SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิต
และไม่มีชีวิต)
◦ เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต
◦ สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลก
ของสิ่งมีชีวิต
◦ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ
 องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต)
เช่น แสง ดิน น้า อุณหภูมิ
 องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต)
ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของ
ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขต
เขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน
@@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทาง
กายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (แบ่งกลุ่มรายงาน)
1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด
- ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
- ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา
- ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย
- ไบโอมป่าสน
2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
- ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม
ได้แก่
- แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง
- ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่าชายเลน)
- แนวปะการัง - ทะเลสาบ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ไบโอมบนบก
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ไบโอมในน้า
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่
 กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร
หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน
 สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี้
1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์
เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว
2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเป็ นอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภค
สัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ สิงโต มนุษย์
3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้
เป็ นอนินทรีย์สารเป็ นประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึม
สารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest )
- พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้
แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้
- ลักษณะภูมิอากาศ ร้อน และชื้น
- มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี
- พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปีชีส์
- อุดมสมบูรณ์มาก
2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest )
- พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 100 ซม./ปี
- มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้
- อากาศเย็น
- ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว
- พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม
 พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น
 สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
3. ป่าสน ( Coniferous forest )
- ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล( Boreal )
- ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี
- พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์
- ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น
- พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )
 สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่
- ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ
เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็นต้น)
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
Spruce Fir Pine
สนสองใบ สนสามใบ
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland )
- ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี
- มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว
- ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์
สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
- ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และใน
ทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa)
- พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า
เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia)
- สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้
และนกอีมู
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
5. สะวันนา (Savanna)
- พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย
- อากาศร้อนยาวนาน
- พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ
- ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า
- พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี
 สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
 6. ทะเลทราย ( desert )
- ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี
- บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิ
เหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส
- พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้ องกันการสูญเสียน้า โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลา
ต้นอวบ เก็บสะสมน้า และพืชปีเดียว
- ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ
ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
- สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์
ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
7. ทุนดรา (Tundra)
- พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย
- ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ
- ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็ง
- ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่
สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ : สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ
 พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
 สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู
กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้า
แมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง
ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
ไบโอมในน้า ( Aquatic Biomes )
แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย
 แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ
 แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า
แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย
 ทะเลสาบ
 ทะเล
 มหาสมุทร
ซึ่งพบในปริมำณมำก ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลก
และมีควำมลึกมำก
ความแตกต่างระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม
 น้าขึ้นน้าลงเป็นปัจจัยทางกายภาพที่ทาให้แหล่งน้าเค็มแตกต่างจากแหล่งน้าจืด
น้ากร่อย ( Estuaries )
 แหล่งน้ากร่อย หมายถึง คือช่วงรอยต่อของแหล่งน้าจืดและน้าเค็มที่มาบรรจบกัน ซึ่ง
มักจะพบตามปากแม่น้า การขึ้นลงของกระแสน้าที่อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความ
เค็มของน้าในแหล่ง น้ากร่อยเป็นอย่างมาก
 โดยทั่วไปแล้ว น้ากร่อยหรือน้าทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่าง เหตุที่น้าทะเลมี
สภาพเป็นด่างอ่อนๆ เป็นเพราะในน้าทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทาให้น้าเป็นด่างอ่อน
ระบบนิเวศในน้า
น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่ง
ออกตามลักษณะแหล่งที่เกิดได้ ดังนี้
 แหล่งน้าจืด
 แหล่งน้ากร่อย
 แหล่งน้าเค็ม
@@@ ระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่อำศัยในน้าตามลักษณะของแหล่งน้า
ทั้ง 2 ประเภท ได้แก่
◦ แหล่งน้าจืด
◦ แหล่งน้าเค็ม
การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้
แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็มเป็นตัวกาหนด
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
 ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ
1. แหล่งน้านิ่ง เช่น ทะเลสาบ บึง ถ้าเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่
2. แหล่งน้าไหล เช่น แม่น้า ลาธาร
1. แหล่งน้านิ่ง แบ่งเป็น 3 เขต คือ
1.1 เขตชายฝั่ง (Litoral zone) เป็นบริเวณรอบ ๆ แหล่งน้า
- แสงส่องได้ถึงก้นน้า
- ผู้ผลิต บริเวณชายฝั่ง เช่น กก บัว แห้วทรงกระเทียม สาหร่ายสีเขียว และไดอะตอม จอก
จอกหูหนู แหนแดง
- ผู้บริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง ตัวอ่อนแมลงปอเข็ม แมลงปอชีปะขาว กุ้งก้ามกราม หอย
กาบเดียว หอยสองกาบ เต่า ปลา
1.2 ผิวน้าหรือเขตกลางน้า (Limnetic zone) นับจากชายฝั่งเข้ามาจนถึงระดับลึกที่แสงส่องถึง
 ความเข้มของแสงประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของแสงจากดวงอาทิตย์
 สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่เป็นแพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าอิสระ มีจานวนชนิดและจานวนสมาชิกน้อย
กว่าเขตชายฝั่ง แพลงก์ตอนพืช ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
 สัตว์เหล่านี้เป็นสัตว์ต่างชนิดกับเขตชายฝั่ง นอกจากนี้สัตว์อื่นๆ ในเขตกลางสระ เช่น ปลา
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
1.3 เขตน้าชั้นล่าง (Profundal zone) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดจนถึงหน้าดินของพื้นท้องน้า
_ แสงส่องไม่ถึง จึงไม่มีผู้ผลิต
- สิ่งมีชีวิตที่พบ ได้แก่ รา แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน ตัวอ่อนยุง หอยสองกาบ หนอนตัว
กลม เป็นต้น
- สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่มีออกซิเจนต่า
เช่น ตัวอ่อนของยุงน้าชนิดหนึ่ง (Phantom) มีถุงลมสาหรับช่วยในการลอยตัว และ
