SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
180



                                          แผนการจัดการเรียนรูที่ 10
กลุมสาระการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ( ลูกเสือ )                                       สาระ การรูจกดูแลตนเอง
                                                                                                            ั
ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 หนวยการเรียนรูที่ 1 การกางเต็นทและการเก็บเต็นท เวลา 1 ชั่วโมง
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.สาระสําคัญ
          การเดินทางไกลและไปอยูคายพักแรม จําเปนตองมีเต็นท (กระโจม) สําหรับกางนอน ลูกเสือ
                                          
ตองรูจักการกางและการเก็บเต็นทนอนของตนเอง
2. จุดประสงคการเรียนรู
          1. อธิบายวิธีกางเต็นทเก็บเต็นทได
          2. แสดงวิธีกางเต็นทเก็บเต็นทได
          3. รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม
          4. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน

3. สาระการเรียนรู
        การกางเต็นทในการอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                - เต็นทชนิดตาง ๆ
                - การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว
                                                     ่
                - การจัดการคาย
4. กิจกรรมการเรียนรู

          4.1 พิธีเปดประชุมกอง ( ชักธงชาติ สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจผม แยก )                 10 นาที
          4.2 เพลงคนมีปญญา                                                                5 นาที
          4.3 กิจกรรมการเรียนการสอน ( การบรรยาย , การสาธิต )
              4.3.1 แจงจุดประสงคการเรียนรู
              4.3.2 ผูกํากับอธิบายและสาธิตการกางเต็นทชนิดตาง ๆ
              4.3.3 ลูกเสือจับฉลากกิจกรรมการเรียนรู แลวออกไปศึกษาใบความรู และฝกปฏิบัติ
                    กิจกรรมโดยมีรองผูกํากับดูแลชวยเหลือ หมูละ                         10 นาที
                   4.3.3.1 กลุมที่ 1 เต็นทชนิดตาง ๆ
                   4.3.3.2 กลุมที่ 2 การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนทีพักชั่วคราว
                                                                   ่
                   4.3.3.3 กลุมที่ 3 การจัดการคาย
              4.3.4 ใหลูกเสือแตละหมูศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม จากบทเรียนสําเร็จรูป
                                          
181



              4.3.5 ลูกเสือนําผลงานจากการปฏิบัติกจกรรมเสนอตอที่ประชุมกองหมูละ
                                                           ิ                                5 นาที
              4.3.6 ลูกเสือชวยกันสรุปโดยมีผูกํากับคอยชวยเหลือแนะนําเพิ่มเติม
           4.4 ผูกํากับเลาเรื่องสั้นที่เปนคติ เรื่อง กบกับหนู                              5 นาที
           4.5 พิธีปดประชุมกอง ( นัดหมาย ตรวจเครื่องแตงกาย ชักธงลง เลิก )                10 นาที
5. วัสดุอุปกรณ สื่อ และแหลงเรียนรู
          5.1 ใบงานเรืองเต็นทชนิดตาง ๆ
                          ่
          5.2 ใบความรูเ รื่องเต็นทชนิดตาง ๆ
          5.3 ใบงานเรืองการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว
                            ่                                    ่
          5.4 ใบความรูเ รื่องการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว
                                                                   ่
          5.5 ใบความรูเ รื่อง การจัดการคาย
          5.6 ใบความรูเ รื่อง การจัดการคาย
          5.7 บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
          5.8 แผนภูมิเพลง
          5.9 เรื่องสั้น
          5.10 เต็นท
          5.11 แบบทดสอบกอนเรียน
6.การวัดผลและประเมินผล
          6.1 สิ่งที่วัด
                     6.1.1 ความรูความเขาใจในการกางเต็นทในการอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                     6.1.2 การอยูคายพักแรม
          6.2 วิธีการวัด
                     6.2.1 ปฏิบัติจริง
                     6.2.2 ตรวจผลงาน
          6.3 เครื่องมือวัด
                     6.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการรวมกิจกรรมกลุม
          6.4 เกณฑการประเมิน
                     6.4.1 ประเมินคาเปนระดับคุณภาพ
                              ไดคะแนนระดับ 10 - 12 หมายถึง ดี (ผาน)
                              ไดคะแนนระดับ 7 – 9 หมายถึง พอใช (ผาน)
                              ไดคะแนนระดับ 4 - 6 หมายถึง ควรปรับปรุง (ไมผาน)
182



7.ขอเสนอแนะ
........................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
8.ความเห็นผูบริหาร   
                             ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูกับกําหนดการสอน
                             ความสอดคลองของสาระการเรียนรูกับจุดประสงคการเรียนรู
                             กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู
                             ความเหมาะสมของการวัดผลประเมินผล
                             อื่นๆ ระบุ
                            ใชสอนได                          ควรปรับปรุงกอนใชสอน




                                            ลงชื่อ...................................................
                                                               ( นายอมร สดศรี )
                                              ตําแหนง ผูอานวยการโรงเรียนวัดแดง
                                                                 ํ
                                           วันที่...............เดือน........................พ.ศ. ...............
183



                                                                   บันทึกหลังสอน

1. ผลการสอน
              1.1 ดานพุทธิพิสัย ( K )
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
              1.2 ดานทักษะพิสัย ( P )
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
              1.3 ดานจิตพิสัย ( A )
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. ปญหา/ อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................


                                                  ลงชื่อ........................................ผูสอน
                                                            ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
                                                       ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดแดง
                                          วันที่...........เดือน................................พ.ศ................
184



                             เพลงคนมีปญญา


       คนมีปญญาสรางบานไวบนศิลา (ซ้ํา 3 ครั้ง) เมี่อมีลมพายุพัดมา
เมื่อฝนตกหนักและน้ําก็ไหลเชี่ยว (3 ครั้ง) บานของเขาก็ยังคงอยู
       คนโงสรางบานของเขาไวบนหาดทราย (ซ้ํา) เมื่อมีลมพายุพัดมา
เมื่อฝนตกหนักและน้ําก็ไหลเชี่ยว (3 ครั้ง) บานของเขาก็พังลงทะเล


                  (ที่มา : วาที่รอยโทสันต ยุวยุทธ ,2543 : 123)
185



                                           ใบงานที่ 1
                                            กลุมที่ 1

เรื่อง เต็นทชนิดตาง ๆ
จุดประสงคการเรียนรู
       1.   อธิบายวิธีกางเต็นทชนิดตางๆ และเก็บเต็นทได
       2.   แสดงวิธีกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได
       3.   รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม
                                                              
       4.   รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน

วัสดุอุปกรณ
       1. ใบความรู
       2. เต็นท
       3. บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม

ขั้นตอนการปฏิบัติ
       1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเต็นทชนิดตาง ๆได
       2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได
       3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง
       4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม



เอกสารอางอิง
        อํานาจ ชางเรียน และคณะ ลูกเสือ – เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ

แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
        1. หองลูกเสือ
        2. หองสมุด
        3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                   
186



                                            ใบความรูที่ 1
                                              กลุมที่ 1
เรื่อง เต็นทชนิดตาง ๆ
จุดประสงคการเรียนรู
          1.   อธิบายวิธีกางเต็นทชนิดตางๆ และเก็บเต็นทได
          2.   แสดงวิธีกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได
          3.   รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม
                                                                 
          4.   รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน

เนื้อหา
                                    การกางเต็นทและการเก็บเต็นท
        เต็นท หมายถึงที่พักอาศัย ซึ่งสามารถเคลื่อนยายไปตามสถานที่ตาง ๆ ไดโดยมากเต็นทจะทํา
ดวยผาใบหรือไนลอน
        ชนิดตาง ๆ ของเต็นท
        การเดินทางไกลและไปอยูคายพักแรม จําเปนตองมีเต็นท ( กระโจม ) สําหรับกางนอน เต็นทมี
หลายชนิด มีทั้งเต็นทสําหรับนอนคนเดียว นอนสองคน หรือนอนหลายคน ซึ่งมีชื่อเรียกแตกตางกัน
ไป เต็นทนาไปใชในคายพักแรม แบงเปนชนิดตาง ๆ ดังนี้
           ํ
        1. เต็นทอํานวยการ เปนเต็นทที่มีขนาดใหญ บรรจุคนไดหลายคน ซึ่งจะใชเปนที่ประชุมของ
นายหมูหรือผูกํากับ
        2. เต็นทหมู เปนเต็นทที่ใชสําหรับลูกเสือ พักรวมกันได 1 หมู
        3. เต็นทบุคคล เปนเต็นทขนาดเล็กสําหรับพักไดเพียง 2 คน

