบี (Charles R.Ashbee)
Thursday, November 26, 2015
ภาพตู้ (Cabinet) ของ ชาร์ล อาร์ แอชบี (Charles R.Ashbee)
ในปีค.ศ.1906
Thursday, November 26, 2015
William R. Lethaby
(1857 - 1931)
Thursday, November 26, 2015
ภาพอาคารเลขที่ 122-124 ถนน Colmore Row ในเบอร์มิ่งแฮม
ออกแบบโดยของ วิลเลียม อาร์ เลททาบี
(William R. Lethaby) สร้างเสร็จในปีค.ศ.1900
Thursday, November 26, 2015
คําถาม
Thursday, November 26, 2015

More Related Content

What's hot

เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2Kritsada Changmai
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 

What's hot (20)

เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 

9 industrialrevolution&art&craft