SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
เซลล์ (CELL)
 เซลล์ คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต เซลล์ การศึกษาต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงหรือ
อิเล็กตรอน
องค์ประกอบของเซลล์
1. ส่วนห่อหุ้ม เป็นส่วนที่ป้องกันอันตรายให้กับเซลล์มี 2 ชนิด
 1.1 ผนังเซลล์ ชั้นนอกสุดของเซลล์พืชไม่พบในเซลล์สัตว์ โครงสร้างหลัก คือ เซลลูโลส ทาให้คง
รูปร่างและเจริญตั้งตรงต้านทานแรงโน้มถ่วงของโลกได้
 1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ในเซลล์พืชจะอยู่ถัดจากผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก
คือ สารพวกไขมันเรียงตัวเป็น 2 ชั้นและมีโปรตีนแทรกอยู่
องค์ประกอบของเซลล์
2. นิวเคลียส เป็นศูนย์ควบคุมการทางานของเซลล์มีหน้าที่ ดังนี้
 2.1 ถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม โดยมีโครโมโซมเป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม
 2.2 ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
 2.3 ควบคุมการแบ่งเซลล์
องค์ประกอบของเซลล์
3. ไซโทพลาซึม เป็นของเหลวที่อยู่ภายในเซลล์ ซึ่งมีออร์แกเนลล์ที่เป็นโครงสร้างที่ทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
 3.1 ร่างแหเอนโดพลาซึม สังเคราะห์และลาเลียงโปรตีน (RER) และบางส่วนทาหน้าที่สังเคราะห์
ไขมัน (SER)
 3.2 กอลจิคอมเพลกซ์ เก็บรวบรวมโปรตีนและไขมันมาจากร่างแห เพื่อส่งไปยังภายในหรือนอกเซลล์
 3.3 ไรโบโซม สังเคราะห์โปรตีน แหล่งที่พบ คือ ร่างแหเอนโดพลาซึม ลอยอิสระในไซโทพลาซึม/ไม
โทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์
 3.4 ไมโทคอนเดรีย ผลิตสารพลังงานสูง คือ ATP เพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์
 3.5 คลอโรพลาสต์เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะเซลล์พืช มีบทบาทในการสังเคราะห์น้าตาลโดยใช้
แสง
 3.6 ไลโซโซม เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีลักษณะเป็นถุงซึ่งภายในมีเอนไซม์
 3.7 เซนทริโอล เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีหน้าที่สร้างเส้นใยสปินเดิลใช้ในการแยก
โครโมโซมระหว่างแบ่งเซลล์
ออร์แกเนลล์
ความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. มีลักษณะเป็นเหลี่ยม
2. มีผนังเซลล์อยู่ภายนอก
เยื่อหุ้มเซลล์
3. มีคลอโรพลาสต์
4. ไม่มีเซนทริโอล
5. มีแวคิวโอลขนาดใหญ่
6. ไม่มีไลโซโซม
1. มีลักษณะกลม หรือรี
2. ไม่มีผนังเซลล์
มีเฉพาะเยื่อหุ้มเซลล์
3. ไม่มีคลอโรพลาสต์
4. มีเซนทริโอล
5. มีแวคิวโอลขนาดเล็ก
6. มีไลโซโซม
8
Cell ?
การลาเลียงสารผ่านเซลล์ เซลล์จาเป็นต้องรับและกาจัดสารเข้าและออกจากเซลล์
เพื่อการดารงชีวิต
1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
1.1 การแพร่ 1.2 การออสโมซิส
1.3 การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต 1.4 การลาเลียงแบบใช้พลังงาน
2. การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
2.1 เอกโซไซโทซิส 2.2 เอนโดไซโทซิส
1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
1.1 แบบไม่อาศัยพลังงาน
- การแพร่ คือ การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารโดยพลังงานจลน์ที่อยู่ในสารทาให้ไม่หยุดนิ่งจึงเกิดการ
กระทบกันระหว่างอนุภาค ดังนั้นบริเวณที่มากจะกระทบกันมากจึงกระจายออกเป็นบริเวณกว้าง เช่น
ออกซิเจนในถุงลมเข้าสู่เส้นเลือดฝอยที่หุ้มถุงลม ธาตุอาหารจากดินเข้าสู่รากพืช
- การออสโมซิส คือ การแพร่ของน้าผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีอนุภาคของน้ามากไปบริเวณที่น้อยกว่า
หรือจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายเจือจางไปบริเวณที่มากกว่า : ไอโซโทนิก ไฮโปโทนิก และ
ไฮเปอร์โทนิก
- การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต เป็นการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ในทิศทางเดียวกับการแพร่แต่รวดเร็ว
กว่าหลายเท่าตัว เพราะมีโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพา เช่น การลาเลียงกลูโคส กรดอะมิโนไอออนต่างๆ
ผ่านเยื่อหุ้ม
1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
1.2 แบบอาศัยพลังงาน
- การลาเลียงแบบใช้พลังงาน เป็นการลาเลียงสารจากที่ความเข้มข้นต่าไปบริเวณที่มีความ
เข้มข้นสูงโดยมีโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพาและใช้พลังงาน ATP จากเซลล์ เช่น การดูด
ซึมกลูโคสที่ผนังลาไส้เล็กจะดูดซึมตลอดเวลา การลาเลียงไอออนของโซเดียมและโพแต
สเซียมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ประสาทระหว่างการส่งกระแสประสาท
?
2. การลาเลียงสารไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ขนาดโมเลกุลใหญ่ที่ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้ม : อยู่ในถุง
(Vesicle) ได้แก่
2.1 เอกโซไซโทซิส เป็นการส่งสารที่ขนาดโมเลกุลใหญ่ออกสู่นอกเซลล์โดยการเชื่อมถุงกับเยื่อหุ้มเซลล์และ
เกิดการหลั่งสารออก เช่น การหลั่งเอนไซม์จากลาไส้เล็กและกระเพาะหรือการลาเลียงฮอร์โมนอินซูลินจาก
เซลล์ตับอ่อน
2.2 เอนโดไซโทซิส เป็นการลาเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยสารเหล่านั้นจะดันเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปใน
ไซโทพลาซึมจนเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิททาให้เกิดถุงภายในไซโทพลาซึมและถุงน้าย่อยในเซลล์จะย่อยใช้ประโยชน์
ต่อไป : ฟาโกไซโทซิส (กิน) และพิโนไซโทซิส (ดื่ม)
@ บางครั้งจะมีความจาเพาะเจาะจง โดยมีโปรตีนเป็นตัวพาที่มีความจาเพาะเจาะจงต่อสารทาให้เกิดการนา
สารเข้า
กลไกการรักษาดุลยภาพ สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีระบบรักษาสมดุลของร่างกาย เพื่อทาให้ดารงชีวิตได้ปกติ
1. การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การคายน้าจะทาให้เกิดการลาเลียงแร่ธาตุ และดูดน้าเข้าเพื่อเม
แทบอลิซึมต่างๆ ดังนั้น น้าที่คายออก = การดูดน้าเข้าที่ราก โครงสร้างในการควบคุม คือ ปากใบ (เซลล์
คุม 2 เซลล์ประกบกันภายในมีคลอโรพลาสต์จึงสังเคราะห์แสงได้และเกิดการออสโมซิส) ซึ่งเปิด : เพิ่ม
การคายน้า และ ปิด : ลดการคายน้า
ปัจจัยที่มีผลต่อการปิดเปิดของปากใบ
1. ความเข้มของแสงสูงสังเคราะห์ด้วยแสงมากปากใบเปิด
2. ความชื้นในอากาศ ถ้ามากปากใบปิด (ระเหยยาก)
3. ปริมาณน้าในดิน ถ้าน้อยปากใบปิด (ลดการสูญเสีย)
2. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่อาศัยอยู่ในน้า เช่น อะมีบา พารามี
เซียม จะมีโครงสร้างภายในเซลล์ที่เรียกว่า คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ท้าหน้าที่ก้าจัดน้าและของเสีย
ออกเพื่อรักษาระดับความเข้มข้นของสารภายในและป้องกันไม่ให้เซลล์แตก
3. การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในปลา น้าและแร่ธาตุที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมจะเคลื่อนเข้าและออกจาก
เซลล์ตลอดเวลา ขึนกับความเข้มข้นของสารละลายภายในร่างกายกับสิ่งแวดล้อม (กระบวนการล้าเลียง
แบบใช้พลังงาน)
4. การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในร่างกายของคน มีน้าประมาณ 65%-70% ถ้าปริมาณน้ามาก
หรือน้อยกว่านี้จะเสียดุลยภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย อวัยวะที่รักษาดุลย
ภาพของน้าและสารต่างๆ คือ ไต
ไตของคนมี 2 ข้าง อยู่ในช่องท้องบริเวณเอว คล้ายเม็ดถั่วแดง ทาหน้าที่รับของเสียที่มากับเลือดเพื่อ
กรองของเสียออกทางท่อไตและเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อขับออกจากร่างกายทางท่อปัสสาวะ
ภายในเนื้อไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต จานวนมากประมาณ 1 ล้านหน่วย ประกอบด้วย โกล
เมอรูลัส ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยและท่อหน่วยไต
การทางานของไต เส้นเลือดแดง (ออกซิเจนและของเสีย)  โกลเมอรูลัส (พลาสมาผ่าน) โบว์
แมนส์ แคปซูล กรองมีทั้งสารประโยชน์และของเสีย)  ท่อของหน่วยไต (ดูดกลับของสารที่มี
ประโยชน์เข้าสู่เส้นเลือดฝอยที่ปกคลุมสู่กระแสเลือด)
สาหรับสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณทะเล จะกินอาหารจากทะเลทาให้ได้รับเกลือแร่ในร่างกายเกินความ
จาเป็นจึงต้องขับเกลือออกในรูปน้าเกลือเข้มข้น
สารกรองผ่านโกลเมอรูลัส แยกเป็นกลุ่ม ดังนี้