สาหรับเก็บออกซิเจนไว้ใช้
 2. แหล่งน้าไหล แบ่งเป็น 3 เขต คือ
2.1 เขตน้าเชี่ยว เป็นเขตที่มีกระแสน้าไหลแรง จึงไม่มีตะกอนสะสมใต้น้า
- สิ่งมีชีวิตมักเป็นพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้า หรือคืบคลานไปมาสะดวก
- สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้าได้จะต้องเป็นพวกที่ทนทานต่อการต้านกระแสน้า
- ไม่พบแพลงก์ตอนในบริเวณนี้
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
2.2 เขตน้าไหลเอื่อย เป็นช่วงที่มีความลึก ความเร็วของกระแสน้าลดลง
 อนุภาคต่างๆ จึงตกตะกอนทับถมกันหนาแน่นในเขตนี้
 ไม่มีสัตว์เกาะตามท้องน้า เขตนี้เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่ เช่น หอยสองกาบ ตัว
อ่อนของแมลงปอ ชีปะขาว แพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าได้
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล
สัตว์มีการปรับตัวพิเศษเพื่อการอยู่รอดหลายวิธี
•มีโครงสร้างพิเศษสาหรับเกาะหรือดูดพื้นผิว เพื่อให้ติดแน่นกับพื้นผิว สิ่งมีชีวิตที่
มีอวัยวะพิเศษนี้ เช่น แมลงหนอนปลอกน้า
•สร้างเมือกเหนียว เพื่อใช้ยึดเกาะ เช่น พลานาเรีย หอยกาบเดียว
•มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานต่อกระแสน้า เช่น ปลา
•ปรับตัวให้แบน เพื่อยึดติดกับท้องน้าได้แนบสนิทหรือเพื่อให้สามารถแทรกตัวอยู่
ในซอกแคบๆ หลีกเลี่ยงกระแสน้าแรงๆ
การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล
ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย
3. น้ากร่อย เป็นบริเวณที่น้ามาบรรจบกันระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ทาให้เป็นบริเวณที่มีน้า
กร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่างชุมชนน้าจืดและน้าเค็ม
 ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภาพทางชีววิทยาที่เอื้ออานวยที่จะให้ผลผลิตอย่างสูงต่อ
สังคมมนุษย์
 มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง
 พบสัตว์เศรษฐกิจมากมาย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลาต่าง ๆ
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
 แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร
 จัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแสคลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา
 ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของผิวโลก
 สามารถแบ่งเขตออกเป็น 2 บริเวณ คือ
- บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มีความลาดชัน
น้อยและค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของกระแสน้าขึ้นน้าลง และได้รับ
ธาตุอาหารจากการชะล้างผิวหน้าดินลงสู่แหล่งน้า
- บริเวณทะเลเปิด (open sea) เป็นบริเวณที่อยู่ห่างออกจากชายฝั่ง พื้นที่มีความลาด
ชันเพิ่มขึ้นตามความลึกของน้า
 สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ได้ 3 เขต คือ
1. เขตที่แสงส่องถึง
2. เขตที่มีแสงน้อย
3. เขตที่ไม่มีแสง
 หาดหิน (rocky shore)
◦ เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้าเป็นที่กาบังคลื่นลม
และหลบซ่อนตัว
◦ สัตว์ที่อาศัยบริเวณนี้ต้องคงทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น (การขึ้น-ลง
ของกระแสน้า)
◦ ได้แก่ แมลงสาบทะเล (ligio) หอยนางรม ลิ่นทะเล หอยหมวกเจ๊ก (limpets)
เพรียงหิน เม่นทะเล ดอกไม้ทะเล สาหร่ายสีแดง
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
 หาดทราย (sandy beach)
◦ เป็นบริเวณชายฝั่งตั้งแต่รระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไป
ถึง (ขนาดเม็ดทรายและความลาดชันแตกต่างกัน)
◦ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนี้ต้องมีการปรับตัวมาก เพราะคลื่นซัดทรายในสภาพที่รุนแรง
◦ เช่น ปูลม เคลื่อนที่ได้รวดเร็วและมีเหงือกใหญ่ชุ่มชื้นอยู่เสมอทนความแห้งแล้งได้ดี
พวกหอยเสียบ หอยทับทิม ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
 แนวปะการัง (coral reef)
◦ ปะการังเป็นสัตว์ไม่ใช่พืชสืบพันธุ์ด้วยการแตกหน่อเชื่อมติดกันมีสารหินปูนห่อหุ้มลาตัว
กลุ่มก้อนปะการังที่สวยงามมาก
◦ ได้แก่ ปะการังเขากวาง ปะการังสมอง ปะการังเห็ด ปะการังต้นไม้ ฯลฯ
◦ เป็นแหล่งที่ให้ความอุดมสมบูรณ์ทางด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของ
สัตว์น้าแต่ละชนิด เป็นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายและให้ผลผลิตสูงมากในทะเล
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
ระบบนิเวศบนบก
 ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวมพันธุ์ไม้และ
สัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซออกซิเจน และก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) ได้แก่
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) ,
ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่าชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp)
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่
ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่าหญ้า
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
1. ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
 พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี
และที่ภาคใต้
 กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล
 มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ
 ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ส่วน
ใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะเป็นพวก
ปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)
 พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา
 ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร
 ปริมาณน้าฝน 1,000 -1,500 ม.ม.
 พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและ
ค่อนข้างโล่งเตียน
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
 อยู่สูงจากระดับน้าทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป
 ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เช่นที่ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น
 มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 ม.
 พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย
 มีป่าเบจพรรณด้วย บางทีก็มีสนเขาขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่างเป็นพวกเฟิร์น
กล้วยไม้ดิน มอส ต่าง ๆ
 ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา ป่าบอเรียล
 กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย
 ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป
 ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
 ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ
ขึ้นปะปนอยู่ พืชชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest)
 เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน
 เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้าท่วมขังหรือ
ชื้นแฉะตลอดปี
 พบในจังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร
 พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทาลายเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นสวนมะพร้าว นาข้าว และบ่อ
เลี้ยงกุ้งเลี้ยงปลา
 ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
 พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลน และน้าทะเลท่วมถึง
 เช่น ตามชายฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ระนองถึงสตูล
 แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา
 ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู โพทะเล เป็นต้น
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
 เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ
 การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน
 สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย
แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ
1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
 ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง
 ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี
 เป็นสังคมพืชที่มีความหลากหลายมาก
 จะผลัดใบมากในฤดูแล้ง
 พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่ำ แดง ประดู่ และชิงชัน
2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
 ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง
 มีปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี
 พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า เช่น เต็ง รัง พลวง มะขามป้ อม มะกอก
ผักหวาน ฯลฯ เป็นต้น
 พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง
พวกขิง ข่า เป็นต้น
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
3. ป่าหญ้า เป็นป่าที่เกิดภายหลังจากที่ป่าธรรมชาติอื่น ๆ ได้ถูกทาลายไป
 ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อาจเจริญงอกงามต่อไปได้
 หญ้าต่าง ๆ จึงเข้ามาแทนที่ พบได้ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน
 เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น
 ไม้ต้นมีขึ้นกระจายห่าง ๆ กันบ้าง เช่น กระถินป่า ประดู่ ตานเหลือง และปรงป่า เป็นต้น
ไม้เหล่านี้ทนแล้งและทนไฟป่าได้ดี
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ
 พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น
( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วน
บางส่วนบริโภคไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ)
 การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมใน
สิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการ
การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต
 พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับ
พลังงานขั้นสุดท้าย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม : สมดุลระบบนิเวศ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
1. พีระมิดจานวน เป็ นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร
2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็ นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่
อาหาร
3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว
พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิตจนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิต
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
1. อุณหภูมิ
1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็ นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่
การทางานของเอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ)
1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับ
อุณหภูมิร่างกายให้คงที่
1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็ นเขตที่อบอุ่น
1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง
2. แสง
2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก
2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว
ผีเสื้อกลางคืน
2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
3. น้ำและควำมชื้น
3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
มากกว่าเขตแห้งแล้ง
3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า
4. ดิน
4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต
4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต
5. ควำมเป็นกรด-เบสของดินและน้ำ
5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดิน และแหล่งน้าที่มีความเป็ นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโต
และดารงชีวิตอยู่ได้)
5.2 ความเป็ นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตมีหลายแบบ ได้แก่
1. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism, + / +)
2. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation, + / +)
3. ภาวะเกื้อกูลหรือภาวะอิงอาศัย (commensalims, + / 0)
4. ภาวะปรสิต (parasitism,+ / -)
5. การล่าเหยื่อ (predation, + / -)
6. ภาวะการแก่งแย่ง (compertion, - / -)
7. ภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism.+ / 0)
8. ภาวะการหลั่งสารห้ามการเจริญหรือการทาลายล้าง (0,-)
9. ภาวะที่เป็ นกลาง (neutralism, 0 / 0)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การปรับตัว (Adaptation) เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ การปรับตัวมี 3 แบบ
1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น
1.1 หมีขั้วโลกหรือสัตว์ในเขตหนาวมีขนยาวปกคลุม และมีชั้นไขมันใต้ผิวหนังป้ องกันความหนาว
1.2 จระเข้ผิวลาตัวเป็ นเกล็ด ป้ องกันการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย
1.3 โกงกางและพืชป่ าชายเลน มีใบอวบน้าเพื่อเก็บน้าจืดและผลจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นเพื่อป้ องน้าพัด
1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศ ช่วยให้ลอยน้าได้
2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทางานอวัยวะ) เช่น
2.1 การขับเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย
2.2 สัตว์เลือดอุ่นผลิตฮอร์โมนเพศการสืบพันธุ์เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณแสงต่อวันลดลง (เริ่มผสมพันธุ์ในฤดูใบไม้
ร่วง)
2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเลทรายจะกินอาหารเป็ นเมล็ดพืชที่แห้งและไม่ดื่มน้าเลยแต่ได้จากเมแทบอลิซึม (อูฐ)
3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย)
3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของนกจากเขตหนาวมาเขตอบอุ่น
3.3 สัตว์ป่ ากินดินโป่ งที่มีแร่ธาตุอาหารที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 การปรับตัว (Adaptation)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 แร่ธาตุ และสารต่างๆ ในระบบนิเวศเป็ นสิ่งจาเป็ นในการดารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต เช่น คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เป็ น
ต้น
 สารต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็ นองค์ประกอบของโมเลกุลที่สาคัญในเซลล์
สิ่งมีชีวิต เรียกว่า ชีวโมเลกุล (biomolecules)
เช่น ลิพิด โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลีอิก
 ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบหลักเหล่านี้ มีการหมุนเวียนผ่านโซ่อาหารเป็ นวัฏจักร
เรียกว่า วัฏจักรสาร (material cycle)
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 วัฏจักรคาร์บอน พบในสารอินทรีย์ทุกชนิด
และหมุนเวียนผ่านหายใจและ
การสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปแก๊ส CO2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 วัฏจักรไนโตรเจน องค์ประกอบของโปรตีนในสิ่งมีชีวิต โดยมีการหมุนเวียนผ่านพืช
สัตว์ และจุลินทรีย์
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการ
หมุนเวียนสู่บรรยากาศ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 วัฏจักรกามะถันมีสาคัญในการสังเคราะห์โปรตีนหลายชนิด ส่วนใหญ่สลายตัวของ
สารอินทรีย์มักอยู่ในรูปของสารประกอบซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์
และซัลเฟต
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 วัฏจักรน้า มีมากในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสาคัญ เช่น น้าช่วยลาเลียงสารต่างๆ
เป็ นตัวกลางในการทาปฏิกิริยา รักษาสมดุลของอุณหภูมิ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา = กลุ่มสิ่งมีชีวิตในที่ใดที่หนึ่งถูกแทนที่โดยกลุ่มใหม่
อยู่เรื่อยๆ และจะหยุดลงเมื่อมีกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มสุดท้าย ทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป/คงตัว = กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด มี 2 แบบ
1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ จากบริเวณที่ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตอยู่ก่อนเลยต่อมามี
ปรากฏขึ้นพวกแรก (ผู้บุกเบิก) และมีการเปลี่ยนแปลงเป็นลาดับขั้นจนกระทั่งถึงระยะขั้น
ขั้นสุด
ที่ว่าง → ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น
→ กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด
2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ จากบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตขั้นสุดจากปฐมภูมิแล้วและถูก
และถูกทาลาย จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดแบบเดิม หรือใหม่ เช่น
เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทาให้เสียสมดุล
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
N = จานวนประชากร A = พื้นที่หรือปริมาตร
 การแพร่กระจายประชากร เนื่องจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ
◦ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความสูงจากระดับน้าทะเล อุณหภูมิ แสง ความชื้น และกรด-เบส
P = p
M m
ตัวอย่างเช่น นักเรียนจับหอยทากมาทาเครื่องหมายทั้งหมด
10 ตัวแล้วปล่อยกลับคืน อีก 1 อาทิตย์ต่อมาจับหอยทาก
มาได้ทั้งหมด 50 ตัว พบว่ามีหอยทากที่ทาเครื่องหมาย 5
ตัว จงหาจานวนของประชากรหอยทากนี้
P = 50
10 5
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนการรอดชีวิตของประชากรซึ่งขึ้นอยู่กับช่วง
อายุขัย (life span) ในช่วงวัยต่างๆ กันทาให้ความหนาแน่นแตกต่างกันด้วย
เรียกว่า กราฟการรอดชีวิตของประชากร
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 โครงสร้างประชากรของมนุษย์
◦ แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย
◦ แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นช้าๆ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย
◦ แบบ ค ระฆังคว่า แสดงว่าประชากรมีขนาดคงที่ เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี
◦ แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
การทาลายโอโซนในชั้น
บรรยากาศ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรน้า
 เป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้า
เพื่อดารงชีวิตด้านต่างๆ เช่น เป็ นที่อยู่อาศัยและแพร่พันธุ์แบ่งออกเป็ น 3 แหล่งใหญ่
ได้แก่
1. หยาดน้าฟ้ า 2. น้าผิวดิน 3. น้าใต้ดิน
ทรัพยากรดิน
 ดินป็ นทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ และเป็ น
ทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ อีก เช่น ทรัพยากรป่ าไม้
ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ป่ า เป็ นต้น จาแนกตามลักษณะเนื้อดินได้ 3 ชนิด คือ
1. ดินเหนียว 2. ดินร่วน 3. ดินทราย
ทรัพยากรอากาศ
 อากาศจัดเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีวันหมดสิ้นและเป็ นทรัพยากรที่มีความจาเป็ นต่อ
การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด องค์ประกอบของอากาศ ได้แก่
1. แก๊สไนโตรเจน 78%
2. แก๊สออกซิเจน 21%
3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03%
4. แก๊สอื่นๆ 0.07%
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรป่ าไม้
 ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ และ
สิ่งแวดล้อม เป็ นแหล่งรวมของความหลากหลายทางชีวภาพ เป็ นแหล่งเอื้ออานวยต่อปัจจัยสี่ในการดารงชีวิต
ของมนุษย์ เป็ นแหล่งของต้นน้าลาธาร ช่วยรักษาระดับอุณหภูมิของโลก ควบคุมปริมาณน้าฝน ช่วยในการ
อนุรักษ์ดินและน้าและเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ า แบ่งเป็ น ป่ ำไม่ผลัดใบและป่ ำผลัดใบ
ทรัพยากรสัตว์ป่ า
 สัตว์ป่ าเป็ นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ปัจจุบันพบว่าจานวนสัตว์ป่ าลดลงและมี
แนวโน้มลดลงเรื่อยๆทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ป่ ไม้ซึ่งเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหากิน และสืบพันธุ์ของสัตว์ป่ า
ลดลง นอกจากนี้การลดลงของสัตว์ป่ ายังเกิดจากสาเหตุอื่นๆอีกที่มนุษย์เป็ นผู้กระทา เช่น การล่าสัตว์ป่ า
เพื่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็ นต้น แบ่งเป็ น สัตว์ป่ ำสงวนและสัตว์ป่ ำคุ้มครองประเภทที่ 1 (สวยงำม)
,2 (อำหำร)
สัตว์ป่าสงวน 15 ชนิด
สัตว์ป่ าคุ้มครองประเภท 1 2
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
 เอเลียนสปี ชีส์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกต่างจากพื้นที่การแพร่กระจายตามธรรมชาติ โดย
สามารถจาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภท ตามบทบาทที่มีผลต่อระบบนิเวศ คือ
1. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่รุกราน จัดเป็ นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง
2. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน จัดเป็ นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่จะมาแทนที่พันธุ์พื้นเมื่องเดิมที่มีอยู่ได้และยังสามารถ
ขัดขาวงการเจริญของพันธุ์อื่นๆ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ
แนวทางและมาตรการในการป้ องกัน
1. การระมัดระวัง
2. แนวทางบันไดสามขั้น ได้แก่ 2.1 การป้ องกัน 2.2 การสืบพบ2.3 การกาจัด
3. แนวทางเชิงระบบนิเวศ
4. ความรับผิดชอบของคนในสังคม
5. การวิจัยและติดตาม
6. การให้การศึกษาและเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชน
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization) หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรชาติอย่างเหมาะสมให้ได้
ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยสุดหรือไม่เกิดเลย หรือเมื่อเกิดของเสียและมลพิษใน
สิ่งแวดล้อมก็ต้องหาวิธีการบาบัด กาจัด ให้คืนสภาพหรือรีไซเคิล เพื่อให้มลพิษในสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง
2. การเก็บกัก (storage) หมายถึง การรวบรวมและเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้ เพื่อเอาไว้
ใช้ในอนาคต ซึ่งมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป
3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดยมนุษย์หรือโดยธรรมชาติก็ตามมีความจาเป็ นที่
จะต้องรักษาหรือซ่อมแซมให้กลับเป็ นปกติ
4. การฟื้ นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมไปไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม จึง
มีความจาเป็ นที่จะต้องฟื้ นฟูให้เป็ นสภาพปกติเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อีก
5. การป้ องกัน (prevention) การป้ องกันเป็ นวิธีการที่ปกป้ องคุ้มครองทรัพยากรที่กาลังถูกทาลายหรือมี
แนวโน้มว่าจะถูกทาลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติได้
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation) หมายถึง การใช้สิ่งแวดล้อม อย่างมีเหตุผล เพื่ออานวย
ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไปแก่มนุษย์ โดยมีแนวความคิดที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอยู่ 6 ประการคือ
1) ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ผลแก่มนุษย์ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษ และคานึงถึงเรื่อง
ความสูญเปล่าในการจะนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้
2) รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง ตระหนักเสมอว่าการใช้ทรัพยากรมากเกินไปจะ
เป็นการไม่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อมฉะนั้นต้องทาให้อยู่ในสภาพเพิ่มพูนทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจ
3) รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพูนเท่ากับอัตราที่ต้องการใช้เป็นอย่างน้อย
4) ประมาณอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้ พิจารณาความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ
5) ปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพยายามค้นคว้าสิ่งใหม่ ๆ ทดแทนการใช้
ทรัพยากรจากแหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของประชากร
6) ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติซึ่งมีผลต่อการทาให้สิ่งแวดล้อมอยู่ใน
สภาพที่ดี โดยปรับความรู้ที่จะเผยแพร่ให้เหมาะแก่วัย คุณวุฒิ บุคคล สถานที่หรือท้องถิ่น
แนวทางอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 การอนุรักษ์สื่งแวดล้อมจะได้ผลยั่งยืนข้อมูลนั้น ตลอดจนต้องใช้มาตรการทางกฏหมาย
ควบคุมแนวทางในการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนมี 3 แนวทางดังนี้
1. การให้การศึกษาคือการสอนให้เข้าใจถึงหลักการ วิธีการอนุรักษ์ มีจริยธรรมเกิดสานัก
และร่วมในการอนุรักษ์
2. การใช้เทคโนโลยีในการนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์
3. การใช้กฎหมายควบคุมเป็นวิธีการสุดท้ายในการดาเนินการ
การลดปริมาณขยะด้วย “กลยุทธ์ 5R”
 ตัว R ตัวแรก ก็คือ Reduce หมายถึงลดการใช้ เป็นการลดขยะที่จะทิ้งให้เหลือน้อยลง เลือกซื้อสิ่งของเครื่องใช้ที่
ต้องการและบรรจุหีบห่อน้อย และมีอายุการใช้งานนานๆ
 ตัว R ตัวที่สอง Reuse คือการใช้ซ้า นาสิ่งของเครื่องใช้ที่ยังใช้ได้อยู่ มาดัดแปลงเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
 ตัว R ตัวที่สาม เรามักได้ยินกันอยู่เสมอ ก็คือ Recycle การรีไซเคิลขยะเป็นการนาเอาวัสดุที่ใช้แล้ว กลับไปเข้า
กระบวนการผลิตใหม่ให้เป็นของใหม่ ที่อาจเหมือนเดิมหรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ วัสดุที่นาไปเข้ากระบวนการผลิต
ใหม่ ได้แก่ พลาสติก โลหะ กระดาษ แก้ว
 ตัว R ตัวที่สี่ ก็คือ Repair ได้แก่การซ่อมหรือแก้ไข โดยนาสิ่งของเครื่องใช้ที่แตกหักเสียหาย มาซ่อมหรือแก้ไข
ให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ต่อได้นั่นเอง
 ส่วนตัว R ตัวสุดท้าย ก็คือ Reject ซึ่งหมายถึงการหลีกเลี่ยงขยะพิษ หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย ไม่ควร
นาภาชนะเปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีอันตรายมาใส่วัสดุอื่นโดยเด็ดขาด
“THE END”
THANK YOU FORYOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 

What's hot (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 

Viewers also liked

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Viewers also liked (12)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครูAdobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมKittiya GenEnjoy
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3gasine092
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 

Similar to บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (20)

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

  • 1. บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม รายวิชาวิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (ว31104) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556
  • 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิต และไม่มีชีวิต) ◦ เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต ◦ สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลก ของสิ่งมีชีวิต ◦ มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ  องค์ประกอบทางกายภาพ (ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน น้า อุณหภูมิ  องค์ประกอบทางชีวภาพ (มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา
  • 3. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของ ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขต เขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน @@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทาง กายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
  • 4. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (แบ่งกลุ่มรายงาน) 1. ไบโอมบนบก * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด - ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น - ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา - ไบโอมทุนดรา ไบโอมทะเลทราย - ไบโอมป่าสน 2. ไบโอมในน้า แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - ไบโอมแหล่งน้าจืด ไบโอมแหล่งน้าเค็ม ได้แก่ - แม่น้า - เขตน้าขึ้นน้าลง - ทะเลและมหาสมุทร - แหล่งน้ากร่อย (ป่าชายเลน) - แนวปะการัง - ทะเลสาบ
  • 7. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่  กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน  สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี้ 1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์ เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว 2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเป็ นอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภค สัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ สิงโต มนุษย์ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ย่อยสลายอินทรีย์สารให้ เป็ นอนินทรีย์สารเป็ นประโยชน์แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึม สารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์
  • 8. ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes ) 1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest ) - พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง อเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ หมู่เกาะแปซิฟิก แอฟริกา เอเชียใต้ - ลักษณะภูมิอากาศ ร้อน และชื้น - มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 200 – 400 ซม./ปี - พบพืชและสัตว์หลากหลายนับพันสปีชีส์ - อุดมสมบูรณ์มาก
