SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
ประเภทของวรรณกรรม
สาขาวิชา : ภาษาไทย
รายวิชา : ท ๔๐๑๐๓ วรรณวินจ ิ
ชันมัธยมศึกษาปีที่ : ๕/๖
  ้
ครูผสอน : นางสิรลกขณ์ หลงขาว
    ู้              ิั
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
สมาชิกในกลุม
                                  ่
๑.   นางสาวธัญรมณ      มณีรัตน์ เลขที่ ๒
๒.   นางสาวชญานิษฐ์   ชูแข         เลขที่ ๕
๓.   นางสาวธัญชนก     รักแก้ว       เลขที่ ๑๕
๔.   นางสาวอัญชิษฐา   วิภูษิตวรกุล เลขที่ ๑๗
                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๖
ประเภทของวรรณกรรม
         วรรณคดี เป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม แม้จะมีความแตกต่าง
   บ้าง
ก็ตาม แต่เมื่อกล่าวถึงประเภทของวรรณกรรม ก็จะกล่าวถึง ประเภทของ
วรรณคดี ด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง ได้ มี ผู้ เ ขี ย นได้ แ บ่ ง ประเภท ตามเกณฑ์ แ ละ
   ลักษณะ
ต่าง ๆ มากมาย ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ
๑.วรรณกรรมร้อยแก้ว คือ วรรณกรรมที่ไม่กาหนดบังคับคาหรือฉันท
  ลักษณ์ เป็นความเรียงทั่วไป การเขียนในลักษณะนี้ยังแบ่งย่อยออกเป็น
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                        แก้ว)
๑.๑ บันเทิงคดี (Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความเพลิดเพลินแก่
   ผู้อ่านเป็นประการสาคัญ และให้ข้อคิด คตินิยม หรือ สอนใจ แก่
   ผู้ อ่ า นเป็ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ร อง ดั ง ที่ ม.ล. บุ ญ เหลื อ เทพยสุ ว รรณ
   (2518 : 9) กล่ า วว่ า บั น เทิ ง คดี เป็ น วรรณกรรมที่ ผู้ ป ระพั น ธ์ มี
   จุดประสงค์ที่ให้ความเพลิดเพลิน แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าบันเทิง
   คดีเป็นวรรณกรรมที่ไร้สาระ บันเทิงคดีอาจมีสาระในด้านปรัชญา ด้าน
   ความเข้าใจการเมือง หรือประวัติศาสตร์ดีกว่าหนังสือสารคดีบางเรื่อง
   ก็ได้ วรรณกรรม ประเภทนี้ผู้ประพันธ์มุ่งหมายให้ความบันเทิง ต้อง
   กระทบอารมณ์ผู้อ่าน มิใช่สาหรับให้ผู้อ่านได้ความรู้หรือความคิดเห็น
   บันเทิงคดีสามารถจาแนกย่อยได้ดังนี้
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                    ๑.๑.๑ นวนิยาย (Novel) คือ การเขียน
                       ผูกเรื่องราวของชีวิตอันมีพฤติกรรม
                       ร่ ว มกั น มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ใน
  ๑.๑.๑ นวนิยาย        ลั ก ษณะจ าลองสภาพชี วิ ต ของ
     (Novel)           สั ง คมส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใด โดยมี
                       ความมุ่งหมายให้ความบันเทิงใจแก่
                       ผู้ อ่ า น คื อ ให้ ผู้ อ่ า นเกิ ด สะเทื อ น
                       อารมณ์ ไ ปกั บ เนื้ อ เรื่ อ งอย่ า งมี
                       ศิลปะ
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                   ๑.๑.๒ เรื่องสั้น (Short Story) คือ การเขียน
                      เรื่องจาลองสภาพชีวิตในช่วงสั้น คือมุมหนึ่ง
                      ของชีวิต หรือเหตุการณ์หนึ่ง หรือช่วงระยะ
  ๑.๑.๒ เรืองสัน
           ่ ้        หนึ่งของชีวิต เพื่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ
  (Short Story)       ผู้อ่าน หรือ นิยามอีกอย่างหนึ่ง ว่า เรื่องสั้น
                      คือ วิกฤตการณ์ชุดหนึ่ง มีความสัมพันธ์สืบ
                      เนื่องกัน และนาไปสู่จุดยอดหนึ่ง (Climax)
                      ( ธวัช บุณโณทก 2537 : 12)
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                        ๑.๑.๓ บทละคร (Drama) คือการ
                           เขียนที่ใช้ประกอบการแสดงเพื่อให้
 ๑.๑.๓ บทละคร (Drama)
                           เกิดความบันเทิง เช่น บทละครวิทยุ
                           บทละครพูด และบทละคร
                           โทรทัศน์ เป็นต้น
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                    แก้ว)
๑.๒ สารคดี (Non-Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู้ หรือ ความคิด เป็น
  คุณประโยชน์สาคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบายเชิงวิจารณ์ เชิงพรรณนาสั่งสอน
  โดยอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างมีระบบมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้ เพื่อ
  มุ่งตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นให้แก่ผู้อ่าน และก่อให้เกิดคุณค่าทาง
  ปัญญาแก่ผู้อ่าน ซึ่ง ธวัช ปุณโณทก ( 2527 : 11 ) ได้แบ่งย่อยดังนี้
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                          ๑.๒.๑ ความเรียง (Essay) คือ การ
                             ถ่ายทอดความรู้ อาจจะได้มาจาก
                             การประสบ หรือตาราวิชาการ มาเป็น
๑.๒.๑ ความเรียง (Essay)      ถ้อยความตามลาดับขั้นตอนเพือให้  ่
                             ผู้อ่านเข้าใจตามความรู้ ความคิดที่
                             ผู้เขียนเสนอมา บางครั้งมีผู้เรียกว่า
                             "สารคดีวิชาการ"
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                           ๑.๒.๒ บทความ ( Article) คื อ
                           ความคิดเห็นของผู้เขียนต่อเรื่องราว
                           ที่ประสบมาหรื อ ต่ อ ข้ อ เขี ย นของ
 ๑.๒.๒ บทความ ( Article)   ผู้อื่น หรือต่อเหตุการณ์อย่างหนึ่ง
                           อย่ า งใด ในการเขี ย นบทความ
                           ผู้ เ ขี ย นมุ่ ง ที่ จ ะบอกถึ ง ความเห็ น
                           ความรู้ สึกนึ กคิ ด มากกว่ าที่ จ ะถ่ า ย
                           ถอดความรู้เหมือนความเรียง
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                    แก้ว)
                     ๑.๒.๓ สารคดีทองเทียว ( Travelogue) คือ การ
                                       ่ ่
๑.๒.๓ สารคดีทองเทียว บันทึกการท่องเที่ยวและเรื่องราวต่าง ๆ ที่ประสบ
             ่ ่
 ( Travelogue)         พบเห็นขณะที่ท่องเที่ยวไป โดยมุ่งที่จะให้
                       ความรู้แก่ผู้อ่านและให้ความเพลิดเพลินด้ว
                    ๑.๒.๔ สารคดีชีวประวัติ (Biography) คือ การ
๑.๒.๔ สารคดี           บันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคลิกภาพหนึ่งมุง  ่
ชีวประวัติ             ที่จะให้เห็นสภาพชีวิตประสบการณ์ของ
(Biography)            บุคลิกภาพนั้นทุกแง่ทุกมุม แต่ไม่ใช่
                       ประวัติศาสตร์ และนิยาย
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                   แก้ว)
                      ๑.๒.๕ อนุทน (Diary) คือการบันทึก
                                  ิ
                         ประจาวันที่เกิดขึ้นแก่ตนเอง จะเป็น
                         การบันทึกความรู้สึกนึกคิดของ
๑.๒.๕ อนุทน (Diary)
          ิ              ตนเองในประจาวัน หรืออาจจะ
                         บันทึกประสบการณ์ใน
                         ชีวิตประจาวัน หรือบันทึกเหตุการณ์
                         ในชีวิตประจาวัน โดยมีจุดมุ่งหมาย
                         เพื่อเตือนความจา
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                    แก้ว)
                              ๑.๒.๖ จดหมายเหตุ ( Archive) คือ
                                 การบันทึกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ของ
                                 ทางราชการ หรือบันทึกเหตุการณ์
๑.๒.๖ จดหมายเหตุ ( Archive)      สาคัญ ๆ ของสถาบัน หน่วยงาน
                                 หรือตระกูล โดยมีความมุ่งหมาย
                                 เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานเชิงประวัติ
                                 เหตุการณ์ของชาติ หรือของสถาบัน
                                 หรือหน่วยงานราชการ หรือของ
                                 ตระกูล
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ
๒. วรรณกรรมร้อยกรอง คือ วรรณกรรมที่การเขีย นมีการบังคั บ
  รูป แบบด้ ว ยฉั น ทลัก ษณ์ ต่ า งๆ เช่ น บั งคั บคณะ บัง คั บ ค า และแบบ
  แผนการส่งสัมผัสต่าง ๆ บางครั้งเรียกงานเขียนประเภทนี้ว่า กวีนิพนธ์
  หรือ คาประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต เป็นต้น
  นอกจากนี้วรรณกรรมร้อยกรองยังแบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ ดังนี้
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                     กรอง)
๒.๑ วรรณกรรมประเภทบรรยาย (Narrative) คือ วรรณกรรมร้อยกรองที่มี
     โครงเรื่อง ตัวละคร และเหตุการณ์ต่าง ๆ ผูกเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกันไป เช่น
     ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี อิเหนา เป็นต้น
 ๒.๒ วรรณกรรมประเภทพรรณา หรือ ราพึงราพัน ( Descriptive or
 Lyrical)
 มักเป็นบทร้อยกรองที่ผู้แต่งมุ่งแสดงอารมณ์ส่วนตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่มี
 โครง
 เรื่อง เช่น นิราศ และเพลงยาว เป็นต้น (ประทีป เหมือนนิล . 2519 : 22-
 23.)
๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย
                    กรอง)
๒.๓ วรรณกรรมประเภทบทละคร (Dramatic) เป็นบทร้อยกรองสาหรับการอ่าน
   และใช้เป็นบทสาหรับการแสดงด้วย เช่น บทพากย์โขน บทละครร้อง บทละคร
   รา เป็นต้น
๒. แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่อง มี ๒ ประเภท คือ
๑. วรรณกรรมบริสทธิ์ (Pure Literature) หมายถึง วรรณกรรมที่แต่งขึ้นจาก
                    ุ
    อารมณ์สะเทือนใจต่าง ๆ ไม่มจุดมุ่งหมายที่จะให้วรรณกรรมนั้น ทรงคุณค่า
                                  ี
    ในทางใดเป็นพิเศษ แต่วรรณกรรมนั้นอาจจะล้าค่า ในสายตาของนักอ่านรุ่น
    หลังๆ ก็เป็นได้ แต่มได้เป็นเจตจานงแท้จริงของผู้แต่ง ผู้แต่งเพียงแต่จะแต่งขึ้น
                        ิ
    ตามความปรารถนาในอารมณ์ของตนเองเป็นสาคัญ
๒. แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่อง มี ๒ ประเภท คือ
๒. วรรณกรรมประยุกต์ (Applied Literature) หมายถึงวรรณกรรมที่แต่งขึ้น
   โดยมีเจตจานงที่สนองสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจเกิดความบันดาลใจทีจะสืบทอด
                                                               ่
   เรื่องราวความชื่นชมในวีรกรรมของผู้ใดผูหนึ่งนั่นหมายถึงว่า มีเจตนาจะเขียน
                                            ้
   เรื่องราวขึ้นเพื่อประโยชน์อย่างหนึ่ง หรือมีจุดมุงหมายในการเขียนชัดเจน มิใช่
                                                   ่
   เพื่อสนองอารมณ์อย่างเดียว เช่น วรรณกรรมประวัติศาสตร์ วรรณกรรมการ
   ละคร และอาจหมายรวมถึงพงศาวดารต่าง ๆ ด้วย (สมพร มันตะสูตร 2526
   : 6)
๓. แบ่งตามลักษณะการถ่ายทอด มี ๒ ประเภท คือ
๑. วรรณกรรมมุขปาฐะ หมายถึง วรรณกรรมที่ถา่ ยทอดโดยการบอก การเล่า และ
   การขับร้อง ไม่ว่าจะเป็นในโอกาสหรือในวาระใด เช่น ในการนอน การเต้น การ
   รา หรือพิธีกรรมต่าง ๆ
   วรรณกรรมมุขปาฐะมีปรากฏมานาน จึงมีอยู่ทุกภูมิภาคของโลก การที่เป็น
   เช่นนี้ก็เพราะวรรณกรรมประเภทนี้เป็นผลสืบเนื่องจากภาษาของมนุษย์ เมื่อ
   มนุษย์มีภาษาพูดก็ย่อมมีโอกาสถ่ายทอดจิตนาการและอารมณ์ได้มากขึ้น
   ประกอบกับภาษาพูดสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายและเร็วกว่าภาษาเขียน ดังนั้น
   วรรณกรรมมุขปาฐะจึงมีมาก และมีมานานกว่าวรรณกรรมประเภทอื่น
๓. แบ่งตามลักษณะการถ่ายทอด มี ๒ ประเภท คือ
๒. วรรณกรรมลายลักษณ์ หมายถึง วรรณกรรมที่ถ่ายทอดโดยการเขียน การจาร และการ
    จารึก ไม่ว่าจะเป็นการกระทาลงบนวัสดุใด ๆ เช่น กระดาษ เยื่อไม้ ใบไม้ แผ่นดินเผา หรือ
    ศิลา
    วรรณกรรมลายลักษณ์เป็นวรรณกรรมที่พัฒนาสืบต่อมาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ
    กล่าวคือ เกิดขึ้นในยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักใช้สัญลักษณ์หรือตัวอักษร เพื่อบันทึกความในใจ
    ความรู้สึก และความคิดเห็นของตน เพื่อถ่ายทอกให้ผู้อื่นรับรู้นั่นเอง และเนื่องจาก
    ตัวอักษรเป็นเครื่องมือบันทึกที่สื่อสารกันได้กว้างไกลและยั่งยืน มนุษย์จึงสร้าง
    วรรณกรรมประเภทนี้กันอย่างกว้างขว้างในทุกภูมิภาคของโลกขณะเดียวกันก็พัฒนา
    เทคนิคและรูปแบบการสร้างวรรณกรรมให้เจริญมาเป็นลาดับ วรรณกรรมลายลักษณ์จึง
    กลายเป็นมรดกที่มนุษยชาติไม่อาจปฏิเสธได้ (ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. 2525 : 25)
๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน
    วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ
๑. วรรณคดีนิราศ วรรณคดีประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นการเขียนในทานอง
    บันทึกการเดินทาง การพลัดพราก การคร่าครวญเมื่อต้องไกลทีอยู่อาศัย คน
                                                               ่
    รักหรือสิ่งรัก การเขียนในเชิงนิราศนี้มีรูปแบบโดยเฉพาะ เป็นวรรณคดีที่กวี
    นิยมเขียนกันมาก มีวรรณคดีมากมายหลายเรื่อง เช่น กาสรวลศรีปราชญ์ ทวา
    ทศมาส นิราศของสุนทรภู่ นิราศของพระยาตรัง นิราศนรินทร์ เป็นต้น
๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน
   วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ
๒. วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ เป็นวรรณคดีในเชิงประวัติศาสตร์การบันทึก
   เหตุการณ์แผ่นดินในทานองสรรเสริญพระเกียรติของพระมหากษัตริย์
   วรรณคดี ประเภทนี้มีปรากฏอยู่ในวรรณคดีเป็นจานวนมากมาย เช่น ลิลิตยวน
   พ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย เพลงยาวเฉลิมพระเกียติร และโคลงเฉลิมพระเกียรติ
   ต่าง ๆ รวมทั้งวรรณคดีประเภทที่ต้องการบันทึกเรื่องราวสาคัญบางประการ เช่น
   โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นต้น
๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน
    วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ
๓. วรรณคดีศาสนา วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทั้ง
   โดยตรงและโดยทางอ้อม คือ มีอิทธิพลมาจากความเชื่อทางศาสนา เช่น
   มหาชาติฉบับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิฉบับต่าง ๆ
   รวมทั้งวรรณคดีจากชาดก ทั้งนิบาตชาดกและปัญญาสชาดก นันโทปทสูตรคา
   หลวง พระมาลัยคาหลวง เป็นต้น
๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน
    วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ
๔. วรรณคดีทเี่ กียวกับพิธการขนบธรรมเนียมประเพณี เนื้อหาของวรรณคดี
                 ่       ี
   ประเภทนี้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี หรือ พิธีการต่าง ๆ เช่น ตารานาง
   นพมาศ พระราชพิธีสิบสองเดือน ฯลฯ

๕. วรรณคดีสุภาษิต วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับคาสอน ข้อเตือนใจ เช่น
   กฤษณาสอนน้องคาฉันท์ สุภาษิตพระร่วง โคลงราชสวัสดิ์ อิศรญาณภาษิต
   เป็นต้น
๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน
    วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ
๖. วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี วรรณคดีประเภทนี้นาไปใช้แสดงละคร
   หรือการแสดงทางนาฏศิลป์ในลักษณะอื่น เช่น เรื่องอิเหนา รามเกียรติ์ สังข์
   ทอง ไกรทอง เป็นต้น

๗. วรรณคดีนยาย วรรณคดีประเภทนี้ถ้าเขียนเป็นการประพันธ์ประเภทกลอนจะ
              ิ
   เรียกว่ากลอนประโลมโลกย์ วรรณคดีนิยายนี้มีทงไม่เขียนเป็นกลอน เช่น
                                              ั้
   ลิลิตพระลอ และที่เขียนเป็นกลอน เช่น พระอภัยมณี เสภาขุนช้าง - ขุนแผน
   เป็นต้น
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                      ประเภท คือ
๑. วรรณกรรมอันเกิดจากการบอกเล่า หมายถึง วรรณกรรมที่บันทึกหรือถ่ายทอด
   จากผู้รู้ ผู้คงแก่เรียน หรือนักปราชญ์แต่ละสาขาของความรู้ วรรณกรรมจาก
   บุคคลเหล่านี้จึงเป็นวรรณกรรมที่เรียกกันว่า "ตารา" วรรณกรรมประเภทนี้