1. สารที่เป็นของเสีย ได้แก่ ยูเรีย ยูริก ต้องกาจัดออกจากร่างกาย จึงพบในน้าปัสสาวะมาก
2. สารที่ไม่ใช่ของเสีย แต่มีมากเกินไป ส่วนหนึ่งเก็บไว้และบางส่วนกาจัดออก เช่น น้าและแร่ธาตุ
3. สารที่มีประโยชน์แต่ถูกกรองผ่าน เช่น กลูโคส กรดอะมิโน โปรตีน จะไม่พบในปัสสาวะเพราะดูดกลับหมด
4. สารที่ไม่สามารถกรองผ่านโกลเมอรูลัส คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง
ในกระบวนการดูดกลับ จะใช้วิธีการแพร่ การออสโมซิสและการลาเลียงแบบใช้พลังงาน สาหรับการดูด
กลับของนา
ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต
1. ร่างกายขาดน้า เช่น เล่นกีฬา ทางานหนัก ท้องเสีย จะทาให้เลือดข้น ความดัน-เลือดต่า ต้องได้รับน้าทดแทน
2. โรคเบาหวาน ถ้าเกิดภาวะติดเชื้อแบคทีเรียทาให้โกลเมอรูลัสเสียสมบัติในการกรอง ทาให้พบอัลบูมินในปัสสาวะ
3. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เกิดจากการกลั้นปัสสาวะทาให้เกิดการสะสมแบคทีเรีย
4. นิ่วในไต เกิดจากการบริโภคผักที่มีออกซาเลตสูง เช่น ผักโขม ใบชะพลู แต่สามารถป้องกันได้โดยทานโปรตีน
5. ไตวาย ไม่สามารถทางานได้ อาจมีสาเหตุจากติดเชื้อรุนแรง การสูญเสียเลือด/ของเหลวมาก เบาหวานนานหรือนิ่ว
5. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีเกือบทังหมดในกระบวนการเมแทบอลิซึมใน
ร่างกายควบคุมโดยเอนไซม์ ซึ่งเอนไซม์แต่ละชนิดจะท้างานได้ในสภาพ pH ที่แตกต่างกัน เช่น ในกระเพาะ (กรด)
ล้าไส้เล็ก (เบส) ในร่างกายเกิดจากปฏิกิริยาของการหายใจ (กรด) สามารถท้าได้ 3 วิธี คือ
6. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย มีผลต่อการท้างานของเอนไซม์ เพราะโปรตีนจะเสีย
สภาพโดยปกติอุณหภูมิภายในร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8-37.7 องศาเซลเซียส ถ้าสูงหรือต่้ากว่านีจะท้าให้
เอนไซม์ไม่สามารถท้างานได้ จึงส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ศูนย์กลางควบคุม คือ สมองส่วนไฮโพทาลามัส
สัตว์เลือดอุ่น เป็นสัตว์ที่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิร่างกายได้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม
เช่น สัตว์เลียงลูกด้วยนม สัตว์ปีก
สัตว์เลือดเย็น เป็นสัตว์ที่ไม่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ จะท้าให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ตามสิ่งแวดล้อม เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์เลือยคลาน
ภูมิคุ้มกัน เป็นกลไกการป้องกันตนเองจากโรค ซึ่งเชือโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง
(สิ่งแปลกปลอม เรียกว่า แอนติเจน)
การป้องกันและทาลายเชื้อโรค
1. ผิวหนัง ท้าหน้าที่ไม่ให้เชือโรคเข้าสู่ร่างกาย มีต่อมเหงื่อ และรูขุมขนท้าให้เชือโรคเข้าได้ แต่เยื่อบุผิว
ต่างๆ มีการป้องกันโดยการหลั่งสารเมือกเหนียวมาเคลือบไว้ เพื่อดักแอนติเจนก่อนจะเข้าสู่เซลล์
(น้าตา+ไลโซไซม ,ทางเดินหายใจ+ซิเลีย)
2. เซลล์เม็ดเลือดขาว สร้างไขกระดูก และไปพัฒนาที่เนือเยื่อและต่อมน้าเหลืองหรืออยู่ในกระแสเลือด
มีหน้าที่ท้าลายเชือโรคในร่างกาย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ฟาโกไซต์ ท้าลายเชือโรคโดยการโอบล้อมกินเชือโรค และปล่อยเอนไซม์จากไลโซโซมไปย่อย
ลิมโฟไซต์ ท้าลายเชือโรคโดยการสร้างแอนติบอดี ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีความจ้าเพาะต่อแอนติเจน
3. ระบบน้ำเหลือง ประกอบด้วย
น้าเหลือง ของเหลวที่ซึมผ่ำนผนังเส้นเลือดฝอยออกมำอยู่
ระหว่ำงเซลล์ซึ่งจะไหลเข้ำสู่ท่อน้ำเหลืองฝอยและขนำดใหญ่เป็น
ลำดับ และเปิดเข้ำสู่ระบบเลือดที่เส้นเลือดเวนใหญ่ใกล้หัวใจ ไป
รวมกับเลือดใหม่อีกครั้งหนึ่ง
อวัยวะน้าเหลือง ทำหน้ำที่ผลิตเม็ดเลือดขำว เพื่อต่อต้ำนเชื้อ
โรคและสิ่งแปลกปลอม ได้แก่
- ต่อมน้ำเหลือง ลักษณะคล้ำยฟองน้ำน้ำเหลืองซึมผ่ำนได้
เป็นรูปไข่ขนำดแตกต่ำงกัน สำมำรถพบบริเวณรักแร้ โคนขำ คอ
(ทอนซิล)
- ม้ำม ใหญ่ที่สุด อยู่ใต้กะบังลมด้ำนซ้ำย เป็นแหล่งที่อยู่ของ
เม็ดเลือดขำว และทำลำยเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดที่หมดอำยุ
- ต่อมไทมัส เป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ อยู่รอบ
หลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ สร้ำงเม็ดเลือดขำวชนิดลิมไฟไซต์
4. การสร้างภูมิคุ้มกัน ในร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ ดังนี
4.1 ภูมิคุ้มกันที่เกิดตามธรรมชาติ เช่น ผิวหนัง เม็ดเลือดขาว
4.2 ภูมิคุ้มกันแบบรับมา เช่น นมมารดา (น้าเหลือง) หรือเซรุ่ม (แก้พิษงู)
4.3 ภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง เช่น การฉีดวัคซีน การติดเชือโรคในธรรมชาติ
ชนิดของวัคซีน - วัคซีนที่เป็นเชือโรคที่ท้าให้อ่อนก้าลัง : วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม
- จุลินทรีย์ที่ตายแล้ว : ไอกรน ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค
- สารพิษของจุลินทรีย์ที่หมดพิษ เรียกว่า ทอกซอยด์ : คอตีบ บาดทะยัก
5. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
5.1 ภูมิแพ้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันตอบสนองอย่างรุนแรง เช่น ฝุ่นละออง
5.2 โรค SLE คือ ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อเนือเยื่อของตนเอง
5.3 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ เชือไวรัส HIV สามารถท้าลายเม็ดเลือดขาวโดยตรง โดยพิ่ม
จ้านวนตัวเอง แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆ และพบในสารคัดหลั่ง (น้าเลือด น้าอสุจิ) ติดต่อทางเลือด
เพศสัมพันธ์
6. หมู่เลือด เม็ดเลือดแดงของคนมีแอนติเจนอยู่ 2 ชนิด คือ A และ B และในน้าเลือดมีแอนติบอดี
2 ชนิด คือ แอนติบอดี A และ B
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (6)

ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 

Similar to ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์Chidchanok Puy
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 

Similar to ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต (20)

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
4
44
4
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
01 2
01 201 2
01 2
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต

  • 1. บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 2. เซลล์ (CELL)  เซลล์ คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต เซลล์ การศึกษาต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงหรือ อิเล็กตรอน
  • 3. องค์ประกอบของเซลล์ 1. ส่วนห่อหุ้ม เป็นส่วนที่ป้องกันอันตรายให้กับเซลล์มี 2 ชนิด  1.1 ผนังเซลล์ ชั้นนอกสุดของเซลล์พืชไม่พบในเซลล์สัตว์ โครงสร้างหลัก คือ เซลลูโลส ทาให้คง รูปร่างและเจริญตั้งตรงต้านทานแรงโน้มถ่วงของโลกได้  1.2 เยื่อหุ้มเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ในเซลล์พืชจะอยู่ถัดจากผนังเซลล์ โครงสร้างหลัก คือ สารพวกไขมันเรียงตัวเป็น 2 ชั้นและมีโปรตีนแทรกอยู่
  • 4. องค์ประกอบของเซลล์ 2. นิวเคลียส เป็นศูนย์ควบคุมการทางานของเซลล์มีหน้าที่ ดังนี้  2.1 ถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม โดยมีโครโมโซมเป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม  2.2 ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน  2.3 ควบคุมการแบ่งเซลล์
  • 5. องค์ประกอบของเซลล์ 3. ไซโทพลาซึม เป็นของเหลวที่อยู่ภายในเซลล์ ซึ่งมีออร์แกเนลล์ที่เป็นโครงสร้างที่ทาหน้าที่เฉพาะอย่าง  3.1 ร่างแหเอนโดพลาซึม สังเคราะห์และลาเลียงโปรตีน (RER) และบางส่วนทาหน้าที่สังเคราะห์ ไขมัน (SER)  3.2 กอลจิคอมเพลกซ์ เก็บรวบรวมโปรตีนและไขมันมาจากร่างแห เพื่อส่งไปยังภายในหรือนอกเซลล์  3.3 ไรโบโซม สังเคราะห์โปรตีน แหล่งที่พบ คือ ร่างแหเอนโดพลาซึม ลอยอิสระในไซโทพลาซึม/ไม โทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์  3.4 ไมโทคอนเดรีย ผลิตสารพลังงานสูง คือ ATP เพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์  3.5 คลอโรพลาสต์เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะเซลล์พืช มีบทบาทในการสังเคราะห์น้าตาลโดยใช้ แสง  3.6 ไลโซโซม เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีลักษณะเป็นถุงซึ่งภายในมีเอนไซม์  3.7 เซนทริโอล เป็นออร์แกเนลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มีหน้าที่สร้างเส้นใยสปินเดิลใช้ในการแยก โครโมโซมระหว่างแบ่งเซลล์
  • 7. ความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. มีลักษณะเป็นเหลี่ยม 2. มีผนังเซลล์อยู่ภายนอก เยื่อหุ้มเซลล์ 3. มีคลอโรพลาสต์ 4. ไม่มีเซนทริโอล 5. มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ 6. ไม่มีไลโซโซม 1. มีลักษณะกลม หรือรี 2. ไม่มีผนังเซลล์ มีเฉพาะเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ไม่มีคลอโรพลาสต์ 4. มีเซนทริโอล 5. มีแวคิวโอลขนาดเล็ก 6. มีไลโซโซม
  • 9. การลาเลียงสารผ่านเซลล์ เซลล์จาเป็นต้องรับและกาจัดสารเข้าและออกจากเซลล์ เพื่อการดารงชีวิต 1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1.1 การแพร่ 1.2 การออสโมซิส 1.3 การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต 1.4 การลาเลียงแบบใช้พลังงาน 2. การลาเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 2.1 เอกโซไซโทซิส 2.2 เอนโดไซโทซิส
  • 10. 1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1.1 แบบไม่อาศัยพลังงาน - การแพร่ คือ การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารโดยพลังงานจลน์ที่อยู่ในสารทาให้ไม่หยุดนิ่งจึงเกิดการ กระทบกันระหว่างอนุภาค ดังนั้นบริเวณที่มากจะกระทบกันมากจึงกระจายออกเป็นบริเวณกว้าง เช่น ออกซิเจนในถุงลมเข้าสู่เส้นเลือดฝอยที่หุ้มถุงลม ธาตุอาหารจากดินเข้าสู่รากพืช - การออสโมซิส คือ การแพร่ของน้าผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีอนุภาคของน้ามากไปบริเวณที่น้อยกว่า หรือจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายเจือจางไปบริเวณที่มากกว่า : ไอโซโทนิก ไฮโปโทนิก และ ไฮเปอร์โทนิก - การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต เป็นการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ในทิศทางเดียวกับการแพร่แต่รวดเร็ว กว่าหลายเท่าตัว เพราะมีโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพา เช่น การลาเลียงกลูโคส กรดอะมิโนไอออนต่างๆ ผ่านเยื่อหุ้ม
  • 11. 1. การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1.2 แบบอาศัยพลังงาน - การลาเลียงแบบใช้พลังงาน เป็นการลาเลียงสารจากที่ความเข้มข้นต่าไปบริเวณที่มีความ เข้มข้นสูงโดยมีโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวพาและใช้พลังงาน ATP จากเซลล์ เช่น การดูด ซึมกลูโคสที่ผนังลาไส้เล็กจะดูดซึมตลอดเวลา การลาเลียงไอออนของโซเดียมและโพแต สเซียมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ประสาทระหว่างการส่งกระแสประสาท ?
  • 12. 2. การลาเลียงสารไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ขนาดโมเลกุลใหญ่ที่ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้ม : อยู่ในถุง (Vesicle) ได้แก่ 2.1 เอกโซไซโทซิส เป็นการส่งสารที่ขนาดโมเลกุลใหญ่ออกสู่นอกเซลล์โดยการเชื่อมถุงกับเยื่อหุ้มเซลล์และ เกิดการหลั่งสารออก เช่น การหลั่งเอนไซม์จากลาไส้เล็กและกระเพาะหรือการลาเลียงฮอร์โมนอินซูลินจาก เซลล์ตับอ่อน 2.2 เอนโดไซโทซิส เป็นการลาเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ โดยสารเหล่านั้นจะดันเยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปใน ไซโทพลาซึมจนเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิททาให้เกิดถุงภายในไซโทพลาซึมและถุงน้าย่อยในเซลล์จะย่อยใช้ประโยชน์ ต่อไป : ฟาโกไซโทซิส (กิน) และพิโนไซโทซิส (ดื่ม) @ บางครั้งจะมีความจาเพาะเจาะจง โดยมีโปรตีนเป็นตัวพาที่มีความจาเพาะเจาะจงต่อสารทาให้เกิดการนา สารเข้า
  • 13. กลไกการรักษาดุลยภาพ สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีระบบรักษาสมดุลของร่างกาย เพื่อทาให้ดารงชีวิตได้ปกติ 1. การรักษาดุลยภาพของน้าในพืช การคายน้าจะทาให้เกิดการลาเลียงแร่ธาตุ และดูดน้าเข้าเพื่อเม แทบอลิซึมต่างๆ ดังนั้น น้าที่คายออก = การดูดน้าเข้าที่ราก โครงสร้างในการควบคุม คือ ปากใบ (เซลล์ คุม 2 เซลล์ประกบกันภายในมีคลอโรพลาสต์จึงสังเคราะห์แสงได้และเกิดการออสโมซิส) ซึ่งเปิด : เพิ่ม การคายน้า และ ปิด : ลดการคายน้า ปัจจัยที่มีผลต่อการปิดเปิดของปากใบ 1. ความเข้มของแสงสูงสังเคราะห์ด้วยแสงมากปากใบเปิด 2. ความชื้นในอากาศ ถ้ามากปากใบปิด (ระเหยยาก) 3. ปริมาณน้าในดิน ถ้าน้อยปากใบปิด (ลดการสูญเสีย)
  • 14. 2. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่อาศัยอยู่ในน้า เช่น อะมีบา พารามี เซียม จะมีโครงสร้างภายในเซลล์ที่เรียกว่า คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ท้าหน้าที่ก้าจัดน้าและของเสีย ออกเพื่อรักษาระดับความเข้มข้นของสารภายในและป้องกันไม่ให้เซลล์แตก 3. การรักษาดุลยภาพน้าและแร่ธาตุในปลา น้าและแร่ธาตุที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมจะเคลื่อนเข้าและออกจาก เซลล์ตลอดเวลา ขึนกับความเข้มข้นของสารละลายภายในร่างกายกับสิ่งแวดล้อม (กระบวนการล้าเลียง แบบใช้พลังงาน)
  • 15.
  • 16. 4. การรักษาดุลยภาพของน้าและสารในร่างกายของคน มีน้าประมาณ 65%-70% ถ้าปริมาณน้ามาก หรือน้อยกว่านี้จะเสียดุลยภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย อวัยวะที่รักษาดุลย ภาพของน้าและสารต่างๆ คือ ไต ไตของคนมี 2 ข้าง อยู่ในช่องท้องบริเวณเอว คล้ายเม็ดถั่วแดง ทาหน้าที่รับของเสียที่มากับเลือดเพื่อ กรองของเสียออกทางท่อไตและเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อขับออกจากร่างกายทางท่อปัสสาวะ ภายในเนื้อไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต จานวนมากประมาณ 1 ล้านหน่วย ประกอบด้วย โกล เมอรูลัส ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยและท่อหน่วยไต การทางานของไต เส้นเลือดแดง (ออกซิเจนและของเสีย)  โกลเมอรูลัส (พลาสมาผ่าน) โบว์ แมนส์ แคปซูล กรองมีทั้งสารประโยชน์และของเสีย)  ท่อของหน่วยไต (ดูดกลับของสารที่มี ประโยชน์เข้าสู่เส้นเลือดฝอยที่ปกคลุมสู่กระแสเลือด) สาหรับสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณทะเล จะกินอาหารจากทะเลทาให้ได้รับเกลือแร่ในร่างกายเกินความ จาเป็นจึงต้องขับเกลือออกในรูปน้าเกลือเข้มข้น
  • 17.
  • 18.
  • 19. สารกรองผ่านโกลเมอรูลัส แยกเป็นกลุ่ม ดังนี้ 1. สารที่เป็นของเสีย ได้แก่ ยูเรีย ยูริก ต้องกาจัดออกจากร่างกาย จึงพบในน้าปัสสาวะมาก 2. สารที่ไม่ใช่ของเสีย แต่มีมากเกินไป ส่วนหนึ่งเก็บไว้และบางส่วนกาจัดออก เช่น น้าและแร่ธาตุ 3. สารที่มีประโยชน์แต่ถูกกรองผ่าน เช่น กลูโคส กรดอะมิโน โปรตีน จะไม่พบในปัสสาวะเพราะดูดกลับหมด 4. สารที่ไม่สามารถกรองผ่านโกลเมอรูลัส คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง ในกระบวนการดูดกลับ จะใช้วิธีการแพร่ การออสโมซิสและการลาเลียงแบบใช้พลังงาน สาหรับการดูด กลับของนา ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต 1. ร่างกายขาดน้า เช่น เล่นกีฬา ทางานหนัก ท้องเสีย จะทาให้เลือดข้น ความดัน-เลือดต่า ต้องได้รับน้าทดแทน 2. โรคเบาหวาน ถ้าเกิดภาวะติดเชื้อแบคทีเรียทาให้โกลเมอรูลัสเสียสมบัติในการกรอง ทาให้พบอัลบูมินในปัสสาวะ 3. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เกิดจากการกลั้นปัสสาวะทาให้เกิดการสะสมแบคทีเรีย 4. นิ่วในไต เกิดจากการบริโภคผักที่มีออกซาเลตสูง เช่น ผักโขม ใบชะพลู แต่สามารถป้องกันได้โดยทานโปรตีน 5. ไตวาย ไม่สามารถทางานได้ อาจมีสาเหตุจากติดเชื้อรุนแรง การสูญเสียเลือด/ของเหลวมาก เบาหวานนานหรือนิ่ว
  • 20.
  • 21. 5. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีเกือบทังหมดในกระบวนการเมแทบอลิซึมใน ร่างกายควบคุมโดยเอนไซม์ ซึ่งเอนไซม์แต่ละชนิดจะท้างานได้ในสภาพ pH ที่แตกต่างกัน เช่น ในกระเพาะ (กรด) ล้าไส้เล็ก (เบส) ในร่างกายเกิดจากปฏิกิริยาของการหายใจ (กรด) สามารถท้าได้ 3 วิธี คือ
  • 22.
  • 23. 6. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย มีผลต่อการท้างานของเอนไซม์ เพราะโปรตีนจะเสีย สภาพโดยปกติอุณหภูมิภายในร่างกายอยู่ระหว่าง 35.8-37.7 องศาเซลเซียส ถ้าสูงหรือต่้ากว่านีจะท้าให้ เอนไซม์ไม่สามารถท้างานได้ จึงส่งผลกระทบต่อกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ศูนย์กลางควบคุม คือ สมองส่วนไฮโพทาลามัส สัตว์เลือดอุ่น เป็นสัตว์ที่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิร่างกายได้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม เช่น สัตว์เลียงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลือดเย็น เป็นสัตว์ที่ไม่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ จะท้าให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ตามสิ่งแวดล้อม เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์เลือยคลาน
  • 24.
  • 25. ภูมิคุ้มกัน เป็นกลไกการป้องกันตนเองจากโรค ซึ่งเชือโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง (สิ่งแปลกปลอม เรียกว่า แอนติเจน) การป้องกันและทาลายเชื้อโรค 1. ผิวหนัง ท้าหน้าที่ไม่ให้เชือโรคเข้าสู่ร่างกาย มีต่อมเหงื่อ และรูขุมขนท้าให้เชือโรคเข้าได้ แต่เยื่อบุผิว ต่างๆ มีการป้องกันโดยการหลั่งสารเมือกเหนียวมาเคลือบไว้ เพื่อดักแอนติเจนก่อนจะเข้าสู่เซลล์ (น้าตา+ไลโซไซม ,ทางเดินหายใจ+ซิเลีย)
  • 26. 2. เซลล์เม็ดเลือดขาว สร้างไขกระดูก และไปพัฒนาที่เนือเยื่อและต่อมน้าเหลืองหรืออยู่ในกระแสเลือด มีหน้าที่ท้าลายเชือโรคในร่างกาย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ฟาโกไซต์ ท้าลายเชือโรคโดยการโอบล้อมกินเชือโรค และปล่อยเอนไซม์จากไลโซโซมไปย่อย ลิมโฟไซต์ ท้าลายเชือโรคโดยการสร้างแอนติบอดี ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีความจ้าเพาะต่อแอนติเจน
  • 27.
  • 28. 3. ระบบน้ำเหลือง ประกอบด้วย น้าเหลือง ของเหลวที่ซึมผ่ำนผนังเส้นเลือดฝอยออกมำอยู่ ระหว่ำงเซลล์ซึ่งจะไหลเข้ำสู่ท่อน้ำเหลืองฝอยและขนำดใหญ่เป็น ลำดับ และเปิดเข้ำสู่ระบบเลือดที่เส้นเลือดเวนใหญ่ใกล้หัวใจ ไป รวมกับเลือดใหม่อีกครั้งหนึ่ง อวัยวะน้าเหลือง ทำหน้ำที่ผลิตเม็ดเลือดขำว เพื่อต่อต้ำนเชื้อ โรคและสิ่งแปลกปลอม ได้แก่ - ต่อมน้ำเหลือง ลักษณะคล้ำยฟองน้ำน้ำเหลืองซึมผ่ำนได้ เป็นรูปไข่ขนำดแตกต่ำงกัน สำมำรถพบบริเวณรักแร้ โคนขำ คอ (ทอนซิล) - ม้ำม ใหญ่ที่สุด อยู่ใต้กะบังลมด้ำนซ้ำย เป็นแหล่งที่อยู่ของ เม็ดเลือดขำว และทำลำยเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดที่หมดอำยุ - ต่อมไทมัส เป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ อยู่รอบ หลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ สร้ำงเม็ดเลือดขำวชนิดลิมไฟไซต์
  • 29. 4. การสร้างภูมิคุ้มกัน ในร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ ดังนี 4.1 ภูมิคุ้มกันที่เกิดตามธรรมชาติ เช่น ผิวหนัง เม็ดเลือดขาว 4.2 ภูมิคุ้มกันแบบรับมา เช่น นมมารดา (น้าเหลือง) หรือเซรุ่ม (แก้พิษงู) 4.3 ภูมิคุ้มกันแบบก่อเอง เช่น การฉีดวัคซีน การติดเชือโรคในธรรมชาติ ชนิดของวัคซีน - วัคซีนที่เป็นเชือโรคที่ท้าให้อ่อนก้าลัง : วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม - จุลินทรีย์ที่ตายแล้ว : ไอกรน ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค - สารพิษของจุลินทรีย์ที่หมดพิษ เรียกว่า ทอกซอยด์ : คอตีบ บาดทะยัก 5. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน 5.1 ภูมิแพ้ เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันตอบสนองอย่างรุนแรง เช่น ฝุ่นละออง 5.2 โรค SLE คือ ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อเนือเยื่อของตนเอง 5.3 โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ เชือไวรัส HIV สามารถท้าลายเม็ดเลือดขาวโดยตรง โดยพิ่ม จ้านวนตัวเอง แพร่กระจายไปตามอวัยวะต่างๆ และพบในสารคัดหลั่ง (น้าเลือด น้าอสุจิ) ติดต่อทางเลือด เพศสัมพันธ์
  • 30.
  • 31. 6. หมู่เลือด เม็ดเลือดแดงของคนมีแอนติเจนอยู่ 2 ชนิด คือ A และ B และในน้าเลือดมีแอนติบอดี 2 ชนิด คือ แอนติบอดี A และ B
  • 32.
  • 33. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!