  • 9. 2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest ) - พบบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ, จีน และประเทศไทย - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 100 ซม./ปี - มีความชื้นเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้ - อากาศเย็น - ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว - พืชเด่น ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม  พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น  สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 10. 3. ป่าสน ( Coniferous forest ) - ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล( Boreal ) - ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี - พบทางตอนใต้ของแคนาดา จีน ฟินแลนด์ - ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น - พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )  สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่ - ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ เช่นบนภูเรือ (ภูกระดึง มักพบ สนสองใบ สนสามใบเป็นต้น) ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 11. Spruce Fir Pine สนสองใบ สนสามใบ
  • 12. 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland ) - ปริมาณน้าฝน 25 – 50 ซม./ปี - มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการทากสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์ สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย - ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และใน ทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa) - พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia) - สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมู ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 13. 5. สะวันนา (Savanna) - พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย - อากาศร้อนยาวนาน - พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ - ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า - พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี  สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 14.  6. ทะเลทราย ( desert ) - ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี - บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิ เหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส - พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้ องกันการสูญเสียน้า โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลา ต้นอวบ เก็บสะสมน้า และพืชปีเดียว - ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - สัตว์ที่พบเลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 15. 7. ทุนดรา (Tundra) - พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย - ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน มีหิมะ ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ - ชั้นของดินที่อยู่ต่ากว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็ง - ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่ สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ : สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ  พืชเด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ  สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเค้า แมวหิมะ นอกจากนี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นอพยพเข้ามาในฤดูร้อน แมลง ยุง ไบโอมบนบก ( Terrestrial Biomes )
  • 16. ไบโอมในน้า ( Aquatic Biomes ) แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย  แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ  แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย  ทะเลสาบ  ทะเล  มหาสมุทร ซึ่งพบในปริมำณมำก ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลก และมีควำมลึกมำก ความแตกต่างระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม  น้าขึ้นน้าลงเป็นปัจจัยทางกายภาพที่ทาให้แหล่งน้าเค็มแตกต่างจากแหล่งน้าจืด
  • 17. น้ากร่อย ( Estuaries )  แหล่งน้ากร่อย หมายถึง คือช่วงรอยต่อของแหล่งน้าจืดและน้าเค็มที่มาบรรจบกัน ซึ่ง มักจะพบตามปากแม่น้า การขึ้นลงของกระแสน้าที่อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความ เค็มของน้าในแหล่ง น้ากร่อยเป็นอย่างมาก  โดยทั่วไปแล้ว น้ากร่อยหรือน้าทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่าง เหตุที่น้าทะเลมี สภาพเป็นด่างอ่อนๆ เป็นเพราะในน้าทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทาให้น้าเป็นด่างอ่อน
  • 18. ระบบนิเวศในน้า น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่ง ออกตามลักษณะแหล่งที่เกิดได้ ดังนี้  แหล่งน้าจืด  แหล่งน้ากร่อย  แหล่งน้าเค็ม @@@ ระบบนิเวศที่มีแหล่งที่อยู่อำศัยในน้าตามลักษณะของแหล่งน้า ทั้ง 2 ประเภท ได้แก่ ◦ แหล่งน้าจืด ◦ แหล่งน้าเค็ม การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้ แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็มเป็นตัวกาหนด
  • 19. ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด  ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ 1. แหล่งน้านิ่ง เช่น ทะเลสาบ บึง ถ้าเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่ 2. แหล่งน้าไหล เช่น แม่น้า ลาธาร
  • 20. 1. แหล่งน้านิ่ง แบ่งเป็น 3 เขต คือ 1.1 เขตชายฝั่ง (Litoral zone) เป็นบริเวณรอบ ๆ แหล่งน้า - แสงส่องได้ถึงก้นน้า - ผู้ผลิต บริเวณชายฝั่ง เช่น กก บัว แห้วทรงกระเทียม สาหร่ายสีเขียว และไดอะตอม จอก จอกหูหนู แหนแดง - ผู้บริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง ตัวอ่อนแมลงปอเข็ม แมลงปอชีปะขาว กุ้งก้ามกราม หอย กาบเดียว หอยสองกาบ เต่า ปลา 1.2 ผิวน้าหรือเขตกลางน้า (Limnetic zone) นับจากชายฝั่งเข้ามาจนถึงระดับลึกที่แสงส่องถึง  ความเข้มของแสงประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของแสงจากดวงอาทิตย์  สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่เป็นแพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าอิสระ มีจานวนชนิดและจานวนสมาชิกน้อย กว่าเขตชายฝั่ง แพลงก์ตอนพืช ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน  สัตว์เหล่านี้เป็นสัตว์ต่างชนิดกับเขตชายฝั่ง นอกจากนี้สัตว์อื่นๆ ในเขตกลางสระ เช่น ปลา ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
  • 21. 1.3 เขตน้าชั้นล่าง (Profundal zone) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดจนถึงหน้าดินของพื้นท้องน้า _ แสงส่องไม่ถึง จึงไม่มีผู้ผลิต - สิ่งมีชีวิตที่พบ ได้แก่ รา แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน ตัวอ่อนยุง หอยสองกาบ หนอนตัว กลม เป็นต้น - สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่มีออกซิเจนต่า เช่น ตัวอ่อนของยุงน้าชนิดหนึ่ง (Phantom) มีถุงลมสาหรับช่วยในการลอยตัว และ สาหรับเก็บออกซิเจนไว้ใช้  2. แหล่งน้าไหล แบ่งเป็น 3 เขต คือ 2.1 เขตน้าเชี่ยว เป็นเขตที่มีกระแสน้าไหลแรง จึงไม่มีตะกอนสะสมใต้น้า - สิ่งมีชีวิตมักเป็นพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้า หรือคืบคลานไปมาสะดวก - สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้าได้จะต้องเป็นพวกที่ทนทานต่อการต้านกระแสน้า - ไม่พบแพลงก์ตอนในบริเวณนี้ ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
  • 22. 2.2 เขตน้าไหลเอื่อย เป็นช่วงที่มีความลึก ความเร็วของกระแสน้าลดลง  อนุภาคต่างๆ จึงตกตะกอนทับถมกันหนาแน่นในเขตนี้  ไม่มีสัตว์เกาะตามท้องน้า เขตนี้เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่ เช่น หอยสองกาบ ตัว อ่อนของแมลงปอ ชีปะขาว แพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าได้ ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล สัตว์มีการปรับตัวพิเศษเพื่อการอยู่รอดหลายวิธี •มีโครงสร้างพิเศษสาหรับเกาะหรือดูดพื้นผิว เพื่อให้ติดแน่นกับพื้นผิว สิ่งมีชีวิตที่ มีอวัยวะพิเศษนี้ เช่น แมลงหนอนปลอกน้า •สร้างเมือกเหนียว เพื่อใช้ยึดเกาะ เช่น พลานาเรีย หอยกาบเดียว •มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานต่อกระแสน้า เช่น ปลา •ปรับตัวให้แบน เพื่อยึดติดกับท้องน้าได้แนบสนิทหรือเพื่อให้สามารถแทรกตัวอยู่ ในซอกแคบๆ หลีกเลี่ยงกระแสน้าแรงๆ
  • 24. ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย 3. น้ากร่อย เป็นบริเวณที่น้ามาบรรจบกันระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม ทาให้เป็นบริเวณที่มีน้า กร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่างชุมชนน้าจืดและน้าเค็ม  ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภาพทางชีววิทยาที่เอื้ออานวยที่จะให้ผลผลิตอย่างสูงต่อ สังคมมนุษย์  มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง  พบสัตว์เศรษฐกิจมากมาย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลาต่าง ๆ
  • 25. ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม  แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร  จัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแสคลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา  ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของผิวโลก  สามารถแบ่งเขตออกเป็น 2 บริเวณ คือ - บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มีความลาดชัน น้อยและค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของกระแสน้าขึ้นน้าลง และได้รับ ธาตุอาหารจากการชะล้างผิวหน้าดินลงสู่แหล่งน้า - บริเวณทะเลเปิด (open sea) เป็นบริเวณที่อยู่ห่างออกจากชายฝั่ง พื้นที่มีความลาด ชันเพิ่มขึ้นตามความลึกของน้า  สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ได้ 3 เขต คือ 1. เขตที่แสงส่องถึง 2. เขตที่มีแสงน้อย 3. เขตที่ไม่มีแสง
  • 26.
  • 27.  หาดหิน (rocky shore) ◦ เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้าเป็นที่กาบังคลื่นลม และหลบซ่อนตัว ◦ สัตว์ที่อาศัยบริเวณนี้ต้องคงทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น (การขึ้น-ลง ของกระแสน้า) ◦ ได้แก่ แมลงสาบทะเล (ligio) หอยนางรม ลิ่นทะเล หอยหมวกเจ๊ก (limpets) เพรียงหิน เม่นทะเล ดอกไม้ทะเล สาหร่ายสีแดง ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
  • 28.  หาดทราย (sandy beach) ◦ เป็นบริเวณชายฝั่งตั้งแต่รระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไป ถึง (ขนาดเม็ดทรายและความลาดชันแตกต่างกัน) ◦ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนี้ต้องมีการปรับตัวมาก เพราะคลื่นซัดทรายในสภาพที่รุนแรง ◦ เช่น ปูลม เคลื่อนที่ได้รวดเร็วและมีเหงือกใหญ่ชุ่มชื้นอยู่เสมอทนความแห้งแล้งได้ดี พวกหอยเสียบ หอยทับทิม ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
  • 29.  แนวปะการัง (coral reef) ◦ ปะการังเป็นสัตว์ไม่ใช่พืชสืบพันธุ์ด้วยการแตกหน่อเชื่อมติดกันมีสารหินปูนห่อหุ้มลาตัว กลุ่มก้อนปะการังที่สวยงามมาก ◦ ได้แก่ ปะการังเขากวาง ปะการังสมอง ปะการังเห็ด ปะการังต้นไม้ ฯลฯ ◦ เป็นแหล่งที่ให้ความอุดมสมบูรณ์ทางด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของ สัตว์น้าแต่ละชนิด เป็นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายและให้ผลผลิตสูงมากในทะเล ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
  • 30. ระบบนิเวศบนบก  ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวมพันธุ์ไม้และ สัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซออกซิเจน และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) ได้แก่ ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) , ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่าชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp) ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่าหญ้า
  • 31. ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) 1. ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)  พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และที่ภาคใต้  กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล  มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ  ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ส่วน ใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะเป็นพวก ปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุกขอน เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
  • 32. 2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)  พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา  ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร  ปริมาณน้าฝน 1,000 -1,500 ม.ม.  พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและ ค่อนข้างโล่งเตียน ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
  • 33. 3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)  อยู่สูงจากระดับน้าทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป  ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น  มีปริมาณน้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 ม.  พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย  มีป่าเบจพรรณด้วย บางทีก็มีสนเขาขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่างเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอส ต่าง ๆ  ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
  • 34. 4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา ป่าบอเรียล  กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย  ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป  ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง  ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ้นปะปนอยู่ พืชชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
  • 35. 5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest)  เป็นสังคมป่าที่อยู่ถัดจากบริเวณสังคมป่าชายเลน  เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของซากพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้าท่วมขังหรือ ชื้นแฉะตลอดปี  พบในจังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร  พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทาลายเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นสวนมะพร้าว นาข้าว และบ่อ เลี้ยงกุ้งเลี้ยงปลา  ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest)
  • 36. ป่าไม่ผลัดใบ (Evergeen forest) 6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)  พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลน และน้าทะเลท่วมถึง  เช่น ตามชายฝั่งตะวันตก ตั้งแต่ระนองถึงสตูล  แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา  ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู โพทะเล เป็นต้น
  • 37. ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)  เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ  การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน  สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ 1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ  ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง  ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี  เป็นสังคมพืชที่มีความหลากหลายมาก  จะผลัดใบมากในฤดูแล้ง  พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่ำ แดง ประดู่ และชิงชัน
  • 38. 2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ  ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง  มีปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี  พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า เช่น เต็ง รัง พลวง มะขามป้ อม มะกอก ผักหวาน ฯลฯ เป็นต้น  พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง พวกขิง ข่า เป็นต้น ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
  • 39. 3. ป่าหญ้า เป็นป่าที่เกิดภายหลังจากที่ป่าธรรมชาติอื่น ๆ ได้ถูกทาลายไป  ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อาจเจริญงอกงามต่อไปได้  หญ้าต่าง ๆ จึงเข้ามาแทนที่ พบได้ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน  เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น  ไม้ต้นมีขึ้นกระจายห่าง ๆ กันบ้าง เช่น กระถินป่า ประดู่ ตานเหลือง และปรงป่า เป็นต้น ไม้เหล่านี้ทนแล้งและทนไฟป่าได้ดี ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest)
  • 40. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ  พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ( 90%จะถูกใช้ในกระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วน บางส่วนบริโภคไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ)  การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมใน สิ่งมีชีวิตในรูปของอินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการ การย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็นสารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต  พลังงานไม่สามารถหมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรียสารเป็นผู้รับ พลังงานขั้นสุดท้าย
  • 44. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 1. พีระมิดจานวน เป็ นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นอยู่กับห่วงโซ่อาหาร 2. พีระมิดมวลชีวภาพ หรือน้าหนักแห้ง เป็ นแบบฐานกว้างหรือฐานแคบได้ขึ้นกับห่วงโซ่ อาหาร 3. พีระมิดของพลังงาน ที่ถ่ายทอดได้เพียง 10% จึงมีลักษณะฐานกว้างอย่างเดียว พีระมิดทางนิเวศวิทยา (Ecological Pyramid) การเขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ในแต่ละลาดับขั้นของห่วงโซ่อาหาร โดยเริ่มจากผู้ผลิตจนกระทั่งผู้บริโภคสูงสุด
  • 46. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 1. อุณหภูมิ 1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็ นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่ การทางานของเอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพ) 1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับ อุณหภูมิร่างกายให้คงที่ 1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็ นเขตที่อบอุ่น 1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให ้้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง 2. แสง 2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสง (อาหาร) ของพืชมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมาก 2.2 พฤติกรรมการดารงชีวิต การออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน 2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น ดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
  • 47. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 3. น้ำและควำมชื้น 3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต มากกว่าเขตแห้งแล้ง 3.2 ปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า 4. ดิน 4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโต 4.2 แหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต 5. ควำมเป็นกรด-เบสของดินและน้ำ 5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดิน และแหล่งน้าที่มีความเป็ นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโต และดารงชีวิตอยู่ได้) 5.2 ความเป็ นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
  • 49. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตมีหลายแบบ ได้แก่ 1. ภาวะพึ่งพากัน (mutualism, + / +) 2. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (protocooperation, + / +) 3. ภาวะเกื้อกูลหรือภาวะอิงอาศัย (commensalims, + / 0) 4. ภาวะปรสิต (parasitism,+ / -) 5. การล่าเหยื่อ (predation, + / -) 6. ภาวะการแก่งแย่ง (compertion, - / -) 7. ภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism.+ / 0) 8. ภาวะการหลั่งสารห้ามการเจริญหรือการทาลายล้าง (0,-) 9. ภาวะที่เป็ นกลาง (neutralism, 0 / 0)
  • 52. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การปรับตัว (Adaptation) เพื่อดารงเผ่าพันธุ์ การปรับตัวมี 3 แบบ 1. การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง (รูปร่าง) เช่น 1.1 หมีขั้วโลกหรือสัตว์ในเขตหนาวมีขนยาวปกคลุม และมีชั้นไขมันใต้ผิวหนังป้ องกันความหนาว 1.2 จระเข้ผิวลาตัวเป็ นเกล็ด ป้ องกันการสูญเสียน้าออกจากร่างกาย 1.3 โกงกางและพืชป่ าชายเลน มีใบอวบน้าเพื่อเก็บน้าจืดและผลจะงอกตั้งแต่อยู่บนต้นเพื่อป้ องน้าพัด 1.4 ผักตบชวา มีกระเปาะเก็บอากาศ ช่วยให้ลอยน้าได้ 2. การปรับตัวทางด้านสรีระ (การทางานอวัยวะ) เช่น 2.1 การขับเหงื่อเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย 2.2 สัตว์เลือดอุ่นผลิตฮอร์โมนเพศการสืบพันธุ์เพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณแสงต่อวันลดลง (เริ่มผสมพันธุ์ในฤดูใบไม้ ร่วง) 2.3 หนูแกงการู อยู่ในทะเลทรายจะกินอาหารเป็ นเมล็ดพืชที่แห้งและไม่ดื่มน้าเลยแต่ได้จากเมแทบอลิซึม (อูฐ) 3. การปรับตัวทางด้านพฤติกรรม (ลักษณะนิสัย) 3.1 สัตว์ทะเลทรายออกหากินในเวลากลางคืน 3.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของนกจากเขตหนาวมาเขตอบอุ่น 3.3 สัตว์ป่ ากินดินโป่ งที่มีแร่ธาตุอาหารที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต
  • 54. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  แร่ธาตุ และสารต่างๆ ในระบบนิเวศเป็ นสิ่งจาเป็ นในการดารงชีวิตของ สิ่งมีชีวิต เช่น คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เป็ น ต้น  สารต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็ นองค์ประกอบของโมเลกุลที่สาคัญในเซลล์ สิ่งมีชีวิต เรียกว่า ชีวโมเลกุล (biomolecules) เช่น ลิพิด โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลีอิก  ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบหลักเหล่านี้ มีการหมุนเวียนผ่านโซ่อาหารเป็ นวัฏจักร เรียกว่า วัฏจักรสาร (material cycle)
  • 57. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  วัฏจักรฟอสฟอรัส องค์ประกอบของกระดูก ฟันและสารพันธุกรรม และไม่พบการ หมุนเวียนสู่บรรยากาศ
  • 59. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  วัฏจักรน้า มีมากในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสาคัญ เช่น น้าช่วยลาเลียงสารต่างๆ เป็ นตัวกลางในการทาปฏิกิริยา รักษาสมดุลของอุณหภูมิ
  • 60. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา = กลุ่มสิ่งมีชีวิตในที่ใดที่หนึ่งถูกแทนที่โดยกลุ่มใหม่ อยู่เรื่อยๆ และจะหยุดลงเมื่อมีกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มสุดท้าย ทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป/คงตัว = กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด มี 2 แบบ 1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ จากบริเวณที่ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตอยู่ก่อนเลยต่อมามี ปรากฏขึ้นพวกแรก (ผู้บุกเบิก) และมีการเปลี่ยนแปลงเป็นลาดับขั้นจนกระทั่งถึงระยะขั้น ขั้นสุด ที่ว่าง → ไลเคน (Pioneer Species) → มอส ลิเวอร์เวิร์ต → ไม้พุ่ม → ไม้ยืนต้น → กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุด 2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ จากบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตขั้นสุดจากปฐมภูมิแล้วและถูก และถูกทาลาย จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ได้กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดแบบเดิม หรือใหม่ เช่น เช่น เกิดไฟไหม้ป่า เกิดโรคระบาด ทาให้เสียสมดุล
  • 62. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  ประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง N = จานวนประชากร A = พื้นที่หรือปริมาตร  การแพร่กระจายประชากร เนื่องจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ ◦ ปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความสูงจากระดับน้าทะเล อุณหภูมิ แสง ความชื้น และกรด-เบส
  • 63. P = p M m ตัวอย่างเช่น นักเรียนจับหอยทากมาทาเครื่องหมายทั้งหมด 10 ตัวแล้วปล่อยกลับคืน อีก 1 อาทิตย์ต่อมาจับหอยทาก มาได้ทั้งหมด 50 ตัว พบว่ามีหอยทากที่ทาเครื่องหมาย 5 ตัว จงหาจานวนของประชากรหอยทากนี้ P = 50 10 5
  • 64. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนการรอดชีวิตของประชากรซึ่งขึ้นอยู่กับช่วง อายุขัย (life span) ในช่วงวัยต่างๆ กันทาให้ความหนาแน่นแตกต่างกันด้วย เรียกว่า กราฟการรอดชีวิตของประชากร
  • 65. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม  โครงสร้างประชากรของมนุษย์ ◦ แบบ ก ฐานกว้าง ยอดแหลม แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นรวดเร็ว พบในกัวเตมาลา เคนยา ไนจีเรีย ◦ แบบ ข รูปกรวย ปากแคบ แสดงว่าประชากรเพิ่มขึ้นช้าๆ เช่น อเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา ไทย ◦ แบบ ค ระฆังคว่า แสดงว่าประชากรมีขนาดคงที่ เช่น สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย อิตาลี ◦ แบบ ง รูปดอกบัวตูม แสดงว่าประชากรลดลง เช่น สิงคโปร์ เยอรมัน สวีเดน ฮังการี บัลกาเรีย
  • 69. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรน้า  เป็ นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้า เพื่อดารงชีวิตด้านต่างๆ เช่น เป็ นที่อยู่อาศัยและแพร่พันธุ์แบ่งออกเป็ น 3 แหล่งใหญ่ ได้แก่ 1. หยาดน้าฟ้ า 2. น้าผิวดิน 3. น้าใต้ดิน ทรัพยากรดิน  ดินป็ นทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ และเป็ น ทรัพยากรพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ อีก เช่น ทรัพยากรป่ าไม้ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ป่ า เป็ นต้น จาแนกตามลักษณะเนื้อดินได้ 3 ชนิด คือ 1. ดินเหนียว 2. ดินร่วน 3. ดินทราย ทรัพยากรอากาศ  อากาศจัดเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีวันหมดสิ้นและเป็ นทรัพยากรที่มีความจาเป็ นต่อ การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด องค์ประกอบของอากาศ ได้แก่ 1. แก๊สไนโตรเจน 78% 2. แก๊สออกซิเจน 21% 3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.03% 4. แก๊สอื่นๆ 0.07%
  • 70. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรป่ าไม้  ป่ าไม้เป็ นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ และ สิ่งแวดล้อม เป็ นแหล่งรวมของความหลากหลายทางชีวภาพ เป็ นแหล่งเอื้ออานวยต่อปัจจัยสี่ในการดารงชีวิต ของมนุษย์ เป็ นแหล่งของต้นน้าลาธาร ช่วยรักษาระดับอุณหภูมิของโลก ควบคุมปริมาณน้าฝน ช่วยในการ อนุรักษ์ดินและน้าและเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ า แบ่งเป็ น ป่ ำไม่ผลัดใบและป่ ำผลัดใบ ทรัพยากรสัตว์ป่ า  สัตว์ป่ าเป็ นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้แล้วเกิดทดแทนได้ปัจจุบันพบว่าจานวนสัตว์ป่ าลดลงและมี แนวโน้มลดลงเรื่อยๆทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ป่ ไม้ซึ่งเป็ นแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหากิน และสืบพันธุ์ของสัตว์ป่ า ลดลง นอกจากนี้การลดลงของสัตว์ป่ ายังเกิดจากสาเหตุอื่นๆอีกที่มนุษย์เป็ นผู้กระทา เช่น การล่าสัตว์ป่ า เพื่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ เป็ นต้น แบ่งเป็ น สัตว์ป่ ำสงวนและสัตว์ป่ ำคุ้มครองประเภทที่ 1 (สวยงำม) ,2 (อำหำร)
  • 73. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ  เอเลียนสปี ชีส์ หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นในที่ที่แตกต่างจากพื้นที่การแพร่กระจายตามธรรมชาติ โดย สามารถจาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภท ตามบทบาทที่มีผลต่อระบบนิเวศ คือ 1. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่รุกราน จัดเป็ นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง 2. ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน จัดเป็ นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่จะมาแทนที่พันธุ์พื้นเมื่องเดิมที่มีอยู่ได้และยังสามารถ ขัดขาวงการเจริญของพันธุ์อื่นๆ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศ แนวทางและมาตรการในการป้ องกัน 1. การระมัดระวัง 2. แนวทางบันไดสามขั้น ได้แก่ 2.1 การป้ องกัน 2.2 การสืบพบ2.3 การกาจัด 3. แนวทางเชิงระบบนิเวศ 4. ความรับผิดชอบของคนในสังคม 5. การวิจัยและติดตาม 6. การให้การศึกษาและเสริมสร้างความตระหนักแก่สาธารณชน
  • 74. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 1. การใช้แบบยั่งยืน (sustainable utilization) หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรชาติอย่างเหมาะสมให้ได้ ประโยชน์สูงสุด เมื่อใช้แล้วเกิดมลพิษน้อยสุดหรือไม่เกิดเลย หรือเมื่อเกิดของเสียและมลพิษใน สิ่งแวดล้อมก็ต้องหาวิธีการบาบัด กาจัด ให้คืนสภาพหรือรีไซเคิล เพื่อให้มลพิษในสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง 2. การเก็บกัก (storage) หมายถึง การรวบรวมและเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะขาดแคลนได้ เพื่อเอาไว้ ใช้ในอนาคต ซึ่งมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป 3. การรักษาซ่อมแซม (repair) เมื่อทรัพยากรถูกทาลายโดยมนุษย์หรือโดยธรรมชาติก็ตามมีความจาเป็ นที่ จะต้องรักษาหรือซ่อมแซมให้กลับเป็ นปกติ 4. การฟื้ นฟู (rehabilitation) เมื่อทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสื่อมโทรมไปไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม จึง มีความจาเป็ นที่จะต้องฟื้ นฟูให้เป็ นสภาพปกติเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรได้อีก 5. การป้ องกัน (prevention) การป้ องกันเป็ นวิธีการที่ปกป้ องคุ้มครองทรัพยากรที่กาลังถูกทาลายหรือมี แนวโน้มว่าจะถูกทาลายให้สามารถอยู่ในสภาพปกติได้
  • 75. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Conservation) หมายถึง การใช้สิ่งแวดล้อม อย่างมีเหตุผล เพื่ออานวย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไปแก่มนุษย์ โดยมีแนวความคิดที่จะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เกิดผลอยู่ 6 ประการคือ 1) ต้องมีความรู้ในการที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ผลแก่มนุษย์ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษ และคานึงถึงเรื่อง ความสูญเปล่าในการจะนาทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ 2) รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง ตระหนักเสมอว่าการใช้ทรัพยากรมากเกินไปจะ เป็นการไม่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อมฉะนั้นต้องทาให้อยู่ในสภาพเพิ่มพูนทั้งด้านกายภาพและเศรษฐกิจ 3) รักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ให้มีสภาพเพิ่มพูนเท่ากับอัตราที่ต้องการใช้เป็นอย่างน้อย 4) ประมาณอัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากรได้ พิจารณาความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสาคัญ 5) ปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและพยายามค้นคว้าสิ่งใหม่ ๆ ทดแทนการใช้ ทรัพยากรจากแหล่งธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ของประชากร 6) ให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติซึ่งมีผลต่อการทาให้สิ่งแวดล้อมอยู่ใน สภาพที่ดี โดยปรับความรู้ที่จะเผยแพร่ให้เหมาะแก่วัย คุณวุฒิ บุคคล สถานที่หรือท้องถิ่น
  • 76. แนวทางอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  การอนุรักษ์สื่งแวดล้อมจะได้ผลยั่งยืนข้อมูลนั้น ตลอดจนต้องใช้มาตรการทางกฏหมาย ควบคุมแนวทางในการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนมี 3 แนวทางดังนี้ 1. การให้การศึกษาคือการสอนให้เข้าใจถึงหลักการ วิธีการอนุรักษ์ มีจริยธรรมเกิดสานัก และร่วมในการอนุรักษ์ 2. การใช้เทคโนโลยีในการนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. การใช้กฎหมายควบคุมเป็นวิธีการสุดท้ายในการดาเนินการ
  • 77. การลดปริมาณขยะด้วย “กลยุทธ์ 5R”  ตัว R ตัวแรก ก็คือ Reduce หมายถึงลดการใช้ เป็นการลดขยะที่จะทิ้งให้เหลือน้อยลง เลือกซื้อสิ่งของเครื่องใช้ที่ ต้องการและบรรจุหีบห่อน้อย และมีอายุการใช้งานนานๆ  ตัว R ตัวที่สอง Reuse คือการใช้ซ้า นาสิ่งของเครื่องใช้ที่ยังใช้ได้อยู่ มาดัดแปลงเพื่อนากลับมาใช้ใหม่  ตัว R ตัวที่สาม เรามักได้ยินกันอยู่เสมอ ก็คือ Recycle การรีไซเคิลขยะเป็นการนาเอาวัสดุที่ใช้แล้ว กลับไปเข้า กระบวนการผลิตใหม่ให้เป็นของใหม่ ที่อาจเหมือนเดิมหรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ วัสดุที่นาไปเข้ากระบวนการผลิต ใหม่ ได้แก่ พลาสติก โลหะ กระดาษ แก้ว  ตัว R ตัวที่สี่ ก็คือ Repair ได้แก่การซ่อมหรือแก้ไข โดยนาสิ่งของเครื่องใช้ที่แตกหักเสียหาย มาซ่อมหรือแก้ไข ให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ต่อได้นั่นเอง  ส่วนตัว R ตัวสุดท้าย ก็คือ Reject ซึ่งหมายถึงการหลีกเลี่ยงขยะพิษ หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย ไม่ควร นาภาชนะเปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีอันตรายมาใส่วัสดุอื่นโดยเด็ดขาด
  • 78. “THE END” THANK YOU FORYOUR ATTENTION!