อุปกรณและสวนประกอบของเต็นท

        ในการใชเต็นทในการอยูคายพักแรม จะใชเต็นท 5 ชาย ซึ่งเหมาะสําหรับลูกเสือ จํานวน 2
คน ซึ่งเต็นท 5 ชาย จะใชเนื้อที่ในการกางไมมากและวิธีกางไมยุงยาก
        สวนประกอบของเต็นท 5 ชาย มีดังนี้
        1. ผาเต็นท 2 ผืน
        2. เสาเต็นท 2 ชุด ( 2 เสา ) ชุดละ 3 ทอน ( 3 ทอนตอกันเปน 1 ชุด )
        3. สมอบก 10 ตัว ( หัว 1 ตัว ทาย 1 ตัว ชายดานลางดานละ 3 ตัวประตูหนา 1 ตัวและหลัง1ตัว )
187



        4. เชือกยึดสมอบก 10 เสน ( เชือกยาวใชรั้งหัวทายเต็นท 2 เสน เชือกสั้นใชยึดชายเต็นท 6
เสน และประตูหนาหลัง 2 เสน )
                                       วิธีกางเต็นท 5 ชาย
         ในการกางเต็นท 5 ชายมีขั้นตอนในการปฏิบัติและตองชวยกันกางเต็นท ดังนี้
         1. นําผาใบ 2 ผืน มาติดกระดุมเขาดวยกัน โดยใชดานที่ติดกระดุมเปนสวนของหลังคาเต็นท
รูตาไกที่ซอนกันและอยูถัดจากกระดุม จะเปนที่ยึดเสาทั้ง 2 เสาสวนดานที่มีรูตาไกดานละ 3 รูจะเปน
ชายดานลาง
         2. นําเสาชุดที่ 1 มาเสียบที่รูหลังคาเต็นทและใหมีคนจับเสาไว 1 คน
         3. คนที่ 2 จะเปนผูผูกเต็นทโดยใชเชือกยาว 1 เสน ยึดจากหัวเสาไปยังสมอบกดานหนาโดย
ผูกดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดบนหัวเสาและใชเงื่อนกระหวัดไมหรือผูกรั้งกับสมอแลวใชเชือกสั้น 2 เสน ยึด
ชายเต็นทเขากับสมอบก โดยใชผูกดวยเงื่อนปมตาไก ใหเต็นทกางออกเปนรูปหนาจั่ว
         4. ใหคนที่ 2 ตอเสาที่ 2 เสียบเขากับรูหลังคาเต็นทอีกดานหนึ่งแลวจับเสาไว ใหคนที่ 1
ปลอยมือจากเสาที่ 1 แลวนําเชือกยาวเสนที่ 2 มายึดหัวเสาตนที่ 2 ดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดและลากไป
ยึดกับสมอบกดวยเงื่อนกระหวัดไมหรือผูกรั้ง
         5. ใหคนที่ 2 ปลอยมือจากเสาที่ 2 มาชวยกันยึดชายเต็นทที่เหลือใหเขากับสมอบก แลวปรับ
ความดิ่งของเต็นทใหเรียบรอย




1                                                         2




3                                                             4



                                 ขั้นตอนการกางเต็นท 5 ชาย
                            ( ที่มา : หนังสือลูกเสือ เนตรนารี ป.5 มปป: 22 )
188



การรื้อเต็นท 5 ชาย
       เมื่อประสงคจะรื้อเต็นทหลังจากสิ้นสุดการพักแรม จะมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้
       1. แกเชือกที่รั้งเสาหัวทายกับสมอบกออก เต็นทก็จะลมลง
       2. ถอดเสาเต็นทออกเปน 6 ทอน แลวเอามารวมกันไว
       3. ถอนสมอบกทั้ง 10 ตัว ออกไปรวมกันไวกับเสาเต็นท
       4. เก็บเชือกและแกเชือกตาง ๆ ใหเรียบรอยแลวนําไปรวมไวกับสมอบก
       5. แกะกระดุมเต็นทออก เพื่อใหเต็นทแยกออกเปน 2 ผืน
       6. ทําความสะอาดอุปกรณทุกชิ้น และเก็บผับผาเต็นทใหเรียบรอย
       7. นําผาเต็นทและอุปกรณไปเก็บไวในที่เดียวกัน
การพับเก็บเต็นท 5 ชาย
        เมื่อเก็บเต็นท โดยการแกะเชือกและรื้อถอนเสาเต็นท รวมทั้งถอนสมอบกเรียบรอยแลว
ลูกเสือจะตองดําเนินการเก็บเต็นท โดยการพับใหเรียบรอย ขั้นตอนดังตอไปนี้
        1. คลี่ผาเต็นทออก
        2. พับปลายแหลมเขามาทั้ง 2 ขาง
        3. นําเสา 3 ทอน สมอบก 5 ตัว เชือกทั้ง 4 เสน เชือกยาว 1 เสน ไปวางไวบนผา
        4. พับชายผามาทับอุปกรณท่วางไว
                                     ี
        5. พับผาดานขางเขามาทั้ง 2 ขางดานละ 1 ใน 3
        6. มวนผาสวนที่เหลือใหแนน ถาจะใหดูเรียบรอยควรมวนทั้ง 2 ดานเขาหากัน




                                 ขั้นตอนการพับเต็นท 5 ชาย
                ( ที่มา : หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชาชาวคาย 2546 : 7 )
189



                                        เต็นทสําเร็จรูป
       ในปจจุบน เต็นท 5 ชาย ไมนิยมนํามาใชในการเขาคายพักแรมของลูกเสือ แตนยมนําเอาเต็นท
                ั                                                              ิ
แบบสําเร็จรูปมาใช เพราะสะดวกในการจัดเก็บ และงายในการนํามาใชงาน




                              ( ที่มา : http://www.campinginter.com/)
190



     ตัวอยางวิธีการกางเต็นทแบบงายๆ ที่จะทําใหรูสึกวาการกางเต็นทไมใชเรื่องยาก ตัวอยางทีมา
                                                                                                ่
แสดงจะเปนการกางเต็นทโดม ถาเปนแบบอื่นๆ ก็สามารถนํามาประยุกตใชได

 1. นําเต็นทและอุปกรณตางๆ ออกมาจากถุง ตรวจสอบวาอุปกรณครบถวน




                          ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)



2. เริ่มดวยการติดตั้งโครงเต็นท โดยเอาบริเวณปลายของโครงเสียบกับตรงมุมเต็นท ซึ่งจะมีชอง
สําหรับเสียบโครงเต็นทอยู หลังจากนันใหนําขอเกียวบริเวณตัวเต็นท นํามาเกียวกับตัวโครง ถึงขั้น
                                    ้           ่                         ่
ตอนนี้เต็นทของคุณจะขึนเปนรูปไดแลว สําหรับบางรุนอาจจะตองมีการเอาตัวโครงมาสอดกับตัวเต็นท
                        ้
ใหทะลุไปอีกดานหนึ่งแลวงอโครงโดยใหปลายทั้งสองขางเสียบเขาไปในชองที่มุมเต็นท




                          ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)

3.หลังจากตั้งโครงแลวก็จะไดเต็นท ที่พรอมจะกางฟลายชีทได
191




                          ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)

4. ติดตั้งเสาสําหรับฟลายชีท โดยนําเสามาพาดกลางเต็นทและผูกตัวเสาฟลายชีทกับบริเวณกลางเต็นท
ที่เสาโครงเต็นทสองดานตัดกัน




                          ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)

5. ติดตั้งฟลายชีทโดยนําขอเกี่ยวของฟลายชีทเกี่ยวกับบริเวณมุมเต็นททง 2 ดาน แลวนําฟลายชีทมา
                                                                  ั้
พาดเสากลาง




                          ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)

6. ติดตั้งฟลายชีทอีกดาน เมื่อเสร็จเรียบรอยก็จะไดเต็นทที่เสร็จสมบูรณ
192



เอกสารอางอิง
       กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ.
                                            ื
       http://www.campinginter.com/
       http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html)

แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
       1. หองลูกเสือ
       2. หองสมุด
       3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                  
193



การกางเต็นทการรื้อเต็นทและการพับเต็นทขนาดใหญสําหรับหมูลกเสือ หรือเต็นทสําเร็จรูป
                                                            ู
       เต็นทขนาดใหญที่ใชสําหรับลูกเสือทั้งหมู จะมีขนาดใหญและมีน้ําหนักมากกวา เต็นท 5
ชาย แตถึงอยางไรก็สามารถพาไปไดสะดวก ซึ่งในการกางเต็นทชนิดนี้จะตองมีบริเวณกวางพอที่จะ
กางเต็นทได สําหรับวิธีกางเต็นทชนิดนี้ก็ไมยุงยากนักเพียงใชลูกเสือ 2 คน ก็สามารถกางเต็นทได
สวนประกอบของเต็นทขนาดใหญ
       1. ผาเต็นท 1 ชุด
       2. เสาเต็นท 2 ชุด แตละชุดมี 3 ทอน นํามาตอเปนเสา 1 เสา
       3. สมอบก 12 ตัว ใชสําหรับยึดพื้น 4 ตัว ยึดชายหลังคา 6 ตัว หัว 1 ตัว และทาย 1 ตัว
       4. เชือกสําหรับยึดสมอ 8 เสน ทุกเสนมัดติดกับแผนเหล็กสําหรับปรับความตึง หยอน
ของเชือกโดยเชือก 6 เสน โดยยึดชายหลังคาและเชือกยาวอีก 2 เสน ใชรั้งหัว ทายเต็นท