   อาจจะสมบูรณ์ถูกต้องหรือไม่ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความเชื่อถือและ
   การพิสูจน์ โดยกรรมวิธีต่าง ๆ แต่โดยทั่วไปก็มักเชื่อโดยอนุโลมว่าเป็นความรู้ที่
   ถูกต้อง น่าเชื่อถือได้
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                      ประเภท คือ
๒. วรรณกรรมอันเกิดจากญาณทัศน ์ หมายถึงวรรณกรรมที่เกิดจาการหยั่งรู้โดย
   ญาณ ซึ่งหมายถึง ปัญญา การหยั่งรู้ อาจจะเกิดจากการครุ่นคิด ไตร่ตรอง เพื่อหา
   คาตอบ เรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อให้พ้นสงสัย แล้วจู่ ๆ ก็เกิดความรู้ในเรื่องนั้นผุด
   ขึ้นในความคิดและได้คาตอบโดยไม่คาดฝัน จากคาตอบนั้นจึงได้นามาบันทึก
   เ ป็ น ว ร ร ณ ก ร ร ม เ ร า เ รี ย ก จ า ก
   วรรณกรรมนี้ว่า วรรณกรรมอันเกิดญาณทัศน์ ในบางกรณีเมื่อมีแรงดลใจหรือ
   จินตนาการบางอย่าง ก็อาจเกิดการหยั่งรู้ขึ้น ความรู้ที่เกิดจากญาณทัศน์นี้ นับเป็น
   จุดกาเนิดจองความรู้เชิงปรัชญา และพัฒนาไปเป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์บ้าง
   สังคมศาสตร์บ้าง และศิลปกรรมบ้าง จนในที่สุดที่กลายเป็นวรรณกรรมใน
   สาขาวิชาต่าง ๆ ไป เช่น วรรณกรรมวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมสังคมศาสตร์ เป็น
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                      ประเภท คือ
๓. วรรณกรรมอันเกิดจากเหตุผล หมายถึง วรรณกรรมที่เกิดจากการให้หลักของ
   เหตุผล ซึ่งเป็นวิธีการทางตรรกวิทยา วรรณกรรมประเภทนี้เป็นบันทึกความรู้ที่
   เกิดจากการอ้างอิงความเป็นจริง หรือความรู้ที่มีอยู่แล้ว เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่
   วรรณกรรมทางคณิตศาสตร์นับเป็น วรรณกรรมที่เกิด ขึ้นจากกรณีนี้โดย
   แท้จริง
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                      ประเภท คือ
๔. วรรณกรรมอันเกิดจากคัมภีร์ หมายถึง วรรณกรรมที่เกิดจากความเชื่อหรือวรรณกรรมที่
    บันทึกความเชื่อของมนุษย์ วรรณกรรมดังกล่าวนี้มีมูลฐานมาจากความเชื่อที่ว่าเป็นควาาม
    รู้ที่พระผู้เป็นเจ้าประทานให้แก่ศาสดา เพื่อนาไปเผยแพร่แก่มวลมนุษย์ ส่วนใหญ่จะเป็น
    ความรู้ที่ประมวลไว้ในคัมภีร์ทางศาสนา เช่ น คัมภี ร์พระไตรปิฏกของศาสนาพุทธ
    คัมภีร์อุปนิษัท และภควัทคีตาของศาสนาฮินดู คัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ และ
    คั ม ภี ร์ อั ล ก รุ อ า น ข อ ง ศ า ส น า
    อิสลาม เป็นที่น่าสังเกตว่าศาสนาสาคัญ ๆ ของโลก มักจะมีคัมภีร์เป็นแหล่งประมวลคา
    สอนของศาสนา โดยถือว่าเป็นพระวัจนะของศาสดา วรรณกรรมประเภทนี้จึงได้รับการ
    ยอมรับจากศาสนิกชน หรือผู้นับถือศาสนานั้น ๆ ว่าเป็นวรรณกรรมอันเป็นสัจธรรม
    หรือความจริงอันแท้
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                    ประเภท คือ
๕. วรรณกรรมอันเกิดจากการประจักษ์ หมายถึง วรรณกรรมที่บันทึกความรู้มา
  จากวิธีวิทยาศาสตร์ การสังเกต การทดลอง การพิสูจน์ความจริง โดยการเก็บ
  ม                         า
  วิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูลรวบรวมวรรณกรรมประเภทนี้นับเป็น
  รากฐานของวิชาการวิจัยในยุคปัจจุบัน เพราะในปัจจุบันวงการศึกษา และอาชีพ
  ทั้งหลาย ต่างนาเอาวิธีการวิจัยเข้าไปใช้ในการพัฒนางานของตนอย่างกว้างขวาง
  จึงนับเป็นวรรณกรรมที่ได้รับการยอมรับสูงที่สุดในปัจจุบัน
๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖
                       ประเภท คือ
๖. วรรณกรรมอันเกิดจากวรรณศิลป์ หมายถึงวรรณกรรมที่เกิดจากศิลปะการ
   ประพันธ์ โดยมีสุนทรียภาพ จินตนาการ และสภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยการ
   ผ                                                  ลิ                                         ต
   สิ่ ง เร้ า ที่ ส ะท้ อ นเข้ า สู่ จิ ต นั้ น มี ห ลายอย่ า งสุ ด แท้ แ ต่ ว่ า บุ ค คลอยู่ ใ น
   สภาพแวดล้ อ มใดสิ่ ง เร้ า ที่ นั บ ว่ า มี อิ ท ธิ พ ล และเป็ น ปั จ จั ย ในการสร้ า ง
   วรรณกรรมมาก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ
   ศาสนา และความเชื่อ เป็นต้น (ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ 2525 : 25-27)
๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ
๑. วรรณกรรมทีให้ความรูหรือความคิด เช่น สารคดี รายงาน ตารา พระราชพิธี
               ่        ้
    พงศาวดาร
๒. วรรณกรรมมุงให้ความเพลิดเพลิน เช่น บทละคร นิทาน นิยาย เรื่องสั้น
                  ่
๓. วรรณกรรมทีมงผสมผสานความรู้ ความคิด และความบันเทิงเข้าด้วยกัน
                 ่ ุ่
    ผลงานนี้อาจอยู่ในวรรณคดีประเภทต่าง ๆ ได้ (วิภา กงกะนันทน์ 2523 :
    32-34)
๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ
สาหรับ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2525 : 28) แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้คือ
๑. วรรณกรรมเชิงวิชาการ หมายถึงวรรณกรรมที่มีจุดประสงค์หรือมีพันธกิจหลัก
   คือการให้ความรู้ความคิด อันได้จากการบอกเล่า จากญาณทัศน์ จากเหตุผล
   จากคัมภีร์ และจากการประจักษ์ วรรณกรรมประเภทนี้มุ่งเสนอเนื้อหาแก่ผู้อ่าน
   เป็นสาคัญและไม่สู้จะให้ความสาคัญในเรื่องรูปแบบเทคนิค และกลวิธีการ
   ประพันธ์มากนัก กล่าวโดยสรุปก็คือเป็นวรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู้เชิงวิชาการ
   นั่นเอง
๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ
สาหรับ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2525 : 28) แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้คือ
๒. วรรณกรรมเชิง วรรณศิล ป์ หมายถึงวรรณกรรมที่แต่งขึ้นโดยเน้นรูปแบบ
   เทคนิค และกลวิธีการประพันธ์ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเนื้อเรื่อง แต่การเสนอ
   ความรู้ความคิดนั้ น ไม่ เน้นในเรื่อ งข้อ มูลอัน เป็นข้ อเท็จ จริงเท่ากับ ความ
   บันเทิง และสุนทรียภาพ กล่าวโดยสรุปก็คือ เป็นวรรณกรรมที่มุ่งให้ความ
   บันเทิงและสุนทรียภาพนั่นเอง
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                        วรรณกรรม
                     มี ๒ ประเภท คือ
๑. วรรณกรรมในรูปของวัสดุสงพิมพ์ (Printed Materials) หมายถึง
                           ิ่
    วรรณกรรมที่ถ่ายทอดงานเขียนที่เป็นตัวอักษรและใช้กระดาษเป็นหลัก แบ่งย่อย
    ออกเป็น
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                  (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๑ หนังสือ แบ่งออกเป็น
  ๑.๑.๑. หนังสือสารคดี (Nonfiction Book) ซึงครอบคลุมถึง
                                                ่
         ๑.๑.๑.๑ หนังสือตาราวิชาการ (Textbook) เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นตามหลักสูตร
  ในสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ โดยเล่มหนึ่ง ๆ อาจจะเขียนครอบคลุมเนื้อหาในรายวิชา
  ใดวิชาหนึ่งอย่างครบถ้วน หรืออาจเขียนเจาะเฉพาะหัวข้อใหญ่ ๆ หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งก็ได้
  หนังสือนี้ถ้าเป็นระดับการศึกษาสามัญคือ ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา จะเรียกว่า
  หนังสือแบบเรียน ซึ่งต้องเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาตรงตามหลักสูตรที่
  กระทรวงศึกษาธิการกาหนดและได้รับอนุมัติให้ใช้เป็นแบบเรียนได้ สาหรับ
  ระดับอุดมศึกษานั้นเรียกตาราวิชาการ คือจะกาหนดกรอบเนื้อหาไว้ให้ ส่วนผู้เขียนจะ
  เขียนให้กว้างขวางหรือเจาะลึกอย่างไรก็แล้วแต่บุคคล
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) Reading)
๑.๑.๑.๒ หนังสือเรียนและหนังสืออ่านประกอบ (Supplementary
   เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อใช้อ่านประกอบในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ทีเ่ ล่าเรียนอยู่ใน
   สถานศึกษา โดยมีเนื้อหาละเอียดขึ้น พิสดารขึน เจาะลึกขึ้น สาหรับผู้ที่สนใจ
                                                  ้
   ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ที่กว้างขวางไปอีก

๑.๑.๑.๓ หนังสือความรูทวไป เป็นหนังสือที่ผู้เขียนต่างๆ เรียบเรียงขึ้นตามที่ตน
                        ้ ั่
   สนใจศึกษาค้นคว้าหรือที่รวบรวมได้ มิได้มุ่งหวังจะให้เป็นตาราสาหรับวิชา
   หนึ่งวิชาใด แต่เป็นการเสนอความรู้ในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือเรื่องใด
   เรื่องหนึง
            ่
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                 (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๑.๑.๔ หนังสืออ้างอิง (Reference Book) เป็นหนังสือที่มีลักษณะพิเศษ
   ทาขึ้นเพื่อเป็นการรวบรวมความรู้หลากหลายสาขาเอาไว้รวมกัน หรืออาจ
   รวบรวมความรู้ที่เป็นพื้นฐานสาคัญของแต่ละสาขาเอาไว้ หนังสือพวกนี้จะมี
   ลักษณะหนาหลายหน้า หรือเป็นชุดหลายเล่มจบ เวลาใช้ไม่จาเป็นต้องอ่าน
   ทั้ ง หมด เพี ย งค้ น หาค าตอบเฉพาะที่ ต้ อ งการใช้ ก็ พ อ เช่ น สารานุ ก รม
   พจนานุกรม หรือหนังสือคู่มือสาขาวิทยาศาสตร์ นามานุกรม เป็นต้น
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                   (วรรณกรรมในรูนคว้าในหัสข้ดุสิ่งพิข้มหนึ)่ง มีการจัดทา
๑.๑.๑.๕ รายงานวิจย เป็นรายงานการศึกษาค้
                 ั
                                        ปของวั ว อใดหัว อ พ์
   ตามลาดับขั้นตอนวิธีวิจัยแบบต่าง ๆ นาข้อมูลมาวิเคราะห์ใช้สถิติต่าง ๆ ประกอบ และ
   สรุปผลวิจัยออกมา เขียนอย่างมีระเบียบแบบแผน

๑.๑.๑.๖ ปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ (Theses or Dissertation) เป็นบทนิพนธ์ที่เรียบ
    เรียงขึ้นประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
    เนื้อหาเป็นผลการวิจัยในเรื่องที่ผู้ศึกษาสนใจ ส่วนใหญ่จะเป็นการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ
    หรือเป็นการพิสูจน์ทฤษฎีที่มีผู้กล่าวไว้หรือเป็นการพิสูจน์สมมุติฐานในเรื่องที่เป็นข้อ
    สงสัย ซึ่งรูปแบบอาจจะแตกต่างกันไปแต่ละสถาบัน
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                       วรรณกรรม
                (วรรณกรรมในรูปของวัสษาต่สงิ่งๆพิทมพ์เพื่อบอกรายละเอียด
๑.๑.๑.๗ คูมอสถานศึกษา เป็นหนังสือที่สถาบันการศึก
          ่ื
                                                 ดุ า าขึ้น )
   เกี่ยวกับสถาบันนั้น ๆ นับแต่ ประวัติ คณะวิชาที่เปิดสอน รายวิชาของคณะวิชาต่าง ๆ
   ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ รายชื่อคณาจารย์

๑.๑.๑.๘ สิ่งพิมพ์รฐบาล เป็นหนังสือ เอกสารที่ผลิตโดยหน่วยงานราชการ
                   ั
    และรัฐวิสาหกิจ อาจจะเป็นการรายงานกิจการประจาปีของหน่วยงาน อาจจะเป็นรายงาน
    การประชุมทางวิชาการที่หน่วยนั้นจัดขึ้น อาจจะเป็นสถิติข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
    ที่หน่วยงานนั้นรับผิดชอบอยู่ หรืออาจจะเป็นเอกสารเผยแพร่เชิงวิชาการในเรื่องที่
    หน่วยงานนั้นเชี่ยวชาญ
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                (วรรณกรรมในรูปของวัหนัดุสือิ่งที่เขีมนขึ)้นจากจินตนาการ
๑.๑.๒ หนังสือบันเทิงคดี (Fiction Book) เป็น
                                            ส ง ส พิ ยพ์
   มุ่งให้ความบันเทิงเป็นสาคัญ แบ่งย่อยได้ดังนี
   ๑.๑.๒.๑ หนังสือนวนิยาย
   ๑.๑.๒.๒ หนังสือรวมเรืองสัน
                            ่ ้
   ๑.๑.๒.๓ หนังสือสาหรับเด็กและเยาวชน ส่วนใหญ่เป็นหนังสือภาพ หรือเป็น
   เรื่องสั้น ๆ เขียนเพื่อสอนจริยธรรมแก่เด็ก หรือให้ความรู้ที่เด็กควรรู้ มักจะมี
   ขนาดบาง หน้าไม่มากนักอย่างไรก็ตาม หนังสือเด็กและเยาวชนที่มีชื่อเดียว อาจ
   เป็นการบันเทิงล้วน ๆ แต่แทรกคติสอนใจไว้อย่างเนียบเนียน
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                     (วรรณกรรมในรูเนือของวัสดุสิ่งพิม่กพ์) สิ่งพิมพ์ประเภท
๑.๒ สิงพิมพ์ตอเนือง หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่ออกต่อ
      ่      ่ ่
                                               ป่ งกันตามกาหนดเวลาที าหนดไว้
   นี้เมื่อก่อนภาษาอังกฤษใช้คาเรียกคลุมกว้าง ๆ ว่า periodicals แต่ปัจจุบันใช้คาว่า serials ซึ่ง
   ครอบคลุมถึงสิ่งพิมพ์ต่อไปนี้
                ๑.๒.๑ หนังสือพิมพ์รายวัน สิ่งพิมพ์ที่ออกประจาวัน แต่ถา้ เป็นหนังสือพิมพ์ใน
   ท้องถิ่นอาจจะเป็นราย 7 วัน หรือราย 10 วัน ราย 15 วัน ตามความเหมาะสม หนังสือพิมพ์จะเสนอ
   ข่าวความเคลื่อนไหวเหตุการณ์ในปัจจุบน โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือ
                                         ั
   เหตุการณ์ที่สังคมสนใจ นอกจากนี้ยังเสนอบทความ ความคิดเห็นต่อเรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เสนอ
   เรื่องทางวิชาการ ตลอดจนนวนิยาย สารคดีที่น่าสนใจต่าง ๆ หนังสือพิมพ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
   คือ
                      ๑.๒.๑.๑ ประเภทเสนอข่าวให้คด เสนอข่าวแนวการเมือง และเศรษฐกิจ
                                                    ิ
                      ๑.๒.๑.๒ ประเภทเสนอข่าวให้รา้ วใจ ข่าวมีรายละเอียดมากเพื่อเร้าใจให้ผู้อา่ น
   ติดตามเรื่องราว หนังสือพิมพ์ประเภทนี้ มุ่งเสนอข่าวประเภทอาชญากรรม ข่าวอุบติเหตุ ข่าวบันเทิง
                                                                                   ั
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
      ่      ่ ่
                  (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๒ สิงพิมพ์ตอเนือง
         ๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals) เป็นสิ่งพิมพ์ที่พิมพ์เผยแพร่มีชื่อเรียกแน่นอน
  และมีกาหนดเวลาออกไว้แน่นอน เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน ราย 2 เดือน เป็น
  ต้น ตีพิมพ์บทความและเรื่องราวต่าง ๆ ที่ทันสมัยไว้ในเล่มเดียวกันเขียนโดยผู้เขียน
  หลายคน เนื้อหาสาระภายในจะเป็นเรื่องในแนววิชาเดียวกัน หรือเป็นเรื่องหลายเรื่อง
  หลายแบบรวม ๆ กันก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการจัดทาวารสารนั้น ๆ เนื้อเรื่อง
  จะจบในฉบับหรือต่อเนื่องกันไปหลายฉบับก็ได้ รูปเล่มของวารสารชื่อหนึ่ง ๆ มักจะเป็น
  แบบเดียวกันและจะให้หมายเลขของปีที่ (Volume) ฉบับที่ (Number) หรือวันเดือนปี
  (Date) ประจาฉบับไว้ด้วยโดยเลขที่ดังกล่าวจะต่อเนื่องกับฉบับก่อน ๆ ที่ตีพิมพ์มาแล้ว
  วารสารแบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 3 ประเภท ดังนี้
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                 (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals)
  ๑.๒.๒.๑ วารสารวิชาการ (Journals) เป็นวารสารที่จัดทาขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้และวิชาการต่าง ๆ เนื้อ
  เรื่องจะให้ความรู้ทางวิชาการ รวมทั้งนาเสนอผลงานทางวิชาการ หรือผลการวิจัยที่ยังไม่เคยพิมพ์
  เผยแพร่มาก่อน จัดทาโดยนักวิชาการนั้น ๆ โดยตรง
  ๑.๒.๒.๒ วารสารทัวไปหรือนิตยสาร (Magazines) เป็นวารสารสาหรับผูอ่านทัวไป มุ่งให้ทั้งความรู้
                    ่                                                     ้ ่
  และความบันเทิง ความรูมักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ ความเข้าใจและทัศนคติในเชิงวิเคราะห์
                            ้
  ไม่ให้เนือหาทางวิชาการล้วน ๆ อาจแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
           ้
  ก. ประเภทมุ่งเสนอความบันเทิงเป็นหลัก เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะเป็นนวนิยาย เรื่องสั้น อาจจะแทรก
  เกร็ดความรู้ สารคดี เรืองราวเบ็ดเตล็ด และสรุปข่าว เหตุการณ์ต่าง ๆ ไว้ด้วย
                          ่
  ข. ประเภทที่ให้ความรู้มากกว่าความบันเทิงหรือมีทั้งสองอย่างก้ากึ่งกัน
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                 (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals)
  ๑.๒.๒.๓ วารสารเสนอข่าวเชิงวิจารณ์ (News Magazines) หมายถึง วารสารที่เสนอบทความและ
  บทวิจารณ์ อธิบายข่าว วิเคราะห์ข่าว สรุปข่าวทางด้านการเมืองเศรษฐกิจ การศึกษาศิลปกรรม
  ภาพยนตร์ และอื่น ๆ เนื้อหาส่วนใหญ่คอนข้างหนัก เช่น มติชนสุดสัปดาห์ สยามรัฐ
                                         ่
  สัปดาหวิจารณ์ เนชั่นสุดสัปดาห์ เป็นต้น
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
                  (วรรณกรรมในรูมพ์ที่ออกประจสิ่งอพิมพ์)นทุกปี เช่นรายงาน
๑.๒.๓ หนังสือรายปี (Yearbook) เป็นสิ่งพิ
                                         ปของวัสดุ าต่ เนื่องกั
   ประจาปี รายงานการประชุมประจาปี สิ่งพิมพ์ประเภทนี้เมื่อห้องสมุดได้มา ส่วนใหญ่จะ
   จัดรวมอยู่กับพวกหนังสือ
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
               (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์)
๑.๓ จุลสาร (Pamphlet) เป็นหนังสือที่มีเรื่องราวสั้น ๆ มีความหนาไม่มาก
  โดยประมาณก็คือ 60 หน้า หรืออาจจะหนากว่านี้เพียงเล็กน้อย
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                        วรรณกรรม
                     มี ๒ ประเภท คือ
๒. วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตพมพ์ (Non-Printed Materials) หมายถึง
                                ี ิ
   วรรณกรรมที่
   ถ่ายทอดงานลงในวัสดุไม่ตพิมพ์ หรือโสตทัศนวัสดุ ซึ่งวรรณกรรมประเภท
                             ี
   นี้บางครั้งได้ถ่ายทอดมาจากวรรณกรรม ภาพยนต์ที่นาเรื่องจากวรรณกรรมมา
   ถ่ายทอดทา หรืออาจจัดทาขึ้นโดยเฉพาะก็ได้ บทเพลงที่บันทึกลงในแผ่นเสียง
   แถบบันทึกเสียง หรือ แผ่นดิสก์ เป็นต้น วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์
   แบ่งย่อยออกเป็น
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
               (วรรณกรรมในรูปของวัได้แดุไม่ตีพิมพ์)
๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials)
                                          ส ก่
               ๒.๑.๑ แผ่นเสียง (Phonodisc) ทาด้วยครั่งหรือพลาสติก ผิวบนจะถูกเซาะ
  เป็นร่องเล็ก ๆ ติด ๆ กันเป็นวงกลม มีความสูงต่าไม่เท่ากัน เวลาใช้ต้องใช้กับเครื่องเล่น
  แผ่นเสียง เข็มของเครื่องเล่นจะครูดไปตามร่องของแผ่นเสียง จะเกิดการเสียดสีไปตาม
  ความลึกตื้นของร่อง ทาให้เกิดการสั่นสะเทือน เข็มจะส่งสัญญาณไปแปลงเป็น
  คลื่นไฟฟ้า แล้วแปลงต่อเป็นคลื่นแม่เหล็ก และเป็นคลื่นเสียงในที่สุด แผ่นเสียงมีหลาย
  ขนาด เช่น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ้ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว แต่ละขนาด
  ความเร็วสาหรับการหมุนแผ่นก็จะไม่เท่ากัน
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
              (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์)
๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials)
                                          สแ
  ๒.๑.๒ แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (Phonotape) เป็นแถบแม่เหล็กที่บันทึก
  คลื่นเสียงเอาไว้ ที่นิยมกันมีแบบเป็นม้วน (reel tape) และแบบคาสเส็ท (cassette
  tape)
  ๒.๑.๓ แผนเสียงระบบดิจตอล (Compact Digital Audio Disc) เป็นแผ่นอะลูมิเนียม
                            ิ
  ฉาบด้วยพลาสติกใสแล้วเคลือบด้วยแลกเกอร์ใสและแสงผ่านได้สัญญาณจะถูกอ่านด้วย
  ลาแสงเลเซอร์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม. สัญญาณเสียงที่ออกมาจะใกล้เคียงมาก
  ที่สุด
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
              (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์)
๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials)
                                          สแ
  ๒.๑.๔ ภาพยนตร์ (Motion Pictures) คือภาพถ่ายที่เป็นภาพนิ่งชนิดโปร่งใสที่บันทึก
  อิริยาบทหรืออาการเคลื่อนไหวติดต่อกัน เป็นจานวนอย่างน้อย 16 ภาพ/วินาที ลงบน
  แผ่นฟิล์ม เมื่อนาเอาภาพซึ่งอยู่ในลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาฉายด้วยอัตราเร็วเดียวกันจะ
  ทาให้เห็นภาพในลักษณะเคลื่อนไหวเหมือนธรรมชาติ ฟิล์มภาพยนต์มีทั้งชนิดฟิล์ม
  ขาว-ดา และชนิดฟิล์มสี และมีฟิล์มชนิดไม่มีเสียง (Silen Film) และฟิล์มมีแถบเสียง
  ฟิล์มภาพยนต์มีหลายขนาด เช่น ขนาด 8 มม. ธรรมดา 8 มม. พิเศษ ฟิล์มขนาด 16
  มม. ชนิดมีเสียงและไม่มีเสียง ฟิล์มขนาด 35 มม. และฟิล์มขนาด 70 มม.
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
              (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์)
๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials)
                                          สแ
  ๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape) วิดีทัศน์เป็นสื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียง
            ีั
  เช่นเดียวกับภาพยนต์ แต่อานวยประโยชน์สะดวกสบาย และคล่องตัวในการใช้มากกว่า
  วิดีทัศน์ มี 2 ประเภท คือ
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์)
๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape)
         ีั
  ๒.๑.๕.๑ เทปวิดีทศน์ (Video Tape) มีหลายขนาดดังนี้
                     ั
  ก. แบบตลับ (Videocassette) มีขนาด ? นิ้ว เรียกว่า ระบบยูเมติก (U-Matic) ขนาด
  ? นิ้ว นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เรียกว่า ระบบวีเอชเอส (Video Home System หรือ VHS)
  และยังมีการพัฒนาให้มีคุณภาพสูงขึ้นทั้งการบันทึกและการเล่น เรียกว่า Super VHS
  หรือ S-VHS นอกจากนี้ยังมีเทปวิดีทัศน์ขนาดเล็ก คือ VHS-C และ 8 มม.
  ข. แบบม้วนเปิด (Video reel) มีขนาด 2 นิ้ว 1 นิ้ว และ ? นิ้ว เป็นเทป
  วิดีทัศน์ที่ใช้กับสถานีโทรทัศน์ภายหลังหันมาใช้ขนาด 1 นิ้วแทน เพราะเครื่องเล่นและ
  ม้วนเทปราคาแพง ค. แบบกล่อง (Video Cartridge) เป็นเทปขนาด 1 นิ้ว ไม่นิยมตาม
  บ้าน แต่ใช้สาหรับการโฆษณา
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์)
๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape)
         ีั
  ๒.๑.๕.๒ แผ่นวิดทศน์ (Videodisc) แผ่นวิดีทัศน์ มีลักษณะคล้ายแผ่นเสียง แต่สามารถ
                  ีั
  บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ด้วยสัญญาณดิจิตอล
  และอ่านสัญญาณข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ มี 2 แบบ คือ
  ก. แผ่นวิดีทัศน์ชนิดใช้เข็ม
  ข. แผ่นวิดีทัศน์ระบบเลเซอร์ หรือ LV (Laser Vision)
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                     วรรณกรรม
                 (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์)
๒.๒ วัสดุคอมพิวเตอร์ ได้แก่
       ๒.๒.๑ จานแม่เหล็ก แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
              ๒.๒.๑.๑ จานแม่เหล็กแบบอ่อน (Floppy Disc) มี 2 ขนาด คือ 5 นิ้ว และ
  ขนาด 3 นิ้ว
              ๒.๒.๑.๒ จานแม่เหล็กแบบแข็ง (Hard Disc) สามารถบรรจุข้อมูลได้มากกว่า
  ชนิดบางหลายร้อยเท่า
       ๒.๒.๒ ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นเอง (In-house Database)
๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ
                      วรรณกรรม
•
                 (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์)
    ๒.๒ วัสดุคอมพิวเตอร์ ได้แก่
         ๒.๒.๓ ฐานข้อมูลสาเร็จรูป (Compact Disc-Read oญnly Memory : CD-
  ROM)
• มีลักษณะเหมือนแผ่น CD-Audio แต่ใช้บันทึกข้อมูลและสืบค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์
  ซีดีรอม 1 แผ่น สามารถบันทึกข้อมูลได้เท่ากับ จานวนจานแม่เหล็กแบบอ่อน 1,500
  แผ่น หรือประมาณ 600 เมกกะไบต์ ซึ่งเท่ากับจานวนกระดาษขนาด A4 ประมาณ
        250,000 หน้า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกภาพทั้งสี และขาว-ดา ภาพนิ่ง
        ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิก เสียงพูด และเสียงดนตรี ผู้ผลิตซีดีรอมได้บรรจุ
  ความรู้         ต่าง ๆ เช่น สารานุกรม พจนานุกรม ฐานข้อมูล DAO, ERIC, LISA
  เป็นต้น
๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม
                แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ
๑. วรรณกรรมปฐมภูมิ (Primary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากความคิด
    ความริเริ่ม การค้นพบ และ ประสบการณ์ของผู้ผลิตเองสาหรับนาไปใช้งาน
    หรือเผยแพร่แก่สาธารณชน เช่น เอกสารจดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ รายงานการ
    วิจัย และเอกสารส่วนบุคคล เป็นต้น
๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม
               แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ
๒. วรรณกรรมทุตยภูมิ (Secondary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากการ
                 ิ
   รวบรวม วิเคราะห์เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลมาจากวรรณกรรม
   ปฐมภูมิ เช่น หนังสือตาราต่าง ๆ หนังสือพจนานุกรม และหนังสือสารานุกรม
   เป็นต้น
๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม
                แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ
๓. วรรณกรรมตติยภูมิ (Tertiary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจาก การ
  รวบรวม วิเคราะห์ เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลจากวรรณกรรม
  ทุติยภูมิเป็นหลัก เช่น เอกสารคาสอน รายงานของนักศึกษา และคู่มือศึกษา
  กระบวนวิ ช าต่ า ง ๆ เป็ น ต้ น จากทั ศ นะต่ า ง ๆ ที่ มี ผู้ จ าแนกประเภท ของ
  วรรณกรรมนั้นจะทาให้ผู้ที่ศึกษาวรรณกรรม สามารถที่จะเข้าใจถึงรูปแบบต่าง
  ๆ ของวรรณกรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการแบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับ
  ผู้อ่าน และตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอวรรณกรรม จะช่วยให้ผู้
  ศึกษาวรรณกรรมสามารถศึ กษารูปแบบวรรณกรรมในศาสตร์ต่ าง ๆ เชิ ง
  วิจารณ์
อ้างอิง
• http://www.thaigoodview.com
  /library/contest2552/type2/th
  ai04/07/index.html
• http://blog.eduzones.com/win
  ny/3620http://blog.eduzones.
  com/winny/3620
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 

What's hot (20)

พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 

Similar to วรรณกรรม

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมAttaporn Saranoppakun
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองพัน พัน
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 

Similar to วรรณกรรม (19)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
เบิ๊ม5
เบิ๊ม5เบิ๊ม5
เบิ๊ม5
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 

วรรณกรรม

  • 2. สาขาวิชา : ภาษาไทย รายวิชา : ท ๔๐๑๐๓ วรรณวินจ ิ ชันมัธยมศึกษาปีที่ : ๕/๖ ้ ครูผสอน : นางสิรลกขณ์ หลงขาว ู้ ิั ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
  • 3. สมาชิกในกลุม ่ ๑. นางสาวธัญรมณ มณีรัตน์ เลขที่ ๒ ๒. นางสาวชญานิษฐ์ ชูแข เลขที่ ๕ ๓. นางสาวธัญชนก รักแก้ว เลขที่ ๑๕ ๔. นางสาวอัญชิษฐา วิภูษิตวรกุล เลขที่ ๑๗ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๖
  • 4. ประเภทของวรรณกรรม วรรณคดี เป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม แม้จะมีความแตกต่าง บ้าง ก็ตาม แต่เมื่อกล่าวถึงประเภทของวรรณกรรม ก็จะกล่าวถึง ประเภทของ วรรณคดี ด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง ได้ มี ผู้ เ ขี ย นได้ แ บ่ ง ประเภท ตามเกณฑ์ แ ละ ลักษณะ ต่าง ๆ มากมาย ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
  • 5. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ ๑.วรรณกรรมร้อยแก้ว คือ วรรณกรรมที่ไม่กาหนดบังคับคาหรือฉันท ลักษณ์ เป็นความเรียงทั่วไป การเขียนในลักษณะนี้ยังแบ่งย่อยออกเป็น
  • 6. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๑ บันเทิงคดี (Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความเพลิดเพลินแก่ ผู้อ่านเป็นประการสาคัญ และให้ข้อคิด คตินิยม หรือ สอนใจ แก่ ผู้ อ่ า นเป็ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ร อง ดั ง ที่ ม.ล. บุ ญ เหลื อ เทพยสุ ว รรณ (2518 : 9) กล่ า วว่ า บั น เทิ ง คดี เป็ น วรรณกรรมที่ ผู้ ป ระพั น ธ์ มี จุดประสงค์ที่ให้ความเพลิดเพลิน แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าบันเทิง คดีเป็นวรรณกรรมที่ไร้สาระ บันเทิงคดีอาจมีสาระในด้านปรัชญา ด้าน ความเข้าใจการเมือง หรือประวัติศาสตร์ดีกว่าหนังสือสารคดีบางเรื่อง ก็ได้ วรรณกรรม ประเภทนี้ผู้ประพันธ์มุ่งหมายให้ความบันเทิง ต้อง กระทบอารมณ์ผู้อ่าน มิใช่สาหรับให้ผู้อ่านได้ความรู้หรือความคิดเห็น บันเทิงคดีสามารถจาแนกย่อยได้ดังนี้
  • 7. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๑.๑ นวนิยาย (Novel) คือ การเขียน ผูกเรื่องราวของชีวิตอันมีพฤติกรรม ร่ ว มกั น มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ใน ๑.๑.๑ นวนิยาย ลั ก ษณะจ าลองสภาพชี วิ ต ของ (Novel) สั ง คมส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใด โดยมี ความมุ่งหมายให้ความบันเทิงใจแก่ ผู้ อ่ า น คื อ ให้ ผู้ อ่ า นเกิ ด สะเทื อ น อารมณ์ ไ ปกั บ เนื้ อ เรื่ อ งอย่ า งมี ศิลปะ
  • 8. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๑.๒ เรื่องสั้น (Short Story) คือ การเขียน เรื่องจาลองสภาพชีวิตในช่วงสั้น คือมุมหนึ่ง ของชีวิต หรือเหตุการณ์หนึ่ง หรือช่วงระยะ ๑.๑.๒ เรืองสัน ่ ้ หนึ่งของชีวิต เพื่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ (Short Story) ผู้อ่าน หรือ นิยามอีกอย่างหนึ่ง ว่า เรื่องสั้น คือ วิกฤตการณ์ชุดหนึ่ง มีความสัมพันธ์สืบ เนื่องกัน และนาไปสู่จุดยอดหนึ่ง (Climax) ( ธวัช บุณโณทก 2537 : 12)
  • 9. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๑.๓ บทละคร (Drama) คือการ เขียนที่ใช้ประกอบการแสดงเพื่อให้ ๑.๑.๓ บทละคร (Drama) เกิดความบันเทิง เช่น บทละครวิทยุ บทละครพูด และบทละคร โทรทัศน์ เป็นต้น
  • 10. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒ สารคดี (Non-Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู้ หรือ ความคิด เป็น คุณประโยชน์สาคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบายเชิงวิจารณ์ เชิงพรรณนาสั่งสอน โดยอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างมีระบบมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้ เพื่อ มุ่งตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นให้แก่ผู้อ่าน และก่อให้เกิดคุณค่าทาง ปัญญาแก่ผู้อ่าน ซึ่ง ธวัช ปุณโณทก ( 2527 : 11 ) ได้แบ่งย่อยดังนี้
  • 11. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒.๑ ความเรียง (Essay) คือ การ ถ่ายทอดความรู้ อาจจะได้มาจาก การประสบ หรือตาราวิชาการ มาเป็น ๑.๒.๑ ความเรียง (Essay) ถ้อยความตามลาดับขั้นตอนเพือให้ ่ ผู้อ่านเข้าใจตามความรู้ ความคิดที่ ผู้เขียนเสนอมา บางครั้งมีผู้เรียกว่า "สารคดีวิชาการ"
  • 12. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒.๒ บทความ ( Article) คื อ ความคิดเห็นของผู้เขียนต่อเรื่องราว ที่ประสบมาหรื อ ต่ อ ข้ อ เขี ย นของ ๑.๒.๒ บทความ ( Article) ผู้อื่น หรือต่อเหตุการณ์อย่างหนึ่ง อย่ า งใด ในการเขี ย นบทความ ผู้ เ ขี ย นมุ่ ง ที่ จ ะบอกถึ ง ความเห็ น ความรู้ สึกนึ กคิ ด มากกว่ าที่ จ ะถ่ า ย ถอดความรู้เหมือนความเรียง
  • 13. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒.๓ สารคดีทองเทียว ( Travelogue) คือ การ ่ ่ ๑.๒.๓ สารคดีทองเทียว บันทึกการท่องเที่ยวและเรื่องราวต่าง ๆ ที่ประสบ ่ ่ ( Travelogue) พบเห็นขณะที่ท่องเที่ยวไป โดยมุ่งที่จะให้ ความรู้แก่ผู้อ่านและให้ความเพลิดเพลินด้ว ๑.๒.๔ สารคดีชีวประวัติ (Biography) คือ การ ๑.๒.๔ สารคดี บันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคลิกภาพหนึ่งมุง ่ ชีวประวัติ ที่จะให้เห็นสภาพชีวิตประสบการณ์ของ (Biography) บุคลิกภาพนั้นทุกแง่ทุกมุม แต่ไม่ใช่ ประวัติศาสตร์ และนิยาย
  • 14. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒.๕ อนุทน (Diary) คือการบันทึก ิ ประจาวันที่เกิดขึ้นแก่ตนเอง จะเป็น การบันทึกความรู้สึกนึกคิดของ ๑.๒.๕ อนุทน (Diary) ิ ตนเองในประจาวัน หรืออาจจะ บันทึกประสบการณ์ใน ชีวิตประจาวัน หรือบันทึกเหตุการณ์ ในชีวิตประจาวัน โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อเตือนความจา
  • 15. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย แก้ว) ๑.๒.๖ จดหมายเหตุ ( Archive) คือ การบันทึกเหตุการณ์สาคัญ ๆ ของ ทางราชการ หรือบันทึกเหตุการณ์ ๑.๒.๖ จดหมายเหตุ ( Archive) สาคัญ ๆ ของสถาบัน หน่วยงาน หรือตระกูล โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานเชิงประวัติ เหตุการณ์ของชาติ หรือของสถาบัน หรือหน่วยงานราชการ หรือของ ตระกูล
  • 16. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ ๒. วรรณกรรมร้อยกรอง คือ วรรณกรรมที่การเขีย นมีการบังคั บ รูป แบบด้ ว ยฉั น ทลัก ษณ์ ต่ า งๆ เช่ น บั งคั บคณะ บัง คั บ ค า และแบบ แผนการส่งสัมผัสต่าง ๆ บางครั้งเรียกงานเขียนประเภทนี้ว่า กวีนิพนธ์ หรือ คาประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต เป็นต้น นอกจากนี้วรรณกรรมร้อยกรองยังแบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ ดังนี้
  • 17. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย กรอง) ๒.๑ วรรณกรรมประเภทบรรยาย (Narrative) คือ วรรณกรรมร้อยกรองที่มี โครงเรื่อง ตัวละคร และเหตุการณ์ต่าง ๆ ผูกเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกันไป เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี อิเหนา เป็นต้น ๒.๒ วรรณกรรมประเภทพรรณา หรือ ราพึงราพัน ( Descriptive or Lyrical) มักเป็นบทร้อยกรองที่ผู้แต่งมุ่งแสดงอารมณ์ส่วนตัวอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่มี โครง เรื่อง เช่น นิราศ และเพลงยาว เป็นต้น (ประทีป เหมือนนิล . 2519 : 22- 23.)
  • 18. ๑. แบ่งตามลักษณะการประพันธ์ (วรรณกรรมร้อย กรอง) ๒.๓ วรรณกรรมประเภทบทละคร (Dramatic) เป็นบทร้อยกรองสาหรับการอ่าน และใช้เป็นบทสาหรับการแสดงด้วย เช่น บทพากย์โขน บทละครร้อง บทละคร รา เป็นต้น
  • 19. ๒. แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่อง มี ๒ ประเภท คือ ๑. วรรณกรรมบริสทธิ์ (Pure Literature) หมายถึง วรรณกรรมที่แต่งขึ้นจาก ุ อารมณ์สะเทือนใจต่าง ๆ ไม่มจุดมุ่งหมายที่จะให้วรรณกรรมนั้น ทรงคุณค่า ี ในทางใดเป็นพิเศษ แต่วรรณกรรมนั้นอาจจะล้าค่า ในสายตาของนักอ่านรุ่น หลังๆ ก็เป็นได้ แต่มได้เป็นเจตจานงแท้จริงของผู้แต่ง ผู้แต่งเพียงแต่จะแต่งขึ้น ิ ตามความปรารถนาในอารมณ์ของตนเองเป็นสาคัญ
  • 20. ๒. แบ่งตามลักษณะเนื้อเรื่อง มี ๒ ประเภท คือ ๒. วรรณกรรมประยุกต์ (Applied Literature) หมายถึงวรรณกรรมที่แต่งขึ้น โดยมีเจตจานงที่สนองสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจเกิดความบันดาลใจทีจะสืบทอด ่ เรื่องราวความชื่นชมในวีรกรรมของผู้ใดผูหนึ่งนั่นหมายถึงว่า มีเจตนาจะเขียน ้ เรื่องราวขึ้นเพื่อประโยชน์อย่างหนึ่ง หรือมีจุดมุงหมายในการเขียนชัดเจน มิใช่ ่ เพื่อสนองอารมณ์อย่างเดียว เช่น วรรณกรรมประวัติศาสตร์ วรรณกรรมการ ละคร และอาจหมายรวมถึงพงศาวดารต่าง ๆ ด้วย (สมพร มันตะสูตร 2526 : 6)
  • 21. ๓. แบ่งตามลักษณะการถ่ายทอด มี ๒ ประเภท คือ ๑. วรรณกรรมมุขปาฐะ หมายถึง วรรณกรรมที่ถา่ ยทอดโดยการบอก การเล่า และ การขับร้อง ไม่ว่าจะเป็นในโอกาสหรือในวาระใด เช่น ในการนอน การเต้น การ รา หรือพิธีกรรมต่าง ๆ วรรณกรรมมุขปาฐะมีปรากฏมานาน จึงมีอยู่ทุกภูมิภาคของโลก การที่เป็น เช่นนี้ก็เพราะวรรณกรรมประเภทนี้เป็นผลสืบเนื่องจากภาษาของมนุษย์ เมื่อ มนุษย์มีภาษาพูดก็ย่อมมีโอกาสถ่ายทอดจิตนาการและอารมณ์ได้มากขึ้น ประกอบกับภาษาพูดสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายและเร็วกว่าภาษาเขียน ดังนั้น วรรณกรรมมุขปาฐะจึงมีมาก และมีมานานกว่าวรรณกรรมประเภทอื่น
  • 22. ๓. แบ่งตามลักษณะการถ่ายทอด มี ๒ ประเภท คือ ๒. วรรณกรรมลายลักษณ์ หมายถึง วรรณกรรมที่ถ่ายทอดโดยการเขียน การจาร และการ จารึก ไม่ว่าจะเป็นการกระทาลงบนวัสดุใด ๆ เช่น กระดาษ เยื่อไม้ ใบไม้ แผ่นดินเผา หรือ ศิลา วรรณกรรมลายลักษณ์เป็นวรรณกรรมที่พัฒนาสืบต่อมาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ กล่าวคือ เกิดขึ้นในยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักใช้สัญลักษณ์หรือตัวอักษร เพื่อบันทึกความในใจ ความรู้สึก และความคิดเห็นของตน เพื่อถ่ายทอกให้ผู้อื่นรับรู้นั่นเอง และเนื่องจาก ตัวอักษรเป็นเครื่องมือบันทึกที่สื่อสารกันได้กว้างไกลและยั่งยืน มนุษย์จึงสร้าง วรรณกรรมประเภทนี้กันอย่างกว้างขว้างในทุกภูมิภาคของโลกขณะเดียวกันก็พัฒนา เทคนิคและรูปแบบการสร้างวรรณกรรมให้เจริญมาเป็นลาดับ วรรณกรรมลายลักษณ์จึง กลายเป็นมรดกที่มนุษยชาติไม่อาจปฏิเสธได้ (ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์. 2525 : 25)
  • 23. ๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ ๑. วรรณคดีนิราศ วรรณคดีประเภทนี้มีลักษณะเฉพาะตัว เป็นการเขียนในทานอง บันทึกการเดินทาง การพลัดพราก การคร่าครวญเมื่อต้องไกลทีอยู่อาศัย คน ่ รักหรือสิ่งรัก การเขียนในเชิงนิราศนี้มีรูปแบบโดยเฉพาะ เป็นวรรณคดีที่กวี นิยมเขียนกันมาก มีวรรณคดีมากมายหลายเรื่อง เช่น กาสรวลศรีปราชญ์ ทวา ทศมาส นิราศของสุนทรภู่ นิราศของพระยาตรัง นิราศนรินทร์ เป็นต้น
  • 24. ๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ ๒. วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ เป็นวรรณคดีในเชิงประวัติศาสตร์การบันทึก เหตุการณ์แผ่นดินในทานองสรรเสริญพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ วรรณคดี ประเภทนี้มีปรากฏอยู่ในวรรณคดีเป็นจานวนมากมาย เช่น ลิลิตยวน พ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย เพลงยาวเฉลิมพระเกียติร และโคลงเฉลิมพระเกียรติ ต่าง ๆ รวมทั้งวรรณคดีประเภทที่ต้องการบันทึกเรื่องราวสาคัญบางประการ เช่น โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นต้น
  • 25. ๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ ๓. วรรณคดีศาสนา วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาทั้ง โดยตรงและโดยทางอ้อม คือ มีอิทธิพลมาจากความเชื่อทางศาสนา เช่น มหาชาติฉบับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิฉบับต่าง ๆ รวมทั้งวรรณคดีจากชาดก ทั้งนิบาตชาดกและปัญญาสชาดก นันโทปทสูตรคา หลวง พระมาลัยคาหลวง เป็นต้น
  • 26. ๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ ๔. วรรณคดีทเี่ กียวกับพิธการขนบธรรมเนียมประเพณี เนื้อหาของวรรณคดี ่ ี ประเภทนี้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี หรือ พิธีการต่าง ๆ เช่น ตารานาง นพมาศ พระราชพิธีสิบสองเดือน ฯลฯ ๕. วรรณคดีสุภาษิต วรรณคดีประเภทนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับคาสอน ข้อเตือนใจ เช่น กฤษณาสอนน้องคาฉันท์ สุภาษิตพระร่วง โคลงราชสวัสดิ์ อิศรญาณภาษิต เป็นต้น
  • 27. ๔. แบ่งตามลักษณะของเนื้อหา (ซึ่งจะเน้นไปทางด้าน วรรณคดีไทยเป็นส่วนใหญ่) มี ๗ ประเภท คือ ๖. วรรณคดีการละครหรือนาฏวรรณคดี วรