SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
Download to read offline
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑
โครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อพัฒนาท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่๗)
ชื่อโครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่๗)
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ประธานชมรมอาสาฯ นายบุลากร ศรีนวน รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๓๑
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวิทูร อินทอง รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๓๑
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๘๙๗-๕๔๔๐
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน สารวจค่าย ๑๗-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖
เตรียมค่าย ๖-๘ ธันวาคม ๒๕๕๖
เตรียมค่าย ๑๓-๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖
ปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
ประเมินผล ๖ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๓๕ คน ประกอบด้วย
๑.นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๗๐ คน
๒.อาจารย์จากทางมหาวิทยาลัย จานวน ๑ คน
๓.เจ้าหน้าที่คณะ จานวน ๒ คน
๔.คนในชุมชน จานวน ๖๐ คน
๕.บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๑ คน
๖.สานักงานจังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๑ คน
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒
๑.หลักการและเหตุผล
บ้านห้วยบะบ้า หมู่ที่๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหมู่บ้านชนบทที่
อยู่ห่างไกล ทุรกันดารและขาดการพัฒนาในหลายๆด้าน หมู่บ้านมีลักษณะเป็นภูเขาที่สลับซับซ้อนกันตั้งอยู่
ความสูงในระดับน้าทะเลปานกลาง ๑๐๐๐-๑๒๐๐ เมตรโดยประมาณ เป็นภูเขาที่ปกคลุมไปด้วยต้นไม้และ
พันธุ์พืชนานาชนิด เป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงตามคาบอกเล่าของคนในพื้นที่เล่าว่า เดิมทีชาวบ้านที่
อาศัยอยู่ในพื้นที่นี้อพยพมาจาก ต่าเนอชีเดาะปู แล้วเข้ามาอยู่อาศัย ซึ่งในบริเวณลาห้วยในพื้นที่นี้มีพืชชนิด
หนึ่งชื่อว่า”มะบ้า”เป็นจานวนมาก ต่อมา “ห้วยมะบ้า”จึงกลายเป็นชื่อหมู่บ้านแห่งนี้
ในปัจจุบันมี นายหม่อกา เป็นผู้นาหมู่บ้านที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษในการปกครองหมู่บ้าน บ้าน
ห้วยบะบ้ามีจานวนครัวเรือนทั้งหมด ๓๖ ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด ๒๗๗ คนเพศชาย ๑๐๗ คน เพศ
หญิง ๑๒๐ คน เนื่องด้วยหมู่บ้านอยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ทาให้ผู้คนในหมู่บ้านดารงชีวิตตามธรรมชาติ
ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพ ความเชื่อ สภาพวิถีชีวิต ดังนั้นหมู่บ้านแห่งนี้จึงปราศจากการเข้าถึงของ
ไฟฟ้า น้าประปา มีเพียงพลังไฟฟ้าโซล่าเซลล์ มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้แรงงาน เช่น ช้าง กระบือ นอกจากนี้
หมู่บ้านแห่งนี้ไม่มีโรงเรียน ทาให้เด็กๆในหมู่บ้านจาเป็นต้องเดินทางไปเรียนยังอีกหมู่บ้านหนึ่งเป็นระยะทาง
เกือบสิบกิโลเมตร อีกประการหนึ่งที่สาคัญ คือ หมู่บ้านแห่งนี้ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ขาด
แคลนปัจจัยในการพัฒนาต่างๆ ทางชมรมอาสาพัฒนาฯของเราจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการหยิบยื่น
โอกาสในการเข้าถึงปัจจัยในการช่วยส่งเสริมการพัฒนาให้แก่หมู่บ้านแห่งนี้ และที่สาคัญเพื่อส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยพิจารณาตามความสามารถของนักศึกษาแล้วพบว่า
นักศึกษาจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมในด้านต่างๆทั้งการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้
หมู่บ้าน ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการต่อยอดการพัฒนาหมู่บ้านต่อไปในอนาคต โดยจากการพูดคุยกับทาง
ชาวบ้านในพื้นที่แล้วพบว่า ชาวบ้านมีความยินดีและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างยิ่ง โดยชาวบ้าน
คาดหวังว่าอาคารศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้จะเป็นสถานที่ที่ใช้ในการเรียนรู้อย่างยั่งยืนในเรื่องต่างๆ การให้
ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันวิกฤตหมอกควันรวมถึงการแก้ไขปัญหา การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา
เกษตรอย่างยั่งยืน การให้ความรู้เรื่องผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อชุมชน กิจกรรมเวทีประชาคม
หมู่บ้านเพื่อก่อให้เกิดพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปกครองในชุมชน ทั้งนี้กิจกรรมต่างๆ
เป็นไปเพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้อานาจตามระบบการกระจายอานาจจากส่วนกลาง และการมีส่วนร่วม
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๓
ตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในชุมชน การส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นการ
พัฒนาที่สาคัญมากกว่าปัจจัยทางด้านวัตถุ โดยความหมายของการพัฒนาใน ณ ที่นี้ คือ การพัฒนาให้ดี
จากเดิมแต่ไม่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเดิม ให้สอดคล้องต่อความเป็นไปของหมู่บ้าน ซึ่งถือเป็นสิ่งสาคัญของ
การ “อาสาพัฒนาชนบท” ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางชมรมอาสาพัฒนาชนบทคณะรัฐศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยึดถือมาโดยตลอด
โครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่ ๗) นั้นจึงถือเป็นอีก
ความร่วมมือของคนในชุมชนบ้านห้วยบะบ้า บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง อาเภอ
กัลยาณิวัฒนา และ คณะรัฐศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีนักศึกษาชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญ
ประโยชน์คณะรัฐศาสตร์ฯ เป็นแกนนาได้ร่วมกันดาเนินการทากิจกรรมต่างๆขึ้น ทั้งนี้การจัดทาโครงการนี้
ยังเป็นพื้นที่สาคัญที่เปิดโอกาสให้ให้นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร ชาวบ้านรวมถึงผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน
ได้ ร่วมกันสร้างสรรค์สังคมไทยและพัฒนาพื้นที่ถิ่นทุรกันดารในท้องถิ่นไทย ช่วยปลูกฝังจิตสานึกให้กับ
นักศึกษา กลุ่มคนรุ่นใหม่ได้เปิดโลกทัศน์ มองเห็นสังคมในอีกด้านหนึ่ง รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักการเสียสละ
หยิบยื่นโอกาสแก่กลุ่มคนที่ถูกเรียกว่า “คนชายขอบ” รวมถึงนักศึกษาจะได้เรียนรู้และรับประสบการณ์จาก
การร่วมมือกันทากิจกรรม จนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ต่างเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันเพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไปในอนาคต
๒.ประเภทของโครงการ ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ดังต่อไปนี้
- หมู่บ้านห้วยบะบ้า
- องค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง
- อาเภอกัลยาณิวัฒนา
- คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
- ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๔
๓.รูปแบบการดาเนินงาน
แบ่งลักษณะการดาเนินโครงการ เป็นโครงการย่อยในส่วนต่างๆดังต่อไปนี้
๑. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน
๒. โครงการส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบประชาธิปไตย
๓. โครงการหมู่บ้านสู่อาเซียน
๔. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย
๕. โครงการการเกษตรพัฒนาหมู่บ้านตามรอยพระราชดาริ
๖. โครงการเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม สานสัมพันธ์ จัดทาประชาคมชุมชน
๗. โครงการส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจากธรรมชาติ
๘. โครงการสวัสดิการและโภชนาการ
๙. โครงการสันทนาการหรรษา พาเพลิน
๑๐.โครงการประเมินผลกิจกรรม
๔.เป้าหมายเชิงปริมาณ/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๓๕ คน ประกอบด้วย
๑.นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๗๐ คน
๒.อาจารย์จากทางมหาวิทยาลัย จานวน ๑ คน
๓.เจ้าหน้าที่คณะ จานวน ๒ คน
๔.คนในชุมชน จานวน ๖๐ คน
๕.บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๑ คน
๖.สานักงานจังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๑ คน
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๕
๕.เป้าหมายเชิงคุณภาพ
๑.นักศึกษามีความพึงพอใจในกิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์ ระดับมาก – มากที่สุด อย่างน้อย ๘๐ %
๒.นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด อย่างน้อย ๘๐ %
๓.ได้ร่วมกันทาประโยชน์ให้แก่ชาวบ้านโดยชาวบ้านมีความพึงพอใจระดับมาก – มากที่สุด ๘๐ %
๖.วัตถุประสงค์
๑.เพื่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ให้กับชุมชนบ้านห้วยบะบ้า
๒.เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้การจัดสรรอานาจและระบบการกระจายอานาจที่มีประสิทธิภาพผ่านการจัด
กิจกรรมของนักศึกษา
๓.เพื่อให้ชาวบ้านและนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ได้มีส่วนร่วมในการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้
หมู่บ้าน และเป็นการส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนเองและระหว่างคนในชุมชนกับ
นักศึกษา
๔.เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม เสริมสร้างให้
นักศึกษามีปฏิสัมพันธ์กันมากยิ่งขึ้น สนิทสนมและรักใคร่กลมเกลียวกัน
๕.เพื่อให้นักศึกษาได้สัมผัสพร้อมกับเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในชนบท ถิ่นทุรกันดาร
๖.เพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ในการทางานร่วมกันของนักศึกษา
๗.เพื่อปลูกฝังความมีจิตอาสาให้แก่นักศึกษาและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในการทากิจกรรม
๗.ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑.วางแผนการจัดทาโครงการ กาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติงาน
๒.ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๓.จัดหาสถานที่ในการจัดทาโครงการโดยการออกสารวจพื้นที่ก่อนการออกค่ายจริง
-ลงพื้นที่ติดต่อประสานงานกับผู้นาชุมชนเพื่อที่ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชนว่าต้องการให้เกิดการ
ทากิจกรรมรูปแบบใดและมีปัญหาใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่บ้าง
๔.ประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนนักศึกษาให้เข้าร่วมกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย
๕.ดาเนินการตามแผนที่วางไว้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
๖.จัดทาการสรุปและประเมินผลโครงการ
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๖
๘.ดัชนีชี้วัดความสาเร็จ
๑.มีนักศึกษามีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ วัดจากการทาแบบ
ประเมินผลกิจกรรม
๒.ชาวบ้านในชุมชนมีความพึงพอใจจากการจัดกิจกรรมของนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ วัด
จากการทาแบบสอบถาม
๙.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ชุมชนมีบ้านห้วยบะบ้าได้รับอาคารอเนกประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน
๒.ชุมชนได้รับมอบอาคารอเนกประสงค์ไว้ใช้สาหรับการจัดทากิจกรรมภายในชุมชน
๓.ชุมชนได้รับความรู้และประโยชน์จากการให้ความรู้ทางด้านการป้องกันวิกฤตทางด้านหมอกควัน
และการแก้ไขปัญหา การให้ความรู้ทางด้านสุขอนามัย การพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ความรู้
ทางด้านอาเซียน และความรู้ทางด้านการจัดสรร การกระจายอานาจ ตามระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย
๔.นักศึกษาได้ทากิจกรรมช่วยเหลือชุมชนที่ขาดการสนับสนุนและการพัฒนาจากภาครัฐ
๕.นักศึกษามีทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
๖.นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาช่วยพัฒนาชุมชนที่
ขาดการพัฒนา มีจิตอาสาและสานึกที่ดีต่อสังคม
๗.นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นที่ห่างไกล
๑๐.ระยะเวลาดาเนินงาน ( ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ - ๔ มกราคม ๒๕๕๗ )
๑๐.๑ สารวจและวางแผนดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ๒๕๕๖
๑๐.๒ จัดทาโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖
๑๐.๓ ประชุมเตรียมการดาเนินงานกิจกรรม เดือน กันยายน –พฤศจิกายน ๒๕๕๖
๑๐.๔ ดาเนินการจัดกิจกรรม วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๖
๑๐.๕ ประเมินผลและสรุปรายงานผลการดาเนินงาน เดือนมกราคม ๒๕๕๗
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๗
๑๑.สถานที่ดาเนินการ
บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
๑๒.ผู้รับผิดชอบโครงการ
ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีนักศึกษาร่วมโครงการ ซึ่งมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในโครงการดังนี้
๑๒.๑ คณะกรรมการดาเนินงาน
๑.นายบุลากร ศรีนวน ประธานชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์
๒.นายวิทูร อินทอง ประธานค่ายสร้าง (ผู้รับผิดชอบโครงการ)
๓.นายราชิต เสริมสุวรรณ ฝ่ายก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้
๔.นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์ ฝ่ายส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบ
ประชาธิปไตย
๕.นางสาวนิภาธร ว่องเกษกิจ ผู้รับผิดชอบโครงงานหมู่บ้านสู่อาเซียน
๖.นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์ ผู้รับผิดชอบโครงงานส่งเสริมอนามัย
๗.นายณัฐพงษ์ ปัญญาทา ฝ่ายส่งเสริมการเกษตร
๘.นายอัมเรศ ภูผา ฝ่ายสวัสดิการ
๙.นางสาวจริยา ใจบุญ ฝ่ายโภชนาการ
๑๐.นายกฤษภาณุ เครือเนตร ฝ่ายสันทนาการ
๑๑.นายชัยชาญ ศรีอารยชาติ ฝ่ายสัมพันธ์ชุมชนและจัดทาประชาคมหมู่บ้าน
๑๒.นางสาวประณิสรา เมฆพัฑน์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์
๑๓.นางสาวเบญจาวัลย์ ศรีโยธี ฝ่ายประสานงานวัดประเมินผล
๑๔.นางสาวนายิกา เมืองแก้ว เลขานุการ
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๘
๑๒.๒ ที่ปรึกษาโครงการ
๑๒.๒.๑ ที่ปรึกษาโครงการฝ่ายมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๑) อาจารย์ ดร. รวีวรรณ แพทย์สมาน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๖๓๕๗๒๒๖
๒) นางสาวนภาภรณ์ ปัญญาราษฎร์ ที่ปรึกษาโครงการ
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๑-๑๑๑๒๓๙๖
๑๒.๒.๒ ที่ปรึกษาด้านโครงสร้างอาคาร
๑) นายชโยดม ทายะ นายช่างโยธาที่ปรึกษาโครงการ
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๕๓๔๗๐๑
๑๒.๒.๓ ที่ปรึกษาโครงการฝ่ายหมู่บ้าน บ้านห้วยบะบ้า
๑) นายอดุลย์ ฮวกนิล นายอาเภอกัลยาณิวัฒนา
๒) นายสุขชัย สนวิเศษณ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง
๓) นายธนาชัย ดิลกอมรคีรี รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง
๔) นายสุดจา ลิขิตเบญจกุล ผู้ใหญ่บ้านบ้านห้วยบะบ้า
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๙
ประธานโครงการ
ฝ่ายจัดกิจกรรม
หัวหน้าโครงงานอาคาร
อเนกประสงค์
ผู้รับผิดชอบโครงงาน
ประเมินผล
สโมสรนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ฯ
หัวหน้าโครงงานส่งเสริม
การศึกษา
หัวหน้าโครงงานสวัสดิการ
และโภชนาการฯ
หัวหน้าโครงงานส่งเสริม
สุขภาพและอนามัย
หัวหน้าโครงงานสันทนา
การและประชาสัมพันธ์
หัวหน้าโครงงานส่งเสริม
การเกษตร
ชมรมอาสาคณะ
รัฐศาสตร์ฯ
หัวหน้าโครงงานหมู่บ้าน
อาเซียน
แผนการทางานภายในของชมรมอาสา
รัฐศาสตร์
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๐
ชื่อโครงงาน ก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๖๓๕๗๒๒๖
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นายราชิต เสริมสุวรรณ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๒๔
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๑๙๓๓๐๕๘
ที่ปรึกษาด้านโครงสร้างอาคาร นายชโยดม ทายะ (นายช่างโยธา) เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๕๓๔๗๐๑
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
เนื่องจากทางหมู่บ้านบ้านห้วยบะบ้าเป็นหมู่บ้านที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร มี
ลักษณะของการดารงชีพอยู่บนพื้นฐานของการพึ่งพาธรรมชาติ แต่มีลักษณะการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการร่วมกันแสดงออกทางความ
คิดเห็น และแลกเปลี่ยนทัศคติต่างๆ เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนตามหลักการสาคัญของระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย หมู่บ้านห้วยบะบ้านั้น จึงมีความต้องการอาคารศูนย์การเรียนรู้หมู่บ้าน เพื่อที่จะได้ใช้
เป็นสถานที่ประชุมในกิจกรรมต่างๆ การวางแผน ประชุม ปรึกษาหารือต่างๆ เป็นพื้นที่ในการแสดงความ
คิดเห็นต่างๆของคนในชุมชน เพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน ร่วมทั้งใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆของหมู่บ้านอีก
ด้วย ดังนั้นทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การ
เรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืนขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีอาคาร
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๑
ไว้ใช้สาหรับการประชุม วางแผนกิจกรรมต่างๆ ซึ่งหากทาการก่อสร้างเสร็จแล้วจะส่งมอบให้ยังองค์การ
บริหารส่วนตาบลเป็นผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้นี้ต่อไป
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด ๖*๑๐เมตร ให้แก่ชุมชน
๒. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักศึกษาและคนในชุมชน
๓. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทางานร่วมกันจากประสบการณ์จริง
รูปแบบการดาเนินกิจกรรม
ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร ลักษณะอาคารชั้นเดียวสูง ๕
เมตร ก่ออิฐบล็อกขึ้นมา ผนังทั้งสี่ด้าน มีประตูเลื่อนใหญ่ ๑ บาน หน้าต่าง ๔ บาน เป็นอาคารถาวร
ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑.ขุดหลุมสาหรับวางเสา ๑๒ หลุม ปรับสภาพหน้าดิน พื้นที่
๒.วางเสาทั้ง ๑๒ เสา
๓.เทแบบคานอาคารด้านล่าง
๔. มุงกระเบื้องหลังคา และ ก่ออิฐบล็อกอาคารทั้งสี่ด้าน
๕.เทพื้นซีเมนต์ภายในอาคารและบริเวณรอบอาคาร
๖.เก็บรายละเอียดของงาน
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๒
งบประมาณ
ลาดับที่ รายการ จานวน
ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน
หมายเหตุ
บาท บาท
๑ ปูนซีเมนต์ ๗๐ ถุง ๑๓๐ ๙,๑๐๐
๒ ทรายหยาบ ๑๕ ลบ.ม. ๓๓๐ ๔,๙๕๐
๓ หิน ๑๗ ลบ.ม. ๕๑๐ ๘,๖๗๐
๔ เสา ๑๒ เสา ๕๐๐ ๖,๐๐๐
๕ บล็อก ๔๐๐ ก้อน ๓ ๑,๒๐๐
๖ สีน้ามันขาว ๕ ลิตร ๒ ถัง ๓๘๐ ๗๖๐
๗ แปรงทาสี ๕ อัน ๒๐ ๑๐๐
๘ ไม้แปรรูป ๑๐๐ เล่ม ๑๒๐ ๑๒,๐๐๐
๙ ประตู ๒ ประตู ๔๐๐ ๘๐๐
๑๐ กระเบื้อง ๒๘๐ ลอน ๕๐ ๑๔,๐๐๐
๑๑ ลูกบิด ๒ ลูก ๘๐ ๑๖๐
๑๒ น้ามันสน ๒ ขวด ๓๐ ๖๐
๑๓ ป้ายผ้าดิบ ๒ ผืน ๘๐ ๑๖๐
รวม ๕๗,๙๖๐
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๓
ชื่อโครงงาน โครงงานส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบประชาธิปไตย
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์
รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๗๕
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔-๐๔๒-๑๗๐๑
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
เนื่องจากหมู่บ้านห้วยบะบ้าเป็นหมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทาให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา
ของเด็กๆในหมู่บ้านมีน้อยกว่าเด็กๆในพื้นที่อื่นๆ เด็กๆในหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้ต้องเดินทางไปเรียนยังโรงเรียน
ในต่างหมู่บ้านเป็นระยะทางกว่าสิบกิโลเมตรทุกวัน ซึ่งการเรียนการสอนของเด็กๆบนพื้นที่ราบสูงนี้แน่นอน
ว่า ไม่อาจเทียบได้กับมาตรฐานการเรียนการสอนของเด็กบนพื้นที่ราบ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลของความ
ห่างไกล ความยากลาบากต่อการเข้าถึง หรือการขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษาก็ตามที ทาให้เด็กๆใน
พื้นที่แห่งนี้ควรที่จะได้รับความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อตัวของเด็กๆเอง ดังนั้นทางชมรมอาสา
พัฒนาฯ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการให้ความรู้เพิ่มเติมให้แก่เด็กๆและคนในชุมชน เช่น เรื่องของ
สุขภาพ อนามัย การสอนการอ่านเขียนภาษาไทย เป็นต้น นอกจากนี้เพื่อเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีและมี
ความเข้าใจที่ถูกต้องในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงจะได้จัดให้มีการให้ความรู้ในระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยให้กับชาวบ้านในชุมชนอีกด้วย ทั้งนี้ในฝ่ายของการส่งเสริมการศึกษายังมองเห็น
ถึงความขาดแคลนของอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอนทางชมรมอาสาพัฒนาฯ จึงจะได้จัด
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๔
ให้มีการมอบของบริจาคทางด้านการเรียนการสอนไม่ว่าจะเป็น สมุด หนังสือ ดินสอ อุปกรณ์กีฬา ฯลฯ
ให้แก่ชุมชนเพื่อให้ชุมชนส่งมอบต่อให้เด็กๆ เพื่อเด็กๆมีอุปกรณ์การเรียนที่พร้อม สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการ และมีกาลังใจที่ดีที่จะศึกษาต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อเป็นการให้ความรู้ที่จาเป็นที่ต่อการดารงชีวิตที่ถูกต้องให้แก่เด็กๆและคนในชุมชน
๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็กๆและคนในชุมชนมีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทัศนคติที่ดีต่อการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย
๓. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม รู้จักการแบ่งปัน
รูปแบบการดาเนินกิจกรรม
เป็นการดาเนินกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ที่เกี่ยวกับการดารงชีวิต ทางด้านสุขภาพ อนามัย แก่เด็กๆ
และคนในชุมชน ได้แก่ ให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟัน การรักษาสุขภาพ การรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วย การ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น การสอนการอ่านเขียนภาษาไทย การเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ขั้นตอนการดาเนินงาน
แผนการจัดการให้ความรู้จะแบ่งเป็นการให้ความรู้ในแต่ละวันดังต่อไปนี้
วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับร่างกายของเรา
วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับยารักษาโรคขั้นพื้นฐานต่างๆ
วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วยเบื้องต้น
วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๕๗ ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก และสอนการแปรงฟันที่ถูกต้องให้แก่เด็กๆ
วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๗ กิจกรรมการเรียนรู้การจัดสรรและกระจายอานาจตามระบอบประชาธิปไตย
ส่วนการเรียนการสอนภาษาไทยนั้นได้จัดให้มีการเรียนการสอนในทุกวัน
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๕
งบประมาณ
ลาดับที่ รายการ จานวน
ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน
หมายเหตุ
บาท บาท
๑ ฟิวเจอร์บอร์ด ๑๐ แผ่น ๒๐ ๒๐๐
๒ โปสเตอร์ให้ความรู้ ๑๐ แผ่น ๒๐ ๒๐๐
๓ กระดาษสา ๕ แผ่น ๑๐ ๕๐
๔ พลาสติกห่อของ ๕ แผ่น ๒๐ ๑๐๐
๕ กระดาษแข็ง ๕ แผ่น ๑๕ ๗๕
๗ สีเมจิก ๑๐ ชุด ๓๐ ๓๐๐
๘ สีไม้ ๑๐ กล่อง ๒๐ ๒๐๐
๙ กระดาษ A๔ ๕ รีม ๑๑๐ ๕๕๐
๑๐ สีน้า ๒ กล่อง ๑๕๙ ๓๑๘
๑๑ พู่กัน ๑๐ อัน ๑๒ ๑๒๐
๑๒ ดินสอ ๒ กล่อง ๑๔๙ ๒๙๘
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๖
๑๓ ยางลบ ๒ กล่อง ๘๙ ๑๗๘
๑๔ สมุด ๕ โหล ๑๐๐ ๕๐๐
๑๕ ไม้บรรทัด ๕ โหล ๓๖ ๑๘๐
๑๖ ลูกฟุตบอล ๒ ลูก ๓๕๐ ๗๐๐
๑๗ ลูกวอลเล่ย์บอล ๒ ลูก ๙๗๕ ๑,๙๕๐
๑๘ ตะกร้อ ๒ ลูก ๒๘๘ ๕๗๖
รวม ๖,๔๙๕
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๗
ชื่อโครงงาน หมู่บ้านสู่อาเซียน
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวนิภาธร ว่องเกษกิจ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๐๓
เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๐-๕๖๘๒๒๔๔
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
จากสภาพสังคมในปัจจุบันทุกสถาบันในประเทศไทยต่างก็ให้ความสาคัญกับการเตรียมความ
พร้อมสู่อาเซียนในปี ๒๕๕๘ซึ่งมีทั้งหมด ๑๐ ประเทศ สถาบันการศึกษาก็เป็นอีกสถาบันหนึ่งที่ต้องเตรียม
ความพร้อมให้กับนักเรียนหรือนักศึกษาในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของอาเซียนให้กับ
บุคลากรและนักศึกษาเพื่อที่จะได้มีการเตรียมตัวและมีความรู้เกี่ยวกับประเทศอื่นๆที่เป็นสมาชิกในอาเซียน
เช่น การศึกษาถึงวัฒนธรรม การใช้ภาษาที่แตกต่างกัน เป็นต้น ทั้งนี้ทางอาเภอกัลยาณิวัฒนา เป็นอาเภอ
ใหม่มีผู้คนอพยพเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก และพื้นที่ในหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้เป็นพื้นที่ที่มีความห่างไกล
จากตัวอาเภอ ดังนั้นการเรียนรู้ ศึกษาถึงความเป็นไปของประชาคมอาเซียน ร่วมถึงผลกระทบที่จะทาให้
ชาวบ้านในหมู่บ้านก้าวทันความเปลี่ยนแปลงและความเป็นไปของสังคม ทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญ
ประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ
ดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงงานหมู่บ้านสู่อาเซียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนอย่างถูกต้อง
และสามารถนาความรู้ที่ได้มาปรับใช้กับชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๘
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อเผยแพร่และสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอาเซียน
๒. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเปิดประชาคมอาเซียน
๓. เพื่อให้ชาวบ้านและเด็กนักเรียนได้ทราบถึงข่าวเหตุการณ์ในปัจจุบันเกี่ยวกับอาเซียน
รูปแบบการดาเนินกิจกรรม
เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้แก่คนในชุมชน ผ่านทางการเล่นเกมส์
สันทนาการควบคู่ไปกับการบรรยายเพื่อให้ความรู้ที่ถูกต้อง เผยแพร่ความรู้เรื่องอาเซียนผ่านการแจก
เอกสาร ป้ายประชาสัมพันธ์ และการประกวดวาดรูป
ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑. วางแผนขั้นตอนการทางานรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
๒. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
๓. จัดทาเอกสารเผยแพร่ ในรูปแบบของป้ายประชาสัมพันธ์และโปสเตอร์แก่ประชาชนในพื้นที่ ที่
จัดฝึกอบรมโครงการให้
๔. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนในเรื่องของอาเซียน โดยการจัดกิจกรรม การ
แบ่งกลุ่มเล่นเกมส์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วม
๕. จัดกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้แก่คนในชุมชน ในเรื่องของความเป็นมา ความสาคัญ
ประโยชน์ของการเปิดประชาคม ผลกระทบร่วมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบัน
๖. สรุปกิจกรรม
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๑๙
งบประมาณ
ลาดับที่ รายการ จานวน
ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน
หมายเหตุ
บาท บาท
๑ เอกสารแผ่นพับ ใบปลิว ๒๐๐ ชุด ๕ ๑๐๐๐
๒ ขนมสาหรับใช้ทากิจกรรม ๒๐ แพ็ค ๕๐ ๑๐๐๐
๓ กระดาษชาร์ต ๓ โหล ๑๒๐ ๓๖๐
๔ ของรางวัลสาหรับใช้ทา
กิจกรรม
๑๐ ชุด
๗๐ ๗๐๐
๕ ป้ายผ้า ๑ ผืน ๓๐๐ ๓๐๐
๖ ค่าปากกาเมจิก ๑๐ด้าม ๑๒ ๑๒๐
๗ สีไม้ ๕ กล่อง ๔๕ ๒๒๕
๘ อุปกรณ์เบ็ดเตล็ดอื่นๆ ๑ หน่วย ๑๐๐๐ ๑๐๐๐
รวม ๔,๗๐๕
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๐
ชื่อโครงงาน โครงงานส่งเสริมสุขภาพอนามัย
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวกาญจนา ใจมาก รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๗๒
เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๒-๑๘๖๓๕๙๔
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ - ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
ปัญหาด้านสุขลักษณะและสุขภาพอนามัยนับว่าเป็นปัญหาสาคัญอันหนึ่งของหมู่บ้านห้วยบะบ้า
เนื่องจากสภาพชุมชนที่อยู่ไกลจากส่วนราชการ ทาให้การได้รับความช่วยเหลือในด้านสุขอนามัยค่อนข้างมี
น้อย หรือได้รับการช่วยเหลือค่อนข้างล่าช้า ทาให้ชาวบ้านรวมทั้งเด็กนักเรียนขาดสุขลักษณะที่ดีและมี
สุขภาพอนามัยที่ไม่แข็งแรงมากนัก นอกจากนี้ยังมีความรู้ความเข้าใจที่ผิดๆเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอีก
ด้วย ดังนั้นชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดทา
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ร่วม
ทั้งจัดซื้อวัสดุยารักษาโรคและยาสามัญประจาโรงเรียน เพื่อจัดทากองทุนยาประจาหมู่บ้านให้กับชุมชนด้วย
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๑
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยที่ดีแก่เด็กนักเรียนและชาวบ้าน
2. เพื่อจัดซื้อวัสดุยารักษาโรคและยาสามัญประจาบ้าน เพื่อให้ชุมชนจะได้มีกองทุนยาไว้ประจา
หมู่บ้าน
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและนาความรู้ที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม
รูปแบบการดาเนินกิจกรรม
เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่คนในชุมชน ผ่านการบรรยายให้ความรู้ทางด้านสาธารณสุข
ต่างๆ ผ่านทางโปสเตอร์ และการบรรยายพูดคุยกับคนในชุมชน และจัดตั้งกองทุนยาให้ชุมชน มอบ
เวชภัณฑ์เบื้องต้นให้แก่กองทุนที่จัดขึ้น การสอนวิธีการกรองน้า เพื่อทาน้าให้สะอาด เพื่อการอุปโภค
บริโภค
ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑. วางแผนในการดาเนินงาน ปรึกษาหารือเกี่ยวกับขอบเขตของกิจกรรมที่จะจัดทาขึ้น
๒. ติดต่อประสานงานกับคนในชุมชน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงโครงงานที่จะจัดขึ้นให้แก่คนใน
ชุมชน
๓. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ โปสเตอร์ต่างๆ เพื่อเตรียมการให้ความรู้แก่คนในชุมชน
๔. ปฏิบัติการให้ความรู้แก่คนในชุมชนเกี่ยวกับยารักษาโรค โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจาวัน
เช่น ไข้หวัด โรคผิวหนัง ฯ และโรคระบาดที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล เช่น โรคไข้เลือดออก และการ
รักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วยเบื้องต้น สอนวิธีการกรองน้าที่สะอาดถูกสุขอนามัย
๕. จัดทากองทุนยาให้แก่ชุมชนเพื่อเป็นแหล่งให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาและการรักษาโรคเบื้องต้น
ให้แก่ชุมชน รวมทั้งมอบยารักษาโรคเบื้องต้นบางส่วนไว้ให้แก่กองทุน
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๒
งบประมาณ
ลาดับที่ รายการ จานวน
ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน
หมายเหตุ
บาท บาท
๑ ยาสามัญประจาบ้าน ๒๐ชุด ๑๕๐ ๓,๐๐๐
๒ ยาสีฟัน ๒ โหล ๑๓๐ ๒๖๐
๓ แปรงสีฟัน ๔๐ อัน ๗ ๒๘๐
๔ ผ้าขนหนู ๔๐ ผืน ๒๐ ๘๐๐
๕ แก้วน้าพลาสติก ๔๐ ใบ ๑๐ ๔๐๐
๖ สบู่ ๕โหล ๖๐ ๓๐๐
๗ แชมพู ๑๐ขวด ๒๕ ๒๕๐
๘ แป้งเด็ก ๑๐กระป๋อง ๕๐ ๕๐๐
๙ ยาฆ่าหิด-เหา ๕ขวด ๕๐ ๒๕๐
๑๐ โปสเตอร์ ๕ แผ่น ๒๐ ๑๐๐
รวม ๖,๑๔๐
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๓
ชื่อโครงงาน การเกษตรพัฒนาหมู่บ้าน ตามรอยพระราชดาริ
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นาย ณัฐพงษ์ วงค์ปัญญา รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๐๑
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๗-๕๗๙-๖๐๕๕
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
เกษตรกรรมนั้นถือเป็นพื้นฐานของการดารงชีวิตที่สาคัญของชาวบ้าน หมู่บ้านห้วยบะบ้า ซึ่งแต่เดิม
มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และปัจจุบันชาวบ้านหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้ก็ยังคงยังชีพโดยพึ่งพาเกษตรกรรม
เป็นหลักอยู่ โดยชาวบ้านมักจะทานากันเป็นหลัก ปลูกพืชสวนบ้าง และเลี้ยงสัตว์ไว้กินกันเอง เช่น หมูป่า
เป็ด เป็นต้น ซึ่งในสังคมเกษตรกรรมนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ที่ถูกต้องในการทาเกษตรกรรม
เพื่อให้การเกษตรกรรมนั้นเป็นไปอย่างยั่งยืน ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องเรียนรู้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ
นาไปปรับใช้กับตนเองและครอบครัวของตนเองตามแนวทางพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ซึ่งหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้เป็นหมู่บ้านในเขตพื้นที่อยู่ในการดูแลของอาเภอกัลยาณิวัฒนาซึ่งเป็น
อาเภอที่กระทรวงมหาดไทย ได้กาหนดให้เป็น "โครงการอาเภอกัลยาณิวัฒนา เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕
ธันวาคม ๒๕๕๔" โดยมีวัตถุประสงค์ให้อาเภอกัลยาณิวัฒนาเป็น "อาเภอต้นแบบ" ในการพัฒนาที่ยั่งยืน
ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมที่สนับสนุนและสอดคล้องกับปรัชญาการเป็นหมู่บ้านต้นแบบตามแนวคิดของ
อาเภอแห่งนี้แล้ว ทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๔
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงจัดให้มีโครงงาน “การเกษตรพัฒนาหมู่บ้าน ตามรอยพระราชดาริ” ขึ้น เพื่อให้
ความรู้และสนับสนุนการทาการเกษตรแบบยั่งยืนตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง และอีกประการคือหมู่บ้าน
ห้วยบะบ้านั้นมีความหลากหลายทางธรรมชาติ ซึ่งในพื้นที่มีป่าไม้ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญใน
การสร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศ และการลดลงของทรัพยากรป่าไม้ในปัจจุบันก็ได้ส่งผลกระทบอย่าง
มากต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งหมู่บ้านห้วยบะบ้าได้ถือเป็นชุมชนหนึ่งที่ประสบ
ปัญหาการลดลงของป่าไม้ เนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่าเช่นกัน ดังนั้นจึงจัดให้มีกิจกรรมการปลูกป่าร่วม
ด้วย เพื่อเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการปลูกฝังจิตสานึกนักศึกษาและชาวบ้านให้มี
จิตสานึกรักษ์ป่าอีกด้วย
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้ชาวบ้านได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาการเกษตรแบบยั่งยืน ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง
๒. เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรมและป่าไม้
๓. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรและแลกเปลี่ยนความรู้
เกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรมกับคนในชุมชน
รูปแบบการดาเนินกิจกรรม
ให้ความรู้กับชาวบ้านเกี่ยวกับรูปแบบการทาการเกษตรแบบยั่งยืน ผ่านทางการจัดทาแปลงเกษตร
ให้กับชุมชน โดยปลูกพืชจาพวกผักสวนครัว การทาบ่อเลี้ยงปลาให้แก่ชุมชน การสอนการทาปุ๋ยชีวภาพ
ผ่านเครื่องโม่ใบไม้
ขั้นตอนการดาเนินงาน
๑. ติดต่อกับทางผู้นาชุมชน และเชิญชวนคนในชุมชนให้มาร่วมทากิจกรรมในครั้งนี้
๒. สารวจพื้นที่ที่จะทาการเกษตรโดยจัดให้เป็นพื้นที่ของส่วนกลาง
๓. ปรับสภาพหน้าดิน พื้นผิว บริเวณโดยรอบทาแปลงเกษตรขนาด ๑*๓ เมตร จานวน ๑๐-๑๒
(ขนาดอาจเปลี่ยนแปลงตามสภาพพื้นที่)พรวนดิน ลงเมล็ดพืช รดน้า
๔. จัดทาบ่อเลี้ยงปลาในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงกับแปลงเกษตร
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๕
๕. ให้ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทาเกษตรแบบยั่งยืน คือ แบบพึ่งพาธรรมชาติ แต่ไม่เบียดเบียน
ธรรมชาติ
๖. การสอนการทาปุ๋ยชีวภาพโดยเครื่องโม่ใบไม้
งบประมาณ
ลาดับที่ รายการ จานวน
ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน
หมายเหตุ
บาท บาท
๑ กล้าไม้ ๑๐๐ ต้น ๑๐ ๑,๐๐๐
๒ ปุ๋ยคอก ๑๐ กระสอบ ๓๕ ๓๕๐
๓ บัวรดน้า ๑๐ อัน ๗๒ ๗๒๐
รวม ๒,๐๗๐
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๖
ชื่อโครงงาน เรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม สานสัมพันธ์ชุมชน จัดทาประชาคมหมู่บ้าน
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นายชัยชาญ ศรีอารยชาติ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๘๖
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๗๗๘-๐๗๗๖
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
ในการทากิจกรรมค่ายอาสานั้น นอกจากสมาชิกค่ายจะต้องทางานร่วมกันแล้ว การทางาน
ร่วมกันระหว่างสมาชิกค่ายกับคนในชุมชนก็เป็นสิ่งสาคัญเช่นกัน กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชนเป็นกิจกรรมที่เป็น
พื้นฐานและสาคัญที่สุดของค่าย เพราะตลอดการทางานตั้งแต่การวางแผนโครงการ ไปจนถึงการทาค่ายให้
สาเร็จ จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากคนในชุมชน คนในชุมชนจะเป็นผู้ที่คอยแนะนาและให้
ความช่วยเหลือในการทากิจกรรมของสมาชิกค่ายให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ไปได้ด้วยดี นอกจากนี้
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างคนใน
ชุมชนกับนักศึกษา จึงได้จัดให้มีกิจกรรมเวทีประชาคมชุมชนขึ้นด้วย
ดังนั้นทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทาโครงงานเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม
สานสัมพันธ์จัดทาประชาคมชุมชน เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตของคนในชุมชน และเพื่อให้ชาวบ้านได้มีโอกาสในการ
แสดงความคิดเห็น จุดยืนทางการเมือง มุมมองทางการเมือง และเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการกระจายอานาจ การทาประชาคม การวิพากษ์ และการร่วมคิดร่วมทาโครงการอย่าง
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๗
สร้างสรรค์ เพื่อท้องถิ่นและการจัดสรรอานาจอย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดขึ้นแก่คนในชุมชน ตลอดจน
วิธีการทาประชาคมอย่างถูกต้องและการรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายต่างๆในชุมชน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับชาวบ้านในชุมชน
๒. เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ ความกล้าแสดงออกในการแสดงความคิดเห็น จุดยืน
และมุมองทางการเมือง
๓. เพื่อเป็นเสริมสร้างทักษะในการเข้าสังคมให้แก่นักศึกษา รู้จักการเปิดใจยอมรับทัศนคติของ
ผู้อื่น และส่งเสริมให้นักศึกษามีบทบาททางการเมือง
รูปแบบของการดาเนินกิจกรรรม
จัดกิจกรรมเพื่อทาการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านในชุมชน เช่น การเชิญชวนชาวบ้านให้
มาร่วมกันก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน การส่งเสริม
สุขภาพอนามัย การป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤตหมอกควัน การจัดทาประชาคมหมู่บ้าน เข้าร่วมกิจกรรม
การสันทนาการต่างๆ เช่น ชมการแสดงรอบกองไฟ การเฉลิมฉลองร่วมกันในงานต้อนรับปีใหม่ เป็นต้น
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ติดต่อประสานงานกับผู้นาชุมชน สอบถามถึงลักษณะวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เพื่อให้สามารถจัดวาง
รูปแบบของกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม โดยการดาเนินงานสามารถแบ่งกิจกรรมหลักๆได้ดังต่อไปนี้
-จัดงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ในคืนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ แล้วเชิญชวนคนในชุมชน
มาร่วมงาน
-เชิญชวนให้คนในชุมชนมาร่วมกันแสดงจุดยืน มุมมองและความคิดเห็นทางการเมือง ผ่านการ
จัดทาเวทีประชาคมในช่วงบ่ายของวันที่ ๑-๒ มกราคม ๒๕๕๗
-เชิญชวนคนในชุมชนให้มาร่วมการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ ทาแปลงเกษตร ขุดบ่อเลี้ยงปลา
-เชิญชวนคนในชุมชนให้เข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้ต่างๆ เช่น กิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การให้ความรู้เกี่ยวกับการทาปุ๋ยชีวภาพ การป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤต
หมอกควัน เป็นต้น
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๘
-เชิญชวนคนในชุมชนรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖
-เชิญชวนคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมรอบกองไฟในคืนวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖ รับชมการแสดง
จากนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ และ เชิญชวนให้เด็กๆเข้าร่วมกิจกรรมรับมอบของขวัญปีใหม่จากพี่ๆให้แก่เด็กๆใน
ชุมชน
งบประมาณ
ไม่มีงบประมาณในการดาเนินการ
ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
__________________________________________________________________________________________________________________
๒๙
ชื่อโครงงาน ส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจากธรรมชาติ
ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวนายิกา เมืองแก้ว รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๒๐๒
เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๓-๔๘๑-๑๗๓๘
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗
สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง
อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและเหตุผล
เนื่องจากในปัจจุบันในช่วงเดือนภุมภาพันธ์เป็นต้นไปของทุกปี ภาคเหนือมักจะประสบกับปัญหา
วิกฤตหมอกควันอันเนื่องมาจากการที่ชาวบ้านในพื้นที่ต่างๆ ได้เผาป่าหรือนาข้าว เพื่อเตรียมทาการเกษตร
ซึ่งเป็นปัญหาต่อเนื่องที่ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อหลายๆภาคส่วน ไม่ว่าจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของ
ประชาชน ปัญหามลพิษทางอากาศ และปัญหานี้ยังเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ดังนั้นเพื่อเป็น
การให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากวิกฤตหมอกควัน และการป้องกันการเกิดปัญหาวิกฤตหมอกควันนี้
และเพื่อให้ชาวบ้านได้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการทาการเกษตรในช่วงปลายฤดูหนาว ต้น
ฤดูร้อนนั้น ทางชมรมอาสาพัฒนาฯจึงได้จัดโครงงานส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจาก
ธรรมชาติขึ้น
ทั้งนี้เนื่องจากทางคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เป็นผู้นาร่องใน
การดาเนินงานในโครงการ “สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนในการแก้ไขปัญหาวิกฤติหมอกควัน” ซึ่งเป็น
กิจกรรมการพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้การแก้ไขมลภาวะหมอกควันและกิจกรรมศึกษาวิจัยทางเลือก
ในการแก้ไขปัญหาหมอกควันและการพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังเป็นโครงการที่ได้รับความไว้วางใจจาก
ดร.อมรพันธุ์ นิมานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ได้มอบหมายให้ทางคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ อดีตเป็นผู้ริเริ่มและดาเนินโครงการ นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนจาก รองศาสตราจารย์
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556

More Related Content

Viewers also liked

2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบังmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Viewers also liked (10)

2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 

Similar to 09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
31policies
31policies31policies
31policiesmuthitae
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 

Similar to 09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556 (6)

2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
31policies
31policies31policies
31policies
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
โครงการ56
โครงการ56โครงการ56
โครงการ56
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท

พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทองmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียงmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อนmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท (14)

พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
2555 คำกล่าวรายงานพิธีปิด บวชเณรฤดูร้อน
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (ย่อ)
 
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยากรับมือน้ำท่วมไม่ยาก
รับมือน้ำท่วมไม่ยาก
 
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 ผลการดำเนินโครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 

09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556

  • 1.
  • 2.
  • 3. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑ โครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อพัฒนาท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่๗) ชื่อโครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่๗) ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ประธานชมรมอาสาฯ นายบุลากร ศรีนวน รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๓๑ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวิทูร อินทอง รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๓๑ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๘๙๗-๕๔๔๐ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน สารวจค่าย ๑๗-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เตรียมค่าย ๖-๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ เตรียมค่าย ๑๓-๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ ปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ ประเมินผล ๖ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๓๕ คน ประกอบด้วย ๑.นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๗๐ คน ๒.อาจารย์จากทางมหาวิทยาลัย จานวน ๑ คน ๓.เจ้าหน้าที่คณะ จานวน ๒ คน ๔.คนในชุมชน จานวน ๖๐ คน ๕.บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๑ คน ๖.สานักงานจังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๑ คน
  • 4. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒ ๑.หลักการและเหตุผล บ้านห้วยบะบ้า หมู่ที่๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหมู่บ้านชนบทที่ อยู่ห่างไกล ทุรกันดารและขาดการพัฒนาในหลายๆด้าน หมู่บ้านมีลักษณะเป็นภูเขาที่สลับซับซ้อนกันตั้งอยู่ ความสูงในระดับน้าทะเลปานกลาง ๑๐๐๐-๑๒๐๐ เมตรโดยประมาณ เป็นภูเขาที่ปกคลุมไปด้วยต้นไม้และ พันธุ์พืชนานาชนิด เป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงตามคาบอกเล่าของคนในพื้นที่เล่าว่า เดิมทีชาวบ้านที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่นี้อพยพมาจาก ต่าเนอชีเดาะปู แล้วเข้ามาอยู่อาศัย ซึ่งในบริเวณลาห้วยในพื้นที่นี้มีพืชชนิด หนึ่งชื่อว่า”มะบ้า”เป็นจานวนมาก ต่อมา “ห้วยมะบ้า”จึงกลายเป็นชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ ในปัจจุบันมี นายหม่อกา เป็นผู้นาหมู่บ้านที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษในการปกครองหมู่บ้าน บ้าน ห้วยบะบ้ามีจานวนครัวเรือนทั้งหมด ๓๖ ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด ๒๗๗ คนเพศชาย ๑๐๗ คน เพศ หญิง ๑๒๐ คน เนื่องด้วยหมู่บ้านอยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ทาให้ผู้คนในหมู่บ้านดารงชีวิตตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพ ความเชื่อ สภาพวิถีชีวิต ดังนั้นหมู่บ้านแห่งนี้จึงปราศจากการเข้าถึงของ ไฟฟ้า น้าประปา มีเพียงพลังไฟฟ้าโซล่าเซลล์ มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้แรงงาน เช่น ช้าง กระบือ นอกจากนี้ หมู่บ้านแห่งนี้ไม่มีโรงเรียน ทาให้เด็กๆในหมู่บ้านจาเป็นต้องเดินทางไปเรียนยังอีกหมู่บ้านหนึ่งเป็นระยะทาง เกือบสิบกิโลเมตร อีกประการหนึ่งที่สาคัญ คือ หมู่บ้านแห่งนี้ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ขาด แคลนปัจจัยในการพัฒนาต่างๆ ทางชมรมอาสาพัฒนาฯของเราจึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการหยิบยื่น โอกาสในการเข้าถึงปัจจัยในการช่วยส่งเสริมการพัฒนาให้แก่หมู่บ้านแห่งนี้ และที่สาคัญเพื่อส่งเสริมการมี ส่วนร่วมในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยพิจารณาตามความสามารถของนักศึกษาแล้วพบว่า นักศึกษาจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมในด้านต่างๆทั้งการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ หมู่บ้าน ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการต่อยอดการพัฒนาหมู่บ้านต่อไปในอนาคต โดยจากการพูดคุยกับทาง ชาวบ้านในพื้นที่แล้วพบว่า ชาวบ้านมีความยินดีและพร้อมที่จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างยิ่ง โดยชาวบ้าน คาดหวังว่าอาคารศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้จะเป็นสถานที่ที่ใช้ในการเรียนรู้อย่างยั่งยืนในเรื่องต่างๆ การให้ ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันวิกฤตหมอกควันรวมถึงการแก้ไขปัญหา การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา เกษตรอย่างยั่งยืน การให้ความรู้เรื่องผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อชุมชน กิจกรรมเวทีประชาคม หมู่บ้านเพื่อก่อให้เกิดพื้นที่ในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปกครองในชุมชน ทั้งนี้กิจกรรมต่างๆ เป็นไปเพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้อานาจตามระบบการกระจายอานาจจากส่วนกลาง และการมีส่วนร่วม
  • 5. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๓ ตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในชุมชน การส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นการ พัฒนาที่สาคัญมากกว่าปัจจัยทางด้านวัตถุ โดยความหมายของการพัฒนาใน ณ ที่นี้ คือ การพัฒนาให้ดี จากเดิมแต่ไม่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเดิม ให้สอดคล้องต่อความเป็นไปของหมู่บ้าน ซึ่งถือเป็นสิ่งสาคัญของ การ “อาสาพัฒนาชนบท” ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางชมรมอาสาพัฒนาชนบทคณะรัฐศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยึดถือมาโดยตลอด โครงการ “ค่าย ๒๒ ปีอาสารัฐศาสตร์ทาดีเพื่อท้องถิ่นไทย”(ค่ายสร้างครั้งที่ ๗) นั้นจึงถือเป็นอีก ความร่วมมือของคนในชุมชนบ้านห้วยบะบ้า บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง อาเภอ กัลยาณิวัฒนา และ คณะรัฐศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีนักศึกษาชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญ ประโยชน์คณะรัฐศาสตร์ฯ เป็นแกนนาได้ร่วมกันดาเนินการทากิจกรรมต่างๆขึ้น ทั้งนี้การจัดทาโครงการนี้ ยังเป็นพื้นที่สาคัญที่เปิดโอกาสให้ให้นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร ชาวบ้านรวมถึงผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน ได้ ร่วมกันสร้างสรรค์สังคมไทยและพัฒนาพื้นที่ถิ่นทุรกันดารในท้องถิ่นไทย ช่วยปลูกฝังจิตสานึกให้กับ นักศึกษา กลุ่มคนรุ่นใหม่ได้เปิดโลกทัศน์ มองเห็นสังคมในอีกด้านหนึ่ง รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักการเสียสละ หยิบยื่นโอกาสแก่กลุ่มคนที่ถูกเรียกว่า “คนชายขอบ” รวมถึงนักศึกษาจะได้เรียนรู้และรับประสบการณ์จาก การร่วมมือกันทากิจกรรม จนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ต่างเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันเพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติต่อไปในอนาคต ๒.ประเภทของโครงการ ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ดังต่อไปนี้ - หมู่บ้านห้วยบะบ้า - องค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง - อาเภอกัลยาณิวัฒนา - คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ - ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 6. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๔ ๓.รูปแบบการดาเนินงาน แบ่งลักษณะการดาเนินโครงการ เป็นโครงการย่อยในส่วนต่างๆดังต่อไปนี้ ๑. โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน ๒. โครงการส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบประชาธิปไตย ๓. โครงการหมู่บ้านสู่อาเซียน ๔. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ๕. โครงการการเกษตรพัฒนาหมู่บ้านตามรอยพระราชดาริ ๖. โครงการเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม สานสัมพันธ์ จัดทาประชาคมชุมชน ๗. โครงการส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจากธรรมชาติ ๘. โครงการสวัสดิการและโภชนาการ ๙. โครงการสันทนาการหรรษา พาเพลิน ๑๐.โครงการประเมินผลกิจกรรม ๔.เป้าหมายเชิงปริมาณ/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๑๓๕ คน ประกอบด้วย ๑.นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน ๗๐ คน ๒.อาจารย์จากทางมหาวิทยาลัย จานวน ๑ คน ๓.เจ้าหน้าที่คณะ จานวน ๒ คน ๔.คนในชุมชน จานวน ๖๐ คน ๕.บุคลากรองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๑ คน ๖.สานักงานจังหวัดเชียงใหม่ จานวน ๑ คน
  • 7. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๕ ๕.เป้าหมายเชิงคุณภาพ ๑.นักศึกษามีความพึงพอใจในกิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์ ระดับมาก – มากที่สุด อย่างน้อย ๘๐ % ๒.นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด อย่างน้อย ๘๐ % ๓.ได้ร่วมกันทาประโยชน์ให้แก่ชาวบ้านโดยชาวบ้านมีความพึงพอใจระดับมาก – มากที่สุด ๘๐ % ๖.วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ให้กับชุมชนบ้านห้วยบะบ้า ๒.เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้การจัดสรรอานาจและระบบการกระจายอานาจที่มีประสิทธิภาพผ่านการจัด กิจกรรมของนักศึกษา ๓.เพื่อให้ชาวบ้านและนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ได้มีส่วนร่วมในการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ หมู่บ้าน และเป็นการส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนเองและระหว่างคนในชุมชนกับ นักศึกษา ๔.เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม เสริมสร้างให้ นักศึกษามีปฏิสัมพันธ์กันมากยิ่งขึ้น สนิทสนมและรักใคร่กลมเกลียวกัน ๕.เพื่อให้นักศึกษาได้สัมผัสพร้อมกับเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในชนบท ถิ่นทุรกันดาร ๖.เพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ในการทางานร่วมกันของนักศึกษา ๗.เพื่อปลูกฝังความมีจิตอาสาให้แก่นักศึกษาและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในการทากิจกรรม ๗.ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑.วางแผนการจัดทาโครงการ กาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติงาน ๒.ติดต่อประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓.จัดหาสถานที่ในการจัดทาโครงการโดยการออกสารวจพื้นที่ก่อนการออกค่ายจริง -ลงพื้นที่ติดต่อประสานงานกับผู้นาชุมชนเพื่อที่ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชนว่าต้องการให้เกิดการ ทากิจกรรมรูปแบบใดและมีปัญหาใดๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่บ้าง ๔.ประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนนักศึกษาให้เข้าร่วมกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย ๕.ดาเนินการตามแผนที่วางไว้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ๖.จัดทาการสรุปและประเมินผลโครงการ
  • 8. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๖ ๘.ดัชนีชี้วัดความสาเร็จ ๑.มีนักศึกษามีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ วัดจากการทาแบบ ประเมินผลกิจกรรม ๒.ชาวบ้านในชุมชนมีความพึงพอใจจากการจัดกิจกรรมของนักศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ วัด จากการทาแบบสอบถาม ๙.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.ชุมชนมีบ้านห้วยบะบ้าได้รับอาคารอเนกประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชน ๒.ชุมชนได้รับมอบอาคารอเนกประสงค์ไว้ใช้สาหรับการจัดทากิจกรรมภายในชุมชน ๓.ชุมชนได้รับความรู้และประโยชน์จากการให้ความรู้ทางด้านการป้องกันวิกฤตทางด้านหมอกควัน และการแก้ไขปัญหา การให้ความรู้ทางด้านสุขอนามัย การพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ความรู้ ทางด้านอาเซียน และความรู้ทางด้านการจัดสรร การกระจายอานาจ ตามระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตย ๔.นักศึกษาได้ทากิจกรรมช่วยเหลือชุมชนที่ขาดการสนับสนุนและการพัฒนาจากภาครัฐ ๕.นักศึกษามีทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีขึ้น ๖.นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาช่วยพัฒนาชุมชนที่ ขาดการพัฒนา มีจิตอาสาและสานึกที่ดีต่อสังคม ๗.นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นที่ห่างไกล ๑๐.ระยะเวลาดาเนินงาน ( ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ - ๔ มกราคม ๒๕๕๗ ) ๑๐.๑ สารวจและวางแผนดาเนินงาน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ๒๕๕๖ ๑๐.๒ จัดทาโครงการและเสนอขออนุมัติโครงการ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ ๑๐.๓ ประชุมเตรียมการดาเนินงานกิจกรรม เดือน กันยายน –พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ๑๐.๔ ดาเนินการจัดกิจกรรม วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๖ ๑๐.๕ ประเมินผลและสรุปรายงานผลการดาเนินงาน เดือนมกราคม ๒๕๕๗
  • 9. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๗ ๑๑.สถานที่ดาเนินการ บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ๑๒.ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีนักศึกษาร่วมโครงการ ซึ่งมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในโครงการดังนี้ ๑๒.๑ คณะกรรมการดาเนินงาน ๑.นายบุลากร ศรีนวน ประธานชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ ๒.นายวิทูร อินทอง ประธานค่ายสร้าง (ผู้รับผิดชอบโครงการ) ๓.นายราชิต เสริมสุวรรณ ฝ่ายก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ ๔.นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์ ฝ่ายส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบ ประชาธิปไตย ๕.นางสาวนิภาธร ว่องเกษกิจ ผู้รับผิดชอบโครงงานหมู่บ้านสู่อาเซียน ๖.นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์ ผู้รับผิดชอบโครงงานส่งเสริมอนามัย ๗.นายณัฐพงษ์ ปัญญาทา ฝ่ายส่งเสริมการเกษตร ๘.นายอัมเรศ ภูผา ฝ่ายสวัสดิการ ๙.นางสาวจริยา ใจบุญ ฝ่ายโภชนาการ ๑๐.นายกฤษภาณุ เครือเนตร ฝ่ายสันทนาการ ๑๑.นายชัยชาญ ศรีอารยชาติ ฝ่ายสัมพันธ์ชุมชนและจัดทาประชาคมหมู่บ้าน ๑๒.นางสาวประณิสรา เมฆพัฑน์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๑๓.นางสาวเบญจาวัลย์ ศรีโยธี ฝ่ายประสานงานวัดประเมินผล ๑๔.นางสาวนายิกา เมืองแก้ว เลขานุการ
  • 10. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๘ ๑๒.๒ ที่ปรึกษาโครงการ ๑๒.๒.๑ ที่ปรึกษาโครงการฝ่ายมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๑) อาจารย์ ดร. รวีวรรณ แพทย์สมาน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๖๓๕๗๒๒๖ ๒) นางสาวนภาภรณ์ ปัญญาราษฎร์ ที่ปรึกษาโครงการ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๑-๑๑๑๒๓๙๖ ๑๒.๒.๒ ที่ปรึกษาด้านโครงสร้างอาคาร ๑) นายชโยดม ทายะ นายช่างโยธาที่ปรึกษาโครงการ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๕๓๔๗๐๑ ๑๒.๒.๓ ที่ปรึกษาโครงการฝ่ายหมู่บ้าน บ้านห้วยบะบ้า ๑) นายอดุลย์ ฮวกนิล นายอาเภอกัลยาณิวัฒนา ๒) นายสุขชัย สนวิเศษณ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง ๓) นายธนาชัย ดิลกอมรคีรี รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบลแจ่มหลวง ๔) นายสุดจา ลิขิตเบญจกุล ผู้ใหญ่บ้านบ้านห้วยบะบ้า
  • 11. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๙ ประธานโครงการ ฝ่ายจัดกิจกรรม หัวหน้าโครงงานอาคาร อเนกประสงค์ ผู้รับผิดชอบโครงงาน ประเมินผล สโมสรนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ฯ หัวหน้าโครงงานส่งเสริม การศึกษา หัวหน้าโครงงานสวัสดิการ และโภชนาการฯ หัวหน้าโครงงานส่งเสริม สุขภาพและอนามัย หัวหน้าโครงงานสันทนา การและประชาสัมพันธ์ หัวหน้าโครงงานส่งเสริม การเกษตร ชมรมอาสาคณะ รัฐศาสตร์ฯ หัวหน้าโครงงานหมู่บ้าน อาเซียน แผนการทางานภายในของชมรมอาสา รัฐศาสตร์
  • 12. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๐ ชื่อโครงงาน ก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๖๓๕๗๒๒๖ ผู้รับผิดชอบโครงงาน นายราชิต เสริมสุวรรณ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๒๔ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๑๙๓๓๐๕๘ ที่ปรึกษาด้านโครงสร้างอาคาร นายชโยดม ทายะ (นายช่างโยธา) เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙-๕๕๓๔๗๐๑ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล เนื่องจากทางหมู่บ้านบ้านห้วยบะบ้าเป็นหมู่บ้านที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร มี ลักษณะของการดารงชีพอยู่บนพื้นฐานของการพึ่งพาธรรมชาติ แต่มีลักษณะการปกครองแบบ ประชาธิปไตย เพื่อเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการร่วมกันแสดงออกทางความ คิดเห็น และแลกเปลี่ยนทัศคติต่างๆ เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนตามหลักการสาคัญของระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตย หมู่บ้านห้วยบะบ้านั้น จึงมีความต้องการอาคารศูนย์การเรียนรู้หมู่บ้าน เพื่อที่จะได้ใช้ เป็นสถานที่ประชุมในกิจกรรมต่างๆ การวางแผน ประชุม ปรึกษาหารือต่างๆ เป็นพื้นที่ในการแสดงความ คิดเห็นต่างๆของคนในชุมชน เพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน ร่วมทั้งใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆของหมู่บ้านอีก ด้วย ดังนั้นทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงการก่อสร้างอาคารศูนย์การ เรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืนขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีอาคาร
  • 13. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๑ ไว้ใช้สาหรับการประชุม วางแผนกิจกรรมต่างๆ ซึ่งหากทาการก่อสร้างเสร็จแล้วจะส่งมอบให้ยังองค์การ บริหารส่วนตาบลเป็นผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้นี้ต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด ๖*๑๐เมตร ให้แก่ชุมชน ๒. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างนักศึกษาและคนในชุมชน ๓. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทางานร่วมกันจากประสบการณ์จริง รูปแบบการดาเนินกิจกรรม ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ขนาด กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร ลักษณะอาคารชั้นเดียวสูง ๕ เมตร ก่ออิฐบล็อกขึ้นมา ผนังทั้งสี่ด้าน มีประตูเลื่อนใหญ่ ๑ บาน หน้าต่าง ๔ บาน เป็นอาคารถาวร ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑.ขุดหลุมสาหรับวางเสา ๑๒ หลุม ปรับสภาพหน้าดิน พื้นที่ ๒.วางเสาทั้ง ๑๒ เสา ๓.เทแบบคานอาคารด้านล่าง ๔. มุงกระเบื้องหลังคา และ ก่ออิฐบล็อกอาคารทั้งสี่ด้าน ๕.เทพื้นซีเมนต์ภายในอาคารและบริเวณรอบอาคาร ๖.เก็บรายละเอียดของงาน
  • 14. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๒ งบประมาณ ลาดับที่ รายการ จานวน ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน หมายเหตุ บาท บาท ๑ ปูนซีเมนต์ ๗๐ ถุง ๑๓๐ ๙,๑๐๐ ๒ ทรายหยาบ ๑๕ ลบ.ม. ๓๓๐ ๔,๙๕๐ ๓ หิน ๑๗ ลบ.ม. ๕๑๐ ๘,๖๗๐ ๔ เสา ๑๒ เสา ๕๐๐ ๖,๐๐๐ ๕ บล็อก ๔๐๐ ก้อน ๓ ๑,๒๐๐ ๖ สีน้ามันขาว ๕ ลิตร ๒ ถัง ๓๘๐ ๗๖๐ ๗ แปรงทาสี ๕ อัน ๒๐ ๑๐๐ ๘ ไม้แปรรูป ๑๐๐ เล่ม ๑๒๐ ๑๒,๐๐๐ ๙ ประตู ๒ ประตู ๔๐๐ ๘๐๐ ๑๐ กระเบื้อง ๒๘๐ ลอน ๕๐ ๑๔,๐๐๐ ๑๑ ลูกบิด ๒ ลูก ๘๐ ๑๖๐ ๑๒ น้ามันสน ๒ ขวด ๓๐ ๖๐ ๑๓ ป้ายผ้าดิบ ๒ ผืน ๘๐ ๑๖๐ รวม ๕๗,๙๖๐
  • 15. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๓ ชื่อโครงงาน โครงงานส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ในระบอบประชาธิปไตย ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวกุลปนัดดา วรรณูปถัมภ์ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๗๕ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔-๐๔๒-๑๗๐๑ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล เนื่องจากหมู่บ้านห้วยบะบ้าเป็นหมู่บ้านที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทาให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ของเด็กๆในหมู่บ้านมีน้อยกว่าเด็กๆในพื้นที่อื่นๆ เด็กๆในหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้ต้องเดินทางไปเรียนยังโรงเรียน ในต่างหมู่บ้านเป็นระยะทางกว่าสิบกิโลเมตรทุกวัน ซึ่งการเรียนการสอนของเด็กๆบนพื้นที่ราบสูงนี้แน่นอน ว่า ไม่อาจเทียบได้กับมาตรฐานการเรียนการสอนของเด็กบนพื้นที่ราบ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลของความ ห่างไกล ความยากลาบากต่อการเข้าถึง หรือการขาดแคลนบุคลากรทางการศึกษาก็ตามที ทาให้เด็กๆใน พื้นที่แห่งนี้ควรที่จะได้รับความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อตัวของเด็กๆเอง ดังนั้นทางชมรมอาสา พัฒนาฯ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการให้ความรู้เพิ่มเติมให้แก่เด็กๆและคนในชุมชน เช่น เรื่องของ สุขภาพ อนามัย การสอนการอ่านเขียนภาษาไทย เป็นต้น นอกจากนี้เพื่อเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีและมี ความเข้าใจที่ถูกต้องในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงจะได้จัดให้มีการให้ความรู้ในระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยให้กับชาวบ้านในชุมชนอีกด้วย ทั้งนี้ในฝ่ายของการส่งเสริมการศึกษายังมองเห็น ถึงความขาดแคลนของอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอนทางชมรมอาสาพัฒนาฯ จึงจะได้จัด
  • 16. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๔ ให้มีการมอบของบริจาคทางด้านการเรียนการสอนไม่ว่าจะเป็น สมุด หนังสือ ดินสอ อุปกรณ์กีฬา ฯลฯ ให้แก่ชุมชนเพื่อให้ชุมชนส่งมอบต่อให้เด็กๆ เพื่อเด็กๆมีอุปกรณ์การเรียนที่พร้อม สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการ และมีกาลังใจที่ดีที่จะศึกษาต่อไปในอนาคต วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเป็นการให้ความรู้ที่จาเป็นที่ต่อการดารงชีวิตที่ถูกต้องให้แก่เด็กๆและคนในชุมชน ๒. เพื่อส่งเสริมให้เด็กๆและคนในชุมชนมีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีทัศนคติที่ดีต่อการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย ๓. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม รู้จักการแบ่งปัน รูปแบบการดาเนินกิจกรรม เป็นการดาเนินกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ที่เกี่ยวกับการดารงชีวิต ทางด้านสุขภาพ อนามัย แก่เด็กๆ และคนในชุมชน ได้แก่ ให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟัน การรักษาสุขภาพ การรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วย การ ปฐมพยาบาลเบื้องต้น การสอนการอ่านเขียนภาษาไทย การเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ขั้นตอนการดาเนินงาน แผนการจัดการให้ความรู้จะแบ่งเป็นการให้ความรู้ในแต่ละวันดังต่อไปนี้ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับร่างกายของเรา วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับยารักษาโรคขั้นพื้นฐานต่างๆ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วยเบื้องต้น วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๕๗ ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก และสอนการแปรงฟันที่ถูกต้องให้แก่เด็กๆ วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๗ กิจกรรมการเรียนรู้การจัดสรรและกระจายอานาจตามระบอบประชาธิปไตย ส่วนการเรียนการสอนภาษาไทยนั้นได้จัดให้มีการเรียนการสอนในทุกวัน
  • 17. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๕ งบประมาณ ลาดับที่ รายการ จานวน ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน หมายเหตุ บาท บาท ๑ ฟิวเจอร์บอร์ด ๑๐ แผ่น ๒๐ ๒๐๐ ๒ โปสเตอร์ให้ความรู้ ๑๐ แผ่น ๒๐ ๒๐๐ ๓ กระดาษสา ๕ แผ่น ๑๐ ๕๐ ๔ พลาสติกห่อของ ๕ แผ่น ๒๐ ๑๐๐ ๕ กระดาษแข็ง ๕ แผ่น ๑๕ ๗๕ ๗ สีเมจิก ๑๐ ชุด ๓๐ ๓๐๐ ๘ สีไม้ ๑๐ กล่อง ๒๐ ๒๐๐ ๙ กระดาษ A๔ ๕ รีม ๑๑๐ ๕๕๐ ๑๐ สีน้า ๒ กล่อง ๑๕๙ ๓๑๘ ๑๑ พู่กัน ๑๐ อัน ๑๒ ๑๒๐ ๑๒ ดินสอ ๒ กล่อง ๑๔๙ ๒๙๘
  • 18. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๖ ๑๓ ยางลบ ๒ กล่อง ๘๙ ๑๗๘ ๑๔ สมุด ๕ โหล ๑๐๐ ๕๐๐ ๑๕ ไม้บรรทัด ๕ โหล ๓๖ ๑๘๐ ๑๖ ลูกฟุตบอล ๒ ลูก ๓๕๐ ๗๐๐ ๑๗ ลูกวอลเล่ย์บอล ๒ ลูก ๙๗๕ ๑,๙๕๐ ๑๘ ตะกร้อ ๒ ลูก ๒๘๘ ๕๗๖ รวม ๖,๔๙๕
  • 19. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๗ ชื่อโครงงาน หมู่บ้านสู่อาเซียน ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวนิภาธร ว่องเกษกิจ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๐๓ เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๐-๕๖๘๒๒๔๔ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล จากสภาพสังคมในปัจจุบันทุกสถาบันในประเทศไทยต่างก็ให้ความสาคัญกับการเตรียมความ พร้อมสู่อาเซียนในปี ๒๕๕๘ซึ่งมีทั้งหมด ๑๐ ประเทศ สถาบันการศึกษาก็เป็นอีกสถาบันหนึ่งที่ต้องเตรียม ความพร้อมให้กับนักเรียนหรือนักศึกษาในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของอาเซียนให้กับ บุคลากรและนักศึกษาเพื่อที่จะได้มีการเตรียมตัวและมีความรู้เกี่ยวกับประเทศอื่นๆที่เป็นสมาชิกในอาเซียน เช่น การศึกษาถึงวัฒนธรรม การใช้ภาษาที่แตกต่างกัน เป็นต้น ทั้งนี้ทางอาเภอกัลยาณิวัฒนา เป็นอาเภอ ใหม่มีผู้คนอพยพเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก และพื้นที่ในหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้เป็นพื้นที่ที่มีความห่างไกล จากตัวอาเภอ ดังนั้นการเรียนรู้ ศึกษาถึงความเป็นไปของประชาคมอาเซียน ร่วมถึงผลกระทบที่จะทาให้ ชาวบ้านในหมู่บ้านก้าวทันความเปลี่ยนแปลงและความเป็นไปของสังคม ทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญ ประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ ดังกล่าวจึงได้จัดทาโครงงานหมู่บ้านสู่อาเซียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนอย่างถูกต้อง และสามารถนาความรู้ที่ได้มาปรับใช้กับชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม
  • 20. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๘ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเผยแพร่และสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอาเซียน ๒. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเปิดประชาคมอาเซียน ๓. เพื่อให้ชาวบ้านและเด็กนักเรียนได้ทราบถึงข่าวเหตุการณ์ในปัจจุบันเกี่ยวกับอาเซียน รูปแบบการดาเนินกิจกรรม เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้แก่คนในชุมชน ผ่านทางการเล่นเกมส์ สันทนาการควบคู่ไปกับการบรรยายเพื่อให้ความรู้ที่ถูกต้อง เผยแพร่ความรู้เรื่องอาเซียนผ่านการแจก เอกสาร ป้ายประชาสัมพันธ์ และการประกวดวาดรูป ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. วางแผนขั้นตอนการทางานรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ๒. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ๓. จัดทาเอกสารเผยแพร่ ในรูปแบบของป้ายประชาสัมพันธ์และโปสเตอร์แก่ประชาชนในพื้นที่ ที่ จัดฝึกอบรมโครงการให้ ๔. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนในเรื่องของอาเซียน โดยการจัดกิจกรรม การ แบ่งกลุ่มเล่นเกมส์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วม ๕. จัดกิจกรรมการบรรยายให้ความรู้แก่คนในชุมชน ในเรื่องของความเป็นมา ความสาคัญ ประโยชน์ของการเปิดประชาคม ผลกระทบร่วมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบัน ๖. สรุปกิจกรรม
  • 21. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๑๙ งบประมาณ ลาดับที่ รายการ จานวน ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน หมายเหตุ บาท บาท ๑ เอกสารแผ่นพับ ใบปลิว ๒๐๐ ชุด ๕ ๑๐๐๐ ๒ ขนมสาหรับใช้ทากิจกรรม ๒๐ แพ็ค ๕๐ ๑๐๐๐ ๓ กระดาษชาร์ต ๓ โหล ๑๒๐ ๓๖๐ ๔ ของรางวัลสาหรับใช้ทา กิจกรรม ๑๐ ชุด ๗๐ ๗๐๐ ๕ ป้ายผ้า ๑ ผืน ๓๐๐ ๓๐๐ ๖ ค่าปากกาเมจิก ๑๐ด้าม ๑๒ ๑๒๐ ๗ สีไม้ ๕ กล่อง ๔๕ ๒๒๕ ๘ อุปกรณ์เบ็ดเตล็ดอื่นๆ ๑ หน่วย ๑๐๐๐ ๑๐๐๐ รวม ๔,๗๐๕
  • 22. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๐ ชื่อโครงงาน โครงงานส่งเสริมสุขภาพอนามัย ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวกาญจนา ใจมาก รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๗๒ เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๒-๑๘๖๓๕๙๔ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ - ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล ปัญหาด้านสุขลักษณะและสุขภาพอนามัยนับว่าเป็นปัญหาสาคัญอันหนึ่งของหมู่บ้านห้วยบะบ้า เนื่องจากสภาพชุมชนที่อยู่ไกลจากส่วนราชการ ทาให้การได้รับความช่วยเหลือในด้านสุขอนามัยค่อนข้างมี น้อย หรือได้รับการช่วยเหลือค่อนข้างล่าช้า ทาให้ชาวบ้านรวมทั้งเด็กนักเรียนขาดสุขลักษณะที่ดีและมี สุขภาพอนามัยที่ไม่แข็งแรงมากนัก นอกจากนี้ยังมีความรู้ความเข้าใจที่ผิดๆเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอีก ด้วย ดังนั้นชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้จัดทา โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ร่วม ทั้งจัดซื้อวัสดุยารักษาโรคและยาสามัญประจาโรงเรียน เพื่อจัดทากองทุนยาประจาหมู่บ้านให้กับชุมชนด้วย
  • 23. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๑ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยที่ดีแก่เด็กนักเรียนและชาวบ้าน 2. เพื่อจัดซื้อวัสดุยารักษาโรคและยาสามัญประจาบ้าน เพื่อให้ชุมชนจะได้มีกองทุนยาไว้ประจา หมู่บ้าน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและนาความรู้ที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม รูปแบบการดาเนินกิจกรรม เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่คนในชุมชน ผ่านการบรรยายให้ความรู้ทางด้านสาธารณสุข ต่างๆ ผ่านทางโปสเตอร์ และการบรรยายพูดคุยกับคนในชุมชน และจัดตั้งกองทุนยาให้ชุมชน มอบ เวชภัณฑ์เบื้องต้นให้แก่กองทุนที่จัดขึ้น การสอนวิธีการกรองน้า เพื่อทาน้าให้สะอาด เพื่อการอุปโภค บริโภค ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. วางแผนในการดาเนินงาน ปรึกษาหารือเกี่ยวกับขอบเขตของกิจกรรมที่จะจัดทาขึ้น ๒. ติดต่อประสานงานกับคนในชุมชน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงโครงงานที่จะจัดขึ้นให้แก่คนใน ชุมชน ๓. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ โปสเตอร์ต่างๆ เพื่อเตรียมการให้ความรู้แก่คนในชุมชน ๔. ปฏิบัติการให้ความรู้แก่คนในชุมชนเกี่ยวกับยารักษาโรค โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจาวัน เช่น ไข้หวัด โรคผิวหนัง ฯ และโรคระบาดที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล เช่น โรคไข้เลือดออก และการ รักษาตนเองเมื่อเจ็บป่วยเบื้องต้น สอนวิธีการกรองน้าที่สะอาดถูกสุขอนามัย ๕. จัดทากองทุนยาให้แก่ชุมชนเพื่อเป็นแหล่งให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาและการรักษาโรคเบื้องต้น ให้แก่ชุมชน รวมทั้งมอบยารักษาโรคเบื้องต้นบางส่วนไว้ให้แก่กองทุน
  • 24. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๒ งบประมาณ ลาดับที่ รายการ จานวน ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน หมายเหตุ บาท บาท ๑ ยาสามัญประจาบ้าน ๒๐ชุด ๑๕๐ ๓,๐๐๐ ๒ ยาสีฟัน ๒ โหล ๑๓๐ ๒๖๐ ๓ แปรงสีฟัน ๔๐ อัน ๗ ๒๘๐ ๔ ผ้าขนหนู ๔๐ ผืน ๒๐ ๘๐๐ ๕ แก้วน้าพลาสติก ๔๐ ใบ ๑๐ ๔๐๐ ๖ สบู่ ๕โหล ๖๐ ๓๐๐ ๗ แชมพู ๑๐ขวด ๒๕ ๒๕๐ ๘ แป้งเด็ก ๑๐กระป๋อง ๕๐ ๕๐๐ ๙ ยาฆ่าหิด-เหา ๕ขวด ๕๐ ๒๕๐ ๑๐ โปสเตอร์ ๕ แผ่น ๒๐ ๑๐๐ รวม ๖,๑๔๐
  • 25. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๓ ชื่อโครงงาน การเกษตรพัฒนาหมู่บ้าน ตามรอยพระราชดาริ ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นาย ณัฐพงษ์ วงค์ปัญญา รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๑๐๑ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๗-๕๗๙-๖๐๕๕ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล เกษตรกรรมนั้นถือเป็นพื้นฐานของการดารงชีวิตที่สาคัญของชาวบ้าน หมู่บ้านห้วยบะบ้า ซึ่งแต่เดิม มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และปัจจุบันชาวบ้านหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้ก็ยังคงยังชีพโดยพึ่งพาเกษตรกรรม เป็นหลักอยู่ โดยชาวบ้านมักจะทานากันเป็นหลัก ปลูกพืชสวนบ้าง และเลี้ยงสัตว์ไว้กินกันเอง เช่น หมูป่า เป็ด เป็นต้น ซึ่งในสังคมเกษตรกรรมนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ที่ถูกต้องในการทาเกษตรกรรม เพื่อให้การเกษตรกรรมนั้นเป็นไปอย่างยั่งยืน ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องเรียนรู้ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ นาไปปรับใช้กับตนเองและครอบครัวของตนเองตามแนวทางพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ซึ่งหมู่บ้านห้วยบะบ้านี้เป็นหมู่บ้านในเขตพื้นที่อยู่ในการดูแลของอาเภอกัลยาณิวัฒนาซึ่งเป็น อาเภอที่กระทรวงมหาดไทย ได้กาหนดให้เป็น "โครงการอาเภอกัลยาณิวัฒนา เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔" โดยมีวัตถุประสงค์ให้อาเภอกัลยาณิวัฒนาเป็น "อาเภอต้นแบบ" ในการพัฒนาที่ยั่งยืน ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมที่สนับสนุนและสอดคล้องกับปรัชญาการเป็นหมู่บ้านต้นแบบตามแนวคิดของ อาเภอแห่งนี้แล้ว ทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
  • 26. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๔ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จึงจัดให้มีโครงงาน “การเกษตรพัฒนาหมู่บ้าน ตามรอยพระราชดาริ” ขึ้น เพื่อให้ ความรู้และสนับสนุนการทาการเกษตรแบบยั่งยืนตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง และอีกประการคือหมู่บ้าน ห้วยบะบ้านั้นมีความหลากหลายทางธรรมชาติ ซึ่งในพื้นที่มีป่าไม้ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญใน การสร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศ และการลดลงของทรัพยากรป่าไม้ในปัจจุบันก็ได้ส่งผลกระทบอย่าง มากต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งหมู่บ้านห้วยบะบ้าได้ถือเป็นชุมชนหนึ่งที่ประสบ ปัญหาการลดลงของป่าไม้ เนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่าเช่นกัน ดังนั้นจึงจัดให้มีกิจกรรมการปลูกป่าร่วม ด้วย เพื่อเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการปลูกฝังจิตสานึกนักศึกษาและชาวบ้านให้มี จิตสานึกรักษ์ป่าอีกด้วย วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ชาวบ้านได้รับความรู้เกี่ยวกับการทาการเกษตรแบบยั่งยืน ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ๒. เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ตระหนักถึงความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรมและป่าไม้ ๓. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรและแลกเปลี่ยนความรู้ เกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรมกับคนในชุมชน รูปแบบการดาเนินกิจกรรม ให้ความรู้กับชาวบ้านเกี่ยวกับรูปแบบการทาการเกษตรแบบยั่งยืน ผ่านทางการจัดทาแปลงเกษตร ให้กับชุมชน โดยปลูกพืชจาพวกผักสวนครัว การทาบ่อเลี้ยงปลาให้แก่ชุมชน การสอนการทาปุ๋ยชีวภาพ ผ่านเครื่องโม่ใบไม้ ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. ติดต่อกับทางผู้นาชุมชน และเชิญชวนคนในชุมชนให้มาร่วมทากิจกรรมในครั้งนี้ ๒. สารวจพื้นที่ที่จะทาการเกษตรโดยจัดให้เป็นพื้นที่ของส่วนกลาง ๓. ปรับสภาพหน้าดิน พื้นผิว บริเวณโดยรอบทาแปลงเกษตรขนาด ๑*๓ เมตร จานวน ๑๐-๑๒ (ขนาดอาจเปลี่ยนแปลงตามสภาพพื้นที่)พรวนดิน ลงเมล็ดพืช รดน้า ๔. จัดทาบ่อเลี้ยงปลาในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงกับแปลงเกษตร
  • 27. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๕ ๕. ให้ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทาเกษตรแบบยั่งยืน คือ แบบพึ่งพาธรรมชาติ แต่ไม่เบียดเบียน ธรรมชาติ ๖. การสอนการทาปุ๋ยชีวภาพโดยเครื่องโม่ใบไม้ งบประมาณ ลาดับที่ รายการ จานวน ราคาต่อหน่วย จานวนเงิน หมายเหตุ บาท บาท ๑ กล้าไม้ ๑๐๐ ต้น ๑๐ ๑,๐๐๐ ๒ ปุ๋ยคอก ๑๐ กระสอบ ๓๕ ๓๕๐ ๓ บัวรดน้า ๑๐ อัน ๗๒ ๗๒๐ รวม ๒,๐๗๐
  • 28. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๖ ชื่อโครงงาน เรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม สานสัมพันธ์ชุมชน จัดทาประชาคมหมู่บ้าน ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นายชัยชาญ ศรีอารยชาติ รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๐๘๖ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๗๗๘-๐๗๗๖ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล ในการทากิจกรรมค่ายอาสานั้น นอกจากสมาชิกค่ายจะต้องทางานร่วมกันแล้ว การทางาน ร่วมกันระหว่างสมาชิกค่ายกับคนในชุมชนก็เป็นสิ่งสาคัญเช่นกัน กิจกรรมสัมพันธ์ชุมชนเป็นกิจกรรมที่เป็น พื้นฐานและสาคัญที่สุดของค่าย เพราะตลอดการทางานตั้งแต่การวางแผนโครงการ ไปจนถึงการทาค่ายให้ สาเร็จ จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากคนในชุมชน คนในชุมชนจะเป็นผู้ที่คอยแนะนาและให้ ความช่วยเหลือในการทากิจกรรมของสมาชิกค่ายให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ไปได้ด้วยดี นอกจากนี้ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทัศนคติ ความรู้ความเข้าใจในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างคนใน ชุมชนกับนักศึกษา จึงได้จัดให้มีกิจกรรมเวทีประชาคมชุมชนขึ้นด้วย ดังนั้นทางชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทาโครงงานเรียนรู้ วิถีชีวิต วัฒนธรรม สานสัมพันธ์จัดทาประชาคมชุมชน เพื่อเรียนรู้วิถีชีวิตของคนในชุมชน และเพื่อให้ชาวบ้านได้มีโอกาสในการ แสดงความคิดเห็น จุดยืนทางการเมือง มุมมองทางการเมือง และเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการกระจายอานาจ การทาประชาคม การวิพากษ์ และการร่วมคิดร่วมทาโครงการอย่าง
  • 29. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๗ สร้างสรรค์ เพื่อท้องถิ่นและการจัดสรรอานาจอย่างมีประสิทธิภาพให้เกิดขึ้นแก่คนในชุมชน ตลอดจน วิธีการทาประชาคมอย่างถูกต้องและการรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายต่างๆในชุมชน วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษากับชาวบ้านในชุมชน ๒. เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ ความกล้าแสดงออกในการแสดงความคิดเห็น จุดยืน และมุมองทางการเมือง ๓. เพื่อเป็นเสริมสร้างทักษะในการเข้าสังคมให้แก่นักศึกษา รู้จักการเปิดใจยอมรับทัศนคติของ ผู้อื่น และส่งเสริมให้นักศึกษามีบทบาททางการเมือง รูปแบบของการดาเนินกิจกรรรม จัดกิจกรรมเพื่อทาการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านในชุมชน เช่น การเชิญชวนชาวบ้านให้ มาร่วมกันก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน การส่งเสริม สุขภาพอนามัย การป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤตหมอกควัน การจัดทาประชาคมหมู่บ้าน เข้าร่วมกิจกรรม การสันทนาการต่างๆ เช่น ชมการแสดงรอบกองไฟ การเฉลิมฉลองร่วมกันในงานต้อนรับปีใหม่ เป็นต้น ขั้นตอนการดาเนินงาน ติดต่อประสานงานกับผู้นาชุมชน สอบถามถึงลักษณะวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เพื่อให้สามารถจัดวาง รูปแบบของกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม โดยการดาเนินงานสามารถแบ่งกิจกรรมหลักๆได้ดังต่อไปนี้ -จัดงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ในคืนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ แล้วเชิญชวนคนในชุมชน มาร่วมงาน -เชิญชวนให้คนในชุมชนมาร่วมกันแสดงจุดยืน มุมมองและความคิดเห็นทางการเมือง ผ่านการ จัดทาเวทีประชาคมในช่วงบ่ายของวันที่ ๑-๒ มกราคม ๒๕๕๗ -เชิญชวนคนในชุมชนให้มาร่วมการก่อสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ ทาแปลงเกษตร ขุดบ่อเลี้ยงปลา -เชิญชวนคนในชุมชนให้เข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้ต่างๆ เช่น กิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การให้ความรู้เกี่ยวกับการทาปุ๋ยชีวภาพ การป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤต หมอกควัน เป็นต้น
  • 30. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๘ -เชิญชวนคนในชุมชนรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖ -เชิญชวนคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมรอบกองไฟในคืนวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๖ รับชมการแสดง จากนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ และ เชิญชวนให้เด็กๆเข้าร่วมกิจกรรมรับมอบของขวัญปีใหม่จากพี่ๆให้แก่เด็กๆใน ชุมชน งบประมาณ ไม่มีงบประมาณในการดาเนินการ
  • 31. ชมรมอาสาพัฒนาชนบทและบาเพ็ญประโยชน์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ __________________________________________________________________________________________________________________ ๒๙ ชื่อโครงงาน ส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจากธรรมชาติ ฝ่าย ชมรมอาสาพัฒนาและบาเพ็ญประโยชน์ สโมสรนักศึกษา คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร.รวีวรรณ แพทย์สมาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวนายิกา เมืองแก้ว รหัสประจาตัวนักศึกษา ๕๔๑๙๑๐๒๐๒ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๓-๔๘๑-๑๗๓๘ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๖ – ๔ มกราคม ๒๕๕๗ สถานที่ปฏิบัติงาน บ้านห้วยบะบ้า หมู่ ๔ ตาบลแจ่มหลวง อาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและเหตุผล เนื่องจากในปัจจุบันในช่วงเดือนภุมภาพันธ์เป็นต้นไปของทุกปี ภาคเหนือมักจะประสบกับปัญหา วิกฤตหมอกควันอันเนื่องมาจากการที่ชาวบ้านในพื้นที่ต่างๆ ได้เผาป่าหรือนาข้าว เพื่อเตรียมทาการเกษตร ซึ่งเป็นปัญหาต่อเนื่องที่ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อหลายๆภาคส่วน ไม่ว่าจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของ ประชาชน ปัญหามลพิษทางอากาศ และปัญหานี้ยังเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ดังนั้นเพื่อเป็น การให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากวิกฤตหมอกควัน และการป้องกันการเกิดปัญหาวิกฤตหมอกควันนี้ และเพื่อให้ชาวบ้านได้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการทาการเกษตรในช่วงปลายฤดูหนาว ต้น ฤดูร้อนนั้น ทางชมรมอาสาพัฒนาฯจึงได้จัดโครงงานส่งเสริมและป้องกันวิกฤตหมอกควันและภัยจาก ธรรมชาติขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากทางคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เป็นผู้นาร่องใน การดาเนินงานในโครงการ “สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนในการแก้ไขปัญหาวิกฤติหมอกควัน” ซึ่งเป็น กิจกรรมการพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้การแก้ไขมลภาวะหมอกควันและกิจกรรมศึกษาวิจัยทางเลือก ในการแก้ไขปัญหาหมอกควันและการพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังเป็นโครงการที่ได้รับความไว้วางใจจาก ดร.อมรพันธุ์ นิมานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ได้มอบหมายให้ทางคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ อดีตเป็นผู้ริเริ่มและดาเนินโครงการ นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนจาก รองศาสตราจารย์