วิธีการกางเต็นทขนาดใหญ
        1. ยึดพื้นของเต็นททั้ง 4 มุม ดวยสมอบก 4 ตัว
        2. นําเสาชุดที่ 1 มาเสียบที่รหลังคาเต็นท ใหคนที่ 1 จับไว
                                     ู
        3. ใหคนที่ 2 ใชเชือกยาว 1 เสน ยึดจากหัวเสาไปยังสมอบกดานหนา โดยผูกดวยเงื่อน
ตะกรุดเบ็ดหรือกระหวัดไมแลวใชเชือก 2 เสนยึดชายเต็นทกับสมอบกใหเต็นทกางออกเปนรูปหนาจั่ว
        4. คนที่ 2 เดินออมไปอีกดานหนึ่งตอเสาที่ 2 เสียบเขากับรูหลังคาเต็นทอีกดานหนึ่งแลวจับ
เสา ไว คนที่ 1 นําเชือกนําเชือกยาวเสนที่ 2 มาผูกยึดกับเสาที่ 2 ไปยังสมอบกดานหลัง
        5. คนที่ 1 และ 2 ชวยกันใชเชือกยึดชายหลังคาเต็นทจุดที่เหลือเขากับสมอบกแลวปรับความ
ตึง หยอนของเต็นทใหเรียบรอย




                                       การกางเต็นทขนาดใหญ
                  ( ที่มา : หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชาชาวคาย 2546 : 8 )
194



การรื้อเต็นทขนาดใหญ
       การรื้อเต็นทขนาดใหญมีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้
       1. แกเชือกที่รื้อเสาเต็นทหัวทายกับสมอบกออก เต็นทก็จะลมลง
       2. ถอดเสาเต็นทออกเปน 6 ทอน แลวเอามารวมกัน
       3. ถอดสมอบกทั้ง 12 ตัว ไปรวมกันไวกับเสาเต็นท
       4. เก็บเชือกและแผนปรับความตึง ซึ่งประกอบดวยเชือกสั้น 6 เสน และยาว 2 เสน แผน
ปรับความตึง 8 อัน
       5. ทําความสะอาดเต็นทแลวนําไปเก็บ
การพับเต็นทขนาดใหญ
       1.   คลี่เต็นทใหพื้นเต็นทกางออก จัดหลังคาเต็นทใหเรียบรอย
       2.   พับชายดานขางเต็นทเขามา โดยพับเปน 4 ชาย
       3.   พับครึ่งความยาว
       4.   พับสวนที่เหลือใหไดขนาดพอเหมาะที่จะนําไปใสถุงเต็นท
       5.   บรรจุอุปกรณลงในถุงเล็กแลวนําไปใสถุงใหญอีกครั้งหนึ่ง
195



                                           ใบงานที่ 2
                                            กลุมที่ 2

เรื่อง การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว
                                          ่
จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายวิธีดดแปลงวัสดุเพือทําเปนที่พักชั่วคราวได
                      ั             ่
        2. ดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชั่วคราวได
                                       ั
        3. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน
วัสดุอุปกรณ
        1.   ใบความรู
        2.   ผา
        3.   ซังขาว ใบไม ใบหญา
        4.   เชือก
        5.   บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม

ขั้นตอนการปฏิบัติ
        1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเกี่ยวกับการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว
                                                                            ่
        2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนทีพักชั่วคราว
                                                             ่
        3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง
        4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม



เอกสารอางอิง
        กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ.
                                             ื
แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
        1. หองลูกเสือ
        2. หองสมุด
        3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                   
196



                                           ใบความรูที่ 2
                                             กลุมที่ 2
เรื่อง การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชัวคราว
                                      ั ่
จุดประสงคการเรียนรู
          1. อธิบายวิธีดดแปลงวัสดุเพือทําเปนที่พักชั่วคราวได
                        ั             ่
          2. ดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชั่วคราวได
                                         ั
          3. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน

เนื้อหา
                               การดัดแปลงวัสดุทําเปนที่พักชั่วคราว

          1. นําผาหมหรือผาขาวมาใชดัดแปลงเปนหลังคาที่พัก โดยใชไมพลองหรือกิ่งไมเปน
สวนประกอบ
          2. นําซังขาว ใบไม ใบหญา มาทําเปนหลังคาเพิงพักกันแดดและกันลม โดยใชไมพลอง กิ่ง
ไม เชือก มาเปนสวนประกอบทําเปนรูปเพิงพัก
          3. บริเวณที่อยูระหวางตนไมลอมรอบ เชน กลุมตนไมไผที่มี
ทิศทางเขาออกเฉพาะ สามารถปดกวาด ตกแตงดัดแปลงเปนที่พักได
          4. บริเวณเพิงพักหรือถ้ําที่อากาศถายเทสะดวก ดัดแปลงเปนที่พักกันแดด กันลม กันฝน และ
ใชเปนที่พกแรมได
            ั



เอกสารอางอิง
          กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ.
                                               ื

แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
          1. หองลูกเสือ
          2. หองสมุด
          3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                     
197



                                        ใบงานที่ 3
                                         กลุมที่ 3

เรื่อง การจัดการคาย
จุดประสงคการเรียนรู
       1. อธิบายถึงหลักการเลือกที่ตั้งคายพักแรมได
       2. เลือกที่ตั้งคายพักแรมไดเหมาะสมตามลักษณะภูมิประเทศ
       2. รวมกิจกรรมดวยความสนใจ
วัสดุอุปกรณ
       1. ใบความรู
       2. บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
       1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเกี่ยวกับการเลือกที่ตั้งคายพักแรมตามลักษณะภูมประเทศ
                                                                             ิ
       2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมการเลือกที่ตั้งคายพักแรม
       3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง
       4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม




เอกสารอางอิง
       กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ.
                                            ื
       http://www.trueplookpanya.com
แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
       1. หองลูกเสือ
       2. หองสมุด
       3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                  
198



                                         ใบความรูที่ 3
                                           กลุมที่ 3
เรื่อง การจัดการคาย
จุดประสงคการเรียนรู
          1. อธิบายถึงหลักการเลือกที่ตั้งคายพักแรมได
          2. เลือกที่ตั้งคายพักแรมไดเหมาะสมตามลักษณะภูมิประเทศ
          2. รวมกิจกรรมดวยความสนใจ

เนื้อหา
                                       การจัดคายพักแรม

         กอนตั้งคายพักแรม ควรมีการศึกษาลักษณะพืนที่ภูมิประเทศใหดีเสียกอน โดยพิจารณาความ
                                                         ้
เหมาะสมจากสิ่งตอไปนี้
         1. ควรอยูบนที่สูงหรือเชิงเขาเวลาฝนตกมีทางระบายน้าออกอยางรวดเร็วทําใหไมมน้ําขังใน
                                                              ํ                            ี
บริเวณคาย หรือมิฉะนั้นควรตั้งคายบริเวณที่เนื้อดินเปนดินปนทราย เพื่อใหน้ําซึมลงใตพื้นดินได
รวดเร็วขึน้
         2. ไมควรอยูใกลสถานที่ที่มีคนพลุกพลาน เชน สถานที่ตากอากาศ
         3. ไมควรตั้งอยูใกลถนนหรือทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุไดงาย
         4. ไมควรตั้งเต็นทอยูใกลตนไมใหญ เพราะเมื่อเกิดลมพายุตนไมอาจหักโคนลงมาทําใหเกิด
อันตรายได
         5. สถานที่ตั้งคาย ควรมีน้ําดื่มน้ําใชอยางเพียงพอ แตไมควรอยูใกลแมนํ้า ลําคลอง หนอง
บึง อาจเกิดอุบัติเหตุได
         6. สถานที่ตั้งคาย ไมควรอยูไกลจากตลาดมากนัก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการไปซื้อกับขาว
และไมควรอยูไกลจากสถานีอนามัยหรือสถานพยาบาลมากนัก เพื่อวาเมื่อเกิดการเจ็บปวย หรือเกิด
อุบัติเหตุรายแรง จะไดชวยเหลือไดทันทวงที
                          
         7. ควรอยูในสถานที่ปลอดภัยจากสถานที่เสี่ยงอันตราย ไดแก สถานที่ที่มีสถิติการเกิด
อาชญากรรมสูง เปนแหลงอาศัยของสัตวราย
199



เอกสารอางอิง
       กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ.
                                            ื
       http://www.trueplookpanya.com

แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม
       1. หองลูกเสือ
       2. หองสมุด
       3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท
                                  
200



                                                 เรื่องสั้น
                                            เรื่องกบกับหนู

         หนูแกตัวหนึ่งเดินทางรอนแรมมาจนถึงลําธารที่ชายปา หนูตองการขามไปยังฝงตรงขามจึงเขา
ไปหาเจากบตัวนอยที่ริมธารแลวเอยขอใหกบชวยพาไปยังลําธารตรงกันขาม กบนอยมองหนูแลว
ปฏิเสธอยางสุภาพวา “โธ ฉันตัวเล็กนิดเดียวแลวจะพาทานขามไปไดอยางไรกันจะ” หนูไมยอมกลับ
อางวาตนเปนสัตวอาวุโสกวา ถากบไมชวยตนก็จะไปปาวประกาศใหสรรพสัตวทั้งหลายรูถึงความใจดํา
ของกบ เมื่อถูกขูเชนนั้น กบจึงตองจําใจยอมใหหนูเอาเทาผูกกับเทาของตนแลวพาขามลําธารไป แต
พอวายน้ําไปไดแคครึ่งทางเทานั้นกบก็หมดแรง กอนที่ทั้งคูจะจมน้ําตาย เหยี่ยวตัวหนึ่งก็โฉบลงมาจิก
เอาทั้งกบและหนูไปกิน
         นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา การคิดเอาประโยชนจากผูอื่นทีไมสามารถใหไดยอมมีแตจะเสียหาย
                                                                 ่
ทั้งหมด

            ( ที่มา : สนั่น เกตุชาติ. แผนการสอนกิจกรรมลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5, 2531)
201



                                    แบบสังเกตและตรวจหมูลูกเสือ              
                               หมูลูกเสือ ...........................................
สาระการเรียนรูเรื่อง................................................................................................


ลําดับที่                         รายการ                             ระดับ 3           ระดับ 2 ระดับ 1                  หมาย
                                                                                                                         เหตุ
    1.         การตรวจอุปกรณการเรียน
    2.         ความรวมมือในกิจกรรม เพลง / เกม
    3.         วิชาการ
    4.         การตรวจเครื่องแตงกาย


เกณฑการประเมิน
1. การสังเกตการตรวจอุปกรณ
        - อุปกรณครบทุกอยาง                                                 ระดับ 3               คะแนน ดีมาก
        - อุปกรณเกินครึ่งหนึ่งของหมู                                       ระดับ 2               คะแนน ดี พอใช
        - อุปกรณไมถงครึ่งของหมู
                      ึ                                                      ระดับ 1               คะแนน ปรับปรุง
2. ความรวมมือในกิจกรรม เพลง / เกม
        - ใหความรวมมือทุกคนและกระตือรือรน                                 ระดับ 3               คะแนน ดีมาก
        - ใหความรวมมือแตบางคนไมคอยใหความสนใจ                           ระดับ 2               คะแนน ดี พอใช
        - ใหความรวมมือครึ่งหนึ่งและขาดความตั้งใจ                           ระดับ 1               คะแนน ปรับปรุง
3. วิชาการ
        - สรุปใจความเรื่องที่เรียนครบถวน                                    ระดับ 3               คะแนน ดีมาก
        - สรุปใจความแตขาดความสมบูรณเล็กนอย                                ระดับ 2               คะแนน ดี พอใช
        - สรุปใจความแตขาดความสมบูรณของเรื่อง                               ระดับ 1               คะแนน ปรับปรุง
4. การตรวจเครื่องแตงกาย
        - แตงกายเรียบรอยทุกคน                                              ระดับ 3               คะแนน ดีมาก
        - แตงกายเรียบรอยครึ่งหนึ่ง                                         ระดับ 2               คะแนน ดี พอใช
        - แตงกายเรียบรอยไมถึงครึ่งของหมู                                 ระดับ 1               คะแนน ปรับปรุง
202



                                        แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค

ชื่อ .............................................................หมู. ............................................

ลําดับ                        รายการ                           ดีมาก              ดี         ปานกลาง พอใช ปรับปรุง
   ที่                                                             5              4                 3                  2   1
   1.        ความซื่อสัตย
   2.        ความกลาหาญ
   3.        ความอดทน
   4.        ความมีระเบียบวินยั
   5.        ความเชื่อมั่นในตนเอง


เกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
ระดับ ดีมาก          5      คะแนน                                      ปฏิบัติตนสม่ําเสมอจนเปนนิสย  ั
ระดับ ดี             4      คะแนน                                      ปฏิบัติตนดี แตมีบางครั้งตองมีผูแนะนํา
ระดับ ปานกลาง        3      คะแนน                                      ปฏิบัติบางครั้งดวยตนเองและในขณะที่
                                                                        ควบคุมและมีผูแนะนํา
ระดับ พอใช                        2           คะแนน                   ปฏิบัติดวยตนเองนอยครั้ง
ระดับ ปรับปรุง                     1           คะแนน                   ไมปฏิบัติ
203



                             แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม
                                                ั
                           เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม

        กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว            3   เต็นท       ได    5 คะแนน         ดีมาก
        กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว            2   เต็นท       ได    4 คะแนน         ดี
        กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว            1   เต็นท       ได    3 คะแนน       ปานกลาง
        กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองแตชา                1   เต็นท       ได    2 คะแนน         พอใช
        กางเต็นทและเก็บเต็นท ไมถกตอง
                                    ู                          1   เต็นท       ได    1 คะแนน       ปรับปรุง
ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน


                                                                 เต็นทชนิดตาง ๆ
                                                                                              ผลการประเมิน
ที่                   ชื่อ สกุล
                                                          5        4       3       2      1   ผาน   ไมผาน




                            ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน
                                       ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
204



                           แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม
                                              ั
                         เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม

        นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดมั่นคงเหมาะสมกับงาน       ได 5 คะแนน                            ดีมาก
        นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดมั่นคงไมเหมาะสมกับงาน ได 4 คะแนน                               ดี
        นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดไมมั่นคงเหมาะสมกับงาน ได 3 คะแนน                             ปานกลาง
        ไมไดดดแปลงวัสดุมาประยุกตใช มั่นคง เหมาะสมกับงาน ได 2 คะแนน
               ั                                                                                     พอใช
        ไมไดดดแปลงวัสดุมาประยุกตใช มั่นคงไม เหมาะสมกับงาน ได 1 คะแนน
                 ั                                                                                  ปรับปรุง
ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน


                                                            การดัดแปลงวัสดุเพื่อ
                                                                                            ผลการประเมิน
ที่                 ชื่อ สกุล                               ทําเปนที่พักชัวคราว
                                                                           ่
                                                        5       4        3       2      1   ผาน   ไมผาน




                          ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน
                                    ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
205



                            แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม
                                               ั
                          เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม

        การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว         5   ขอ                     ได    5 คะแนน         ดีมาก
        การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว         5   ขอ                     ได    4 คะแนน         ดี
        การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว         5   ขอ                     ได    3 คะแนน       ปานกลาง
        การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว         5   ขอ                     ได    2 คะแนน         พอใช
        การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว         5   ขอ                     ได    1 คะแนน       ปรับปรุง
ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน


                                                                 การจัดการคาย
                                                                                             ผลการประเมิน
ที่                  ชื่อ สกุล
                                                         5       4        3       2      1   ผาน   ไมผาน




                           ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน
                                       ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...Prachoom Rangkasikorn
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51mina612
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6issarayuth
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑Sam Uijoy
 
การใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามการใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามSup Mook
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
ใบความรู้+วัฏจักรชีวิตของสัตว์(การนำไปใช้ประโยชน์)+ป.5+281+dltvscip5+55t2sci ...
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51
ข้อสอบ O net ภาษาไทยปี51
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
 
การใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนามการใช้คำลักษณนาม
การใช้คำลักษณนาม
 

Viewers also liked

ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลกKosamphee Wittaya School
 
การบรรจุเครื่องหลัง
การบรรจุเครื่องหลังการบรรจุเครื่องหลัง
การบรรจุเครื่องหลังPanorm Suwannawat
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือpreecha klamrassamee
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
ประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกNew Nan
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีJirapat Chomvilai
 
การบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือการบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือEnglish for Thai students
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]preecha klamrassamee
 
กำหนดการสอน ลูกเสือ สำรอง แลสามัญ ศวค.
กำหนดการสอน  ลูกเสือ  สำรอง  แลสามัญ ศวค.กำหนดการสอน  ลูกเสือ  สำรอง  แลสามัญ ศวค.
กำหนดการสอน ลูกเสือ สำรอง แลสามัญ ศวค.Somboon Inda
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1ดอย บาน ลือ
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)ดอย บาน ลือ
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญwatdang
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 

Viewers also liked (20)

ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก03 ประวัติลูกเสือโลก
03 ประวัติลูกเสือโลก
 
การบรรจุเครื่องหลัง
การบรรจุเครื่องหลังการบรรจุเครื่องหลัง
การบรรจุเครื่องหลัง
 
สาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือสาระสำคัญของการลูกเสือ
สาระสำคัญของการลูกเสือ
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
ประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลกประวัติลูกเสือโลก
ประวัติลูกเสือโลก
 
สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารีลูกเสือ-เนตรนารี
ลูกเสือ-เนตรนารี
 
การบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือการบริหารลูกเสือ
การบริหารลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
การประชาสัมพันธ์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กำหนดการสอน ลูกเสือ สำรอง แลสามัญ ศวค.
กำหนดการสอน  ลูกเสือ  สำรอง  แลสามัญ ศวค.กำหนดการสอน  ลูกเสือ  สำรอง  แลสามัญ ศวค.
กำหนดการสอน ลูกเสือ สำรอง แลสามัญ ศวค.
 
แผนลูกเสือล.ญ.ชั้น ม.2
แผนลูกเสือล.ญ.ชั้น ม.2แผนลูกเสือล.ญ.ชั้น ม.2
แผนลูกเสือล.ญ.ชั้น ม.2
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
005 บทที่ 5 วิชาชาวค่าย
 
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ป.6 (1)
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นParishat Tanteng
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นfon_parichat
 
วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31weerabong
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายMaMuiiApinya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2ทับทิม เจริญตา
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหาJoice Naka
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
 
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่นชิ้นงานแอนิเมชั่น
ชิ้นงานแอนิเมชั่น
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
วิทย์ม31
วิทย์ม31วิทย์ม31
วิทย์ม31
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
R24
R24R24
R24
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบซิมเปอร์ฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 

More from watdang

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติwatdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1watdang
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญwatdang
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]watdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหารwatdang
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองwatdang
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494watdang
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัยwatdang
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาwatdang
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือwatdang
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยwatdang
 
กิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือกิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือwatdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหารwatdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่นwatdang
 

More from watdang (16)

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
 
กิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือกิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือ
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10

  • 1. 180 แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 กลุมสาระการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ( ลูกเสือ ) สาระ การรูจกดูแลตนเอง ั ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 หนวยการเรียนรูที่ 1 การกางเต็นทและการเก็บเต็นท เวลา 1 ชั่วโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.สาระสําคัญ การเดินทางไกลและไปอยูคายพักแรม จําเปนตองมีเต็นท (กระโจม) สําหรับกางนอน ลูกเสือ  ตองรูจักการกางและการเก็บเต็นทนอนของตนเอง 2. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธีกางเต็นทเก็บเต็นทได 2. แสดงวิธีกางเต็นทเก็บเต็นทได 3. รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม 4. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน 3. สาระการเรียนรู การกางเต็นทในการอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท - เต็นทชนิดตาง ๆ - การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว ่ - การจัดการคาย 4. กิจกรรมการเรียนรู 4.1 พิธีเปดประชุมกอง ( ชักธงชาติ สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจผม แยก ) 10 นาที 4.2 เพลงคนมีปญญา 5 นาที 4.3 กิจกรรมการเรียนการสอน ( การบรรยาย , การสาธิต ) 4.3.1 แจงจุดประสงคการเรียนรู 4.3.2 ผูกํากับอธิบายและสาธิตการกางเต็นทชนิดตาง ๆ 4.3.3 ลูกเสือจับฉลากกิจกรรมการเรียนรู แลวออกไปศึกษาใบความรู และฝกปฏิบัติ กิจกรรมโดยมีรองผูกํากับดูแลชวยเหลือ หมูละ 10 นาที 4.3.3.1 กลุมที่ 1 เต็นทชนิดตาง ๆ 4.3.3.2 กลุมที่ 2 การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนทีพักชั่วคราว ่ 4.3.3.3 กลุมที่ 3 การจัดการคาย 4.3.4 ใหลูกเสือแตละหมูศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม จากบทเรียนสําเร็จรูป 
  • 2. 181 4.3.5 ลูกเสือนําผลงานจากการปฏิบัติกจกรรมเสนอตอที่ประชุมกองหมูละ ิ 5 นาที 4.3.6 ลูกเสือชวยกันสรุปโดยมีผูกํากับคอยชวยเหลือแนะนําเพิ่มเติม 4.4 ผูกํากับเลาเรื่องสั้นที่เปนคติ เรื่อง กบกับหนู 5 นาที 4.5 พิธีปดประชุมกอง ( นัดหมาย ตรวจเครื่องแตงกาย ชักธงลง เลิก ) 10 นาที 5. วัสดุอุปกรณ สื่อ และแหลงเรียนรู 5.1 ใบงานเรืองเต็นทชนิดตาง ๆ ่ 5.2 ใบความรูเ รื่องเต็นทชนิดตาง ๆ 5.3 ใบงานเรืองการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว ่ ่ 5.4 ใบความรูเ รื่องการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว ่ 5.5 ใบความรูเ รื่อง การจัดการคาย 5.6 ใบความรูเ รื่อง การจัดการคาย 5.7 บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 5.8 แผนภูมิเพลง 5.9 เรื่องสั้น 5.10 เต็นท 5.11 แบบทดสอบกอนเรียน 6.การวัดผลและประเมินผล 6.1 สิ่งที่วัด 6.1.1 ความรูความเขาใจในการกางเต็นทในการอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 6.1.2 การอยูคายพักแรม 6.2 วิธีการวัด 6.2.1 ปฏิบัติจริง 6.2.2 ตรวจผลงาน 6.3 เครื่องมือวัด 6.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการรวมกิจกรรมกลุม 6.4 เกณฑการประเมิน 6.4.1 ประเมินคาเปนระดับคุณภาพ ไดคะแนนระดับ 10 - 12 หมายถึง ดี (ผาน) ไดคะแนนระดับ 7 – 9 หมายถึง พอใช (ผาน) ไดคะแนนระดับ 4 - 6 หมายถึง ควรปรับปรุง (ไมผาน)
  • 3. 182 7.ขอเสนอแนะ ........................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 8.ความเห็นผูบริหาร  ความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูกับกําหนดการสอน ความสอดคลองของสาระการเรียนรูกับจุดประสงคการเรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู ความเหมาะสมของการวัดผลประเมินผล อื่นๆ ระบุ ใชสอนได ควรปรับปรุงกอนใชสอน ลงชื่อ................................................... ( นายอมร สดศรี ) ตําแหนง ผูอานวยการโรงเรียนวัดแดง ํ วันที่...............เดือน........................พ.ศ. ...............
  • 4. 183 บันทึกหลังสอน 1. ผลการสอน 1.1 ดานพุทธิพิสัย ( K ) ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 1.2 ดานทักษะพิสัย ( P ) ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 1.3 ดานจิตพิสัย ( A ) ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. ปญหา/ อุปสรรค ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 3. ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................ผูสอน ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ ) ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดแดง วันที่...........เดือน................................พ.ศ................
  • 5. 184 เพลงคนมีปญญา คนมีปญญาสรางบานไวบนศิลา (ซ้ํา 3 ครั้ง) เมี่อมีลมพายุพัดมา เมื่อฝนตกหนักและน้ําก็ไหลเชี่ยว (3 ครั้ง) บานของเขาก็ยังคงอยู คนโงสรางบานของเขาไวบนหาดทราย (ซ้ํา) เมื่อมีลมพายุพัดมา เมื่อฝนตกหนักและน้ําก็ไหลเชี่ยว (3 ครั้ง) บานของเขาก็พังลงทะเล (ที่มา : วาที่รอยโทสันต ยุวยุทธ ,2543 : 123)
  • 6. 185 ใบงานที่ 1 กลุมที่ 1 เรื่อง เต็นทชนิดตาง ๆ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธีกางเต็นทชนิดตางๆ และเก็บเต็นทได 2. แสดงวิธีกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได 3. รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม  4. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน วัสดุอุปกรณ 1. ใบความรู 2. เต็นท 3. บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเต็นทชนิดตาง ๆได 2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได 3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง 4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม เอกสารอางอิง อํานาจ ชางเรียน และคณะ ลูกเสือ – เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สมบูรณแบบ แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 7. 186 ใบความรูที่ 1 กลุมที่ 1 เรื่อง เต็นทชนิดตาง ๆ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธีกางเต็นทชนิดตางๆ และเก็บเต็นทได 2. แสดงวิธีกางเต็นทและเก็บเต็นทชนิดตาง ๆได 3. รวมฝกปฏิบัติกางเต็นทเก็บเต็นท และการสาธิตอยูคายพักแรม  4. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน เนื้อหา การกางเต็นทและการเก็บเต็นท เต็นท หมายถึงที่พักอาศัย ซึ่งสามารถเคลื่อนยายไปตามสถานที่ตาง ๆ ไดโดยมากเต็นทจะทํา ดวยผาใบหรือไนลอน ชนิดตาง ๆ ของเต็นท การเดินทางไกลและไปอยูคายพักแรม จําเปนตองมีเต็นท ( กระโจม ) สําหรับกางนอน เต็นทมี หลายชนิด มีทั้งเต็นทสําหรับนอนคนเดียว นอนสองคน หรือนอนหลายคน ซึ่งมีชื่อเรียกแตกตางกัน ไป เต็นทนาไปใชในคายพักแรม แบงเปนชนิดตาง ๆ ดังนี้ ํ 1. เต็นทอํานวยการ เปนเต็นทที่มีขนาดใหญ บรรจุคนไดหลายคน ซึ่งจะใชเปนที่ประชุมของ นายหมูหรือผูกํากับ 2. เต็นทหมู เปนเต็นทที่ใชสําหรับลูกเสือ พักรวมกันได 1 หมู 3. เต็นทบุคคล เปนเต็นทขนาดเล็กสําหรับพักไดเพียง 2 คน อุปกรณและสวนประกอบของเต็นท ในการใชเต็นทในการอยูคายพักแรม จะใชเต็นท 5 ชาย ซึ่งเหมาะสําหรับลูกเสือ จํานวน 2 คน ซึ่งเต็นท 5 ชาย จะใชเนื้อที่ในการกางไมมากและวิธีกางไมยุงยาก สวนประกอบของเต็นท 5 ชาย มีดังนี้ 1. ผาเต็นท 2 ผืน 2. เสาเต็นท 2 ชุด ( 2 เสา ) ชุดละ 3 ทอน ( 3 ทอนตอกันเปน 1 ชุด ) 3. สมอบก 10 ตัว ( หัว 1 ตัว ทาย 1 ตัว ชายดานลางดานละ 3 ตัวประตูหนา 1 ตัวและหลัง1ตัว )
  • 8. 187 4. เชือกยึดสมอบก 10 เสน ( เชือกยาวใชรั้งหัวทายเต็นท 2 เสน เชือกสั้นใชยึดชายเต็นท 6 เสน และประตูหนาหลัง 2 เสน ) วิธีกางเต็นท 5 ชาย ในการกางเต็นท 5 ชายมีขั้นตอนในการปฏิบัติและตองชวยกันกางเต็นท ดังนี้ 1. นําผาใบ 2 ผืน มาติดกระดุมเขาดวยกัน โดยใชดานที่ติดกระดุมเปนสวนของหลังคาเต็นท รูตาไกที่ซอนกันและอยูถัดจากกระดุม จะเปนที่ยึดเสาทั้ง 2 เสาสวนดานที่มีรูตาไกดานละ 3 รูจะเปน ชายดานลาง 2. นําเสาชุดที่ 1 มาเสียบที่รูหลังคาเต็นทและใหมีคนจับเสาไว 1 คน 3. คนที่ 2 จะเปนผูผูกเต็นทโดยใชเชือกยาว 1 เสน ยึดจากหัวเสาไปยังสมอบกดานหนาโดย ผูกดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดบนหัวเสาและใชเงื่อนกระหวัดไมหรือผูกรั้งกับสมอแลวใชเชือกสั้น 2 เสน ยึด ชายเต็นทเขากับสมอบก โดยใชผูกดวยเงื่อนปมตาไก ใหเต็นทกางออกเปนรูปหนาจั่ว 4. ใหคนที่ 2 ตอเสาที่ 2 เสียบเขากับรูหลังคาเต็นทอีกดานหนึ่งแลวจับเสาไว ใหคนที่ 1 ปลอยมือจากเสาที่ 1 แลวนําเชือกยาวเสนที่ 2 มายึดหัวเสาตนที่ 2 ดวยเงื่อนตะกรุดเบ็ดและลากไป ยึดกับสมอบกดวยเงื่อนกระหวัดไมหรือผูกรั้ง 5. ใหคนที่ 2 ปลอยมือจากเสาที่ 2 มาชวยกันยึดชายเต็นทที่เหลือใหเขากับสมอบก แลวปรับ ความดิ่งของเต็นทใหเรียบรอย 1 2 3 4 ขั้นตอนการกางเต็นท 5 ชาย ( ที่มา : หนังสือลูกเสือ เนตรนารี ป.5 มปป: 22 )
  • 9. 188 การรื้อเต็นท 5 ชาย เมื่อประสงคจะรื้อเต็นทหลังจากสิ้นสุดการพักแรม จะมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้ 1. แกเชือกที่รั้งเสาหัวทายกับสมอบกออก เต็นทก็จะลมลง 2. ถอดเสาเต็นทออกเปน 6 ทอน แลวเอามารวมกันไว 3. ถอนสมอบกทั้ง 10 ตัว ออกไปรวมกันไวกับเสาเต็นท 4. เก็บเชือกและแกเชือกตาง ๆ ใหเรียบรอยแลวนําไปรวมไวกับสมอบก 5. แกะกระดุมเต็นทออก เพื่อใหเต็นทแยกออกเปน 2 ผืน 6. ทําความสะอาดอุปกรณทุกชิ้น และเก็บผับผาเต็นทใหเรียบรอย 7. นําผาเต็นทและอุปกรณไปเก็บไวในที่เดียวกัน การพับเก็บเต็นท 5 ชาย เมื่อเก็บเต็นท โดยการแกะเชือกและรื้อถอนเสาเต็นท รวมทั้งถอนสมอบกเรียบรอยแลว ลูกเสือจะตองดําเนินการเก็บเต็นท โดยการพับใหเรียบรอย ขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลี่ผาเต็นทออก 2. พับปลายแหลมเขามาทั้ง 2 ขาง 3. นําเสา 3 ทอน สมอบก 5 ตัว เชือกทั้ง 4 เสน เชือกยาว 1 เสน ไปวางไวบนผา 4. พับชายผามาทับอุปกรณท่วางไว ี 5. พับผาดานขางเขามาทั้ง 2 ขางดานละ 1 ใน 3 6. มวนผาสวนที่เหลือใหแนน ถาจะใหดูเรียบรอยควรมวนทั้ง 2 ดานเขาหากัน ขั้นตอนการพับเต็นท 5 ชาย ( ที่มา : หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชาชาวคาย 2546 : 7 )
  • 10. 189 เต็นทสําเร็จรูป ในปจจุบน เต็นท 5 ชาย ไมนิยมนํามาใชในการเขาคายพักแรมของลูกเสือ แตนยมนําเอาเต็นท ั ิ แบบสําเร็จรูปมาใช เพราะสะดวกในการจัดเก็บ และงายในการนํามาใชงาน ( ที่มา : http://www.campinginter.com/)
  • 11. 190 ตัวอยางวิธีการกางเต็นทแบบงายๆ ที่จะทําใหรูสึกวาการกางเต็นทไมใชเรื่องยาก ตัวอยางทีมา ่ แสดงจะเปนการกางเต็นทโดม ถาเปนแบบอื่นๆ ก็สามารถนํามาประยุกตใชได 1. นําเต็นทและอุปกรณตางๆ ออกมาจากถุง ตรวจสอบวาอุปกรณครบถวน ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) 2. เริ่มดวยการติดตั้งโครงเต็นท โดยเอาบริเวณปลายของโครงเสียบกับตรงมุมเต็นท ซึ่งจะมีชอง สําหรับเสียบโครงเต็นทอยู หลังจากนันใหนําขอเกียวบริเวณตัวเต็นท นํามาเกียวกับตัวโครง ถึงขั้น ้ ่ ่ ตอนนี้เต็นทของคุณจะขึนเปนรูปไดแลว สําหรับบางรุนอาจจะตองมีการเอาตัวโครงมาสอดกับตัวเต็นท ้ ใหทะลุไปอีกดานหนึ่งแลวงอโครงโดยใหปลายทั้งสองขางเสียบเขาไปในชองที่มุมเต็นท ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) 3.หลังจากตั้งโครงแลวก็จะไดเต็นท ที่พรอมจะกางฟลายชีทได
  • 12. 191 ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) 4. ติดตั้งเสาสําหรับฟลายชีท โดยนําเสามาพาดกลางเต็นทและผูกตัวเสาฟลายชีทกับบริเวณกลางเต็นท ที่เสาโครงเต็นทสองดานตัดกัน ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) 5. ติดตั้งฟลายชีทโดยนําขอเกี่ยวของฟลายชีทเกี่ยวกับบริเวณมุมเต็นททง 2 ดาน แลวนําฟลายชีทมา ั้ พาดเสากลาง ( ที่มา :http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) 6. ติดตั้งฟลายชีทอีกดาน เมื่อเสร็จเรียบรอยก็จะไดเต็นทที่เสร็จสมบูรณ
  • 13. 192 เอกสารอางอิง กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ. ื http://www.campinginter.com/ http://www.mrbackpacker.com/gear/gear_7.html) แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 14. 193 การกางเต็นทการรื้อเต็นทและการพับเต็นทขนาดใหญสําหรับหมูลกเสือ หรือเต็นทสําเร็จรูป ู เต็นทขนาดใหญที่ใชสําหรับลูกเสือทั้งหมู จะมีขนาดใหญและมีน้ําหนักมากกวา เต็นท 5 ชาย แตถึงอยางไรก็สามารถพาไปไดสะดวก ซึ่งในการกางเต็นทชนิดนี้จะตองมีบริเวณกวางพอที่จะ กางเต็นทได สําหรับวิธีกางเต็นทชนิดนี้ก็ไมยุงยากนักเพียงใชลูกเสือ 2 คน ก็สามารถกางเต็นทได สวนประกอบของเต็นทขนาดใหญ 1. ผาเต็นท 1 ชุด 2. เสาเต็นท 2 ชุด แตละชุดมี 3 ทอน นํามาตอเปนเสา 1 เสา 3. สมอบก 12 ตัว ใชสําหรับยึดพื้น 4 ตัว ยึดชายหลังคา 6 ตัว หัว 1 ตัว และทาย 1 ตัว 4. เชือกสําหรับยึดสมอ 8 เสน ทุกเสนมัดติดกับแผนเหล็กสําหรับปรับความตึง หยอน ของเชือกโดยเชือก 6 เสน โดยยึดชายหลังคาและเชือกยาวอีก 2 เสน ใชรั้งหัว ทายเต็นท วิธีการกางเต็นทขนาดใหญ 1. ยึดพื้นของเต็นททั้ง 4 มุม ดวยสมอบก 4 ตัว 2. นําเสาชุดที่ 1 มาเสียบที่รหลังคาเต็นท ใหคนที่ 1 จับไว ู 3. ใหคนที่ 2 ใชเชือกยาว 1 เสน ยึดจากหัวเสาไปยังสมอบกดานหนา โดยผูกดวยเงื่อน ตะกรุดเบ็ดหรือกระหวัดไมแลวใชเชือก 2 เสนยึดชายเต็นทกับสมอบกใหเต็นทกางออกเปนรูปหนาจั่ว 4. คนที่ 2 เดินออมไปอีกดานหนึ่งตอเสาที่ 2 เสียบเขากับรูหลังคาเต็นทอีกดานหนึ่งแลวจับ เสา ไว คนที่ 1 นําเชือกนําเชือกยาวเสนที่ 2 มาผูกยึดกับเสาที่ 2 ไปยังสมอบกดานหลัง 5. คนที่ 1 และ 2 ชวยกันใชเชือกยึดชายหลังคาเต็นทจุดที่เหลือเขากับสมอบกแลวปรับความ ตึง หยอนของเต็นทใหเรียบรอย การกางเต็นทขนาดใหญ ( ที่มา : หนังสือประกอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชุดวิชาชาวคาย 2546 : 8 )
  • 15. 194 การรื้อเต็นทขนาดใหญ การรื้อเต็นทขนาดใหญมีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้ 1. แกเชือกที่รื้อเสาเต็นทหัวทายกับสมอบกออก เต็นทก็จะลมลง 2. ถอดเสาเต็นทออกเปน 6 ทอน แลวเอามารวมกัน 3. ถอดสมอบกทั้ง 12 ตัว ไปรวมกันไวกับเสาเต็นท 4. เก็บเชือกและแผนปรับความตึง ซึ่งประกอบดวยเชือกสั้น 6 เสน และยาว 2 เสน แผน ปรับความตึง 8 อัน 5. ทําความสะอาดเต็นทแลวนําไปเก็บ การพับเต็นทขนาดใหญ 1. คลี่เต็นทใหพื้นเต็นทกางออก จัดหลังคาเต็นทใหเรียบรอย 2. พับชายดานขางเต็นทเขามา โดยพับเปน 4 ชาย 3. พับครึ่งความยาว 4. พับสวนที่เหลือใหไดขนาดพอเหมาะที่จะนําไปใสถุงเต็นท 5. บรรจุอุปกรณลงในถุงเล็กแลวนําไปใสถุงใหญอีกครั้งหนึ่ง
  • 16. 195 ใบงานที่ 2 กลุมที่ 2 เรื่อง การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว ่ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธีดดแปลงวัสดุเพือทําเปนที่พักชั่วคราวได ั ่ 2. ดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชั่วคราวได ั 3. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน วัสดุอุปกรณ 1. ใบความรู 2. ผา 3. ซังขาว ใบไม ใบหญา 4. เชือก 5. บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเกี่ยวกับการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พักชัวคราว ่ 2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมการดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนทีพักชั่วคราว ่ 3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง 4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม เอกสารอางอิง กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ. ื แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 17. 196 ใบความรูที่ 2 กลุมที่ 2 เรื่อง การดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชัวคราว ั ่ จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายวิธีดดแปลงวัสดุเพือทําเปนที่พักชั่วคราวได ั ่ 2. ดัดแปลงวัสดุเพื่อทําเปนที่พกชั่วคราวได ั 3. รวมกิจกรรมดวยความสนใจและกระตือรือรน เนื้อหา การดัดแปลงวัสดุทําเปนที่พักชั่วคราว 1. นําผาหมหรือผาขาวมาใชดัดแปลงเปนหลังคาที่พัก โดยใชไมพลองหรือกิ่งไมเปน สวนประกอบ 2. นําซังขาว ใบไม ใบหญา มาทําเปนหลังคาเพิงพักกันแดดและกันลม โดยใชไมพลอง กิ่ง ไม เชือก มาเปนสวนประกอบทําเปนรูปเพิงพัก 3. บริเวณที่อยูระหวางตนไมลอมรอบ เชน กลุมตนไมไผที่มี ทิศทางเขาออกเฉพาะ สามารถปดกวาด ตกแตงดัดแปลงเปนที่พักได 4. บริเวณเพิงพักหรือถ้ําที่อากาศถายเทสะดวก ดัดแปลงเปนที่พักกันแดด กันลม กันฝน และ ใชเปนที่พกแรมได ั เอกสารอางอิง กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ. ื แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 18. 197 ใบงานที่ 3 กลุมที่ 3 เรื่อง การจัดการคาย จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายถึงหลักการเลือกที่ตั้งคายพักแรมได 2. เลือกที่ตั้งคายพักแรมไดเหมาะสมตามลักษณะภูมิประเทศ 2. รวมกิจกรรมดวยความสนใจ วัสดุอุปกรณ 1. ใบความรู 2. บทเรียนสําเร็จรูปการกางเต็นทและการอยูคายพักแรม ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ลูกเสือศึกษาใบความรูเกี่ยวกับการเลือกที่ตั้งคายพักแรมตามลักษณะภูมประเทศ ิ 2. รวมกันปฏิบัติกิจกรรมการเลือกที่ตั้งคายพักแรม 3. ตัวแทนออกมาสรุปหนาที่ประชุมกอง 4. ผูกํากับสรุปและแนะนําเพิ่มเติม เอกสารอางอิง กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ. ื http://www.trueplookpanya.com แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 19. 198 ใบความรูที่ 3 กลุมที่ 3 เรื่อง การจัดการคาย จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายถึงหลักการเลือกที่ตั้งคายพักแรมได 2. เลือกที่ตั้งคายพักแรมไดเหมาะสมตามลักษณะภูมิประเทศ 2. รวมกิจกรรมดวยความสนใจ เนื้อหา การจัดคายพักแรม กอนตั้งคายพักแรม ควรมีการศึกษาลักษณะพืนที่ภูมิประเทศใหดีเสียกอน โดยพิจารณาความ ้ เหมาะสมจากสิ่งตอไปนี้ 1. ควรอยูบนที่สูงหรือเชิงเขาเวลาฝนตกมีทางระบายน้าออกอยางรวดเร็วทําใหไมมน้ําขังใน ํ ี บริเวณคาย หรือมิฉะนั้นควรตั้งคายบริเวณที่เนื้อดินเปนดินปนทราย เพื่อใหน้ําซึมลงใตพื้นดินได รวดเร็วขึน้ 2. ไมควรอยูใกลสถานที่ที่มีคนพลุกพลาน เชน สถานที่ตากอากาศ 3. ไมควรตั้งอยูใกลถนนหรือทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุไดงาย 4. ไมควรตั้งเต็นทอยูใกลตนไมใหญ เพราะเมื่อเกิดลมพายุตนไมอาจหักโคนลงมาทําใหเกิด อันตรายได 5. สถานที่ตั้งคาย ควรมีน้ําดื่มน้ําใชอยางเพียงพอ แตไมควรอยูใกลแมนํ้า ลําคลอง หนอง บึง อาจเกิดอุบัติเหตุได 6. สถานที่ตั้งคาย ไมควรอยูไกลจากตลาดมากนัก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการไปซื้อกับขาว และไมควรอยูไกลจากสถานีอนามัยหรือสถานพยาบาลมากนัก เพื่อวาเมื่อเกิดการเจ็บปวย หรือเกิด อุบัติเหตุรายแรง จะไดชวยเหลือไดทันทวงที  7. ควรอยูในสถานที่ปลอดภัยจากสถานที่เสี่ยงอันตราย ไดแก สถานที่ที่มีสถิติการเกิด อาชญากรรมสูง เปนแหลงอาศัยของสัตวราย
  • 20. 199 เอกสารอางอิง กองการลูกเสือ,กระทรวงศึกษาธิการ. คูมอนักเดินทางไกล ลูกเสือสามัญรุนใหญ. ื http://www.trueplookpanya.com แหลงศึกษาคนควาเพิ่มเติม 1. หองลูกเสือ 2. หองสมุด 3. บทเรียนสําเร็จรูป การอยูคายพักแรมและการเก็บเต็นท 
  • 21. 200 เรื่องสั้น เรื่องกบกับหนู หนูแกตัวหนึ่งเดินทางรอนแรมมาจนถึงลําธารที่ชายปา หนูตองการขามไปยังฝงตรงขามจึงเขา ไปหาเจากบตัวนอยที่ริมธารแลวเอยขอใหกบชวยพาไปยังลําธารตรงกันขาม กบนอยมองหนูแลว ปฏิเสธอยางสุภาพวา “โธ ฉันตัวเล็กนิดเดียวแลวจะพาทานขามไปไดอยางไรกันจะ” หนูไมยอมกลับ อางวาตนเปนสัตวอาวุโสกวา ถากบไมชวยตนก็จะไปปาวประกาศใหสรรพสัตวทั้งหลายรูถึงความใจดํา ของกบ เมื่อถูกขูเชนนั้น กบจึงตองจําใจยอมใหหนูเอาเทาผูกกับเทาของตนแลวพาขามลําธารไป แต พอวายน้ําไปไดแคครึ่งทางเทานั้นกบก็หมดแรง กอนที่ทั้งคูจะจมน้ําตาย เหยี่ยวตัวหนึ่งก็โฉบลงมาจิก เอาทั้งกบและหนูไปกิน นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา การคิดเอาประโยชนจากผูอื่นทีไมสามารถใหไดยอมมีแตจะเสียหาย ่ ทั้งหมด ( ที่มา : สนั่น เกตุชาติ. แผนการสอนกิจกรรมลูกเสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปที่ 5, 2531)
  • 22. 201 แบบสังเกตและตรวจหมูลูกเสือ  หมูลูกเสือ ........................................... สาระการเรียนรูเรื่อง................................................................................................ ลําดับที่ รายการ ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 หมาย เหตุ 1. การตรวจอุปกรณการเรียน 2. ความรวมมือในกิจกรรม เพลง / เกม 3. วิชาการ 4. การตรวจเครื่องแตงกาย เกณฑการประเมิน 1. การสังเกตการตรวจอุปกรณ - อุปกรณครบทุกอยาง ระดับ 3 คะแนน ดีมาก - อุปกรณเกินครึ่งหนึ่งของหมู ระดับ 2 คะแนน ดี พอใช - อุปกรณไมถงครึ่งของหมู ึ ระดับ 1 คะแนน ปรับปรุง 2. ความรวมมือในกิจกรรม เพลง / เกม - ใหความรวมมือทุกคนและกระตือรือรน ระดับ 3 คะแนน ดีมาก - ใหความรวมมือแตบางคนไมคอยใหความสนใจ ระดับ 2 คะแนน ดี พอใช - ใหความรวมมือครึ่งหนึ่งและขาดความตั้งใจ ระดับ 1 คะแนน ปรับปรุง 3. วิชาการ - สรุปใจความเรื่องที่เรียนครบถวน ระดับ 3 คะแนน ดีมาก - สรุปใจความแตขาดความสมบูรณเล็กนอย ระดับ 2 คะแนน ดี พอใช - สรุปใจความแตขาดความสมบูรณของเรื่อง ระดับ 1 คะแนน ปรับปรุง 4. การตรวจเครื่องแตงกาย - แตงกายเรียบรอยทุกคน ระดับ 3 คะแนน ดีมาก - แตงกายเรียบรอยครึ่งหนึ่ง ระดับ 2 คะแนน ดี พอใช - แตงกายเรียบรอยไมถึงครึ่งของหมู ระดับ 1 คะแนน ปรับปรุง
  • 23. 202 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ชื่อ .............................................................หมู. ............................................ ลําดับ รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ปรับปรุง ที่ 5 4 3 2 1 1. ความซื่อสัตย 2. ความกลาหาญ 3. ความอดทน 4. ความมีระเบียบวินยั 5. ความเชื่อมั่นในตนเอง เกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ระดับ ดีมาก 5 คะแนน ปฏิบัติตนสม่ําเสมอจนเปนนิสย ั ระดับ ดี 4 คะแนน ปฏิบัติตนดี แตมีบางครั้งตองมีผูแนะนํา ระดับ ปานกลาง 3 คะแนน ปฏิบัติบางครั้งดวยตนเองและในขณะที่ ควบคุมและมีผูแนะนํา ระดับ พอใช 2 คะแนน ปฏิบัติดวยตนเองนอยครั้ง ระดับ ปรับปรุง 1 คะแนน ไมปฏิบัติ
  • 24. 203 แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม ั เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว 3 เต็นท ได 5 คะแนน ดีมาก กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว 2 เต็นท ได 4 คะแนน ดี กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองและรวดเร็ว 1 เต็นท ได 3 คะแนน ปานกลาง กางเต็นทและเก็บเต็นท ไดถูกตองแตชา 1 เต็นท ได 2 คะแนน พอใช กางเต็นทและเก็บเต็นท ไมถกตอง ู 1 เต็นท ได 1 คะแนน ปรับปรุง ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน เต็นทชนิดตาง ๆ ผลการประเมิน ที่ ชื่อ สกุล 5 4 3 2 1 ผาน ไมผาน ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
  • 25. 204 แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม ั เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดมั่นคงเหมาะสมกับงาน ได 5 คะแนน ดีมาก นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดมั่นคงไมเหมาะสมกับงาน ได 4 คะแนน ดี นําวัสดุมาดัดแปลงประยุกตไดไมมั่นคงเหมาะสมกับงาน ได 3 คะแนน ปานกลาง ไมไดดดแปลงวัสดุมาประยุกตใช มั่นคง เหมาะสมกับงาน ได 2 คะแนน ั พอใช ไมไดดดแปลงวัสดุมาประยุกตใช มั่นคงไม เหมาะสมกับงาน ได 1 คะแนน ั ปรับปรุง ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน การดัดแปลงวัสดุเพื่อ ผลการประเมิน ที่ ชื่อ สกุล ทําเปนที่พักชัวคราว ่ 5 4 3 2 1 ผาน ไมผาน ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )
  • 26. 205 แบบประเมินผลการปฏิบติกิจกรรม ั เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว 5 ขอ ได 5 คะแนน ดีมาก การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว 5 ขอ ได 4 คะแนน ดี การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว 5 ขอ ได 3 คะแนน ปานกลาง การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว 5 ขอ ได 2 คะแนน พอใช การจัดการคาย ไดถูกตองและรวดเร็ว 5 ขอ ได 1 คะแนน ปรับปรุง ตองไดระดับปานกลางขึ้นไปจึงจะถือวาผาน การจัดการคาย ผลการประเมิน ที่ ชื่อ สกุล 5 4 3 2 1 ผาน ไมผาน ( ลงชื่อ ).......................................ผูประเมิน ( นางวรรดี พูลสวัสดิ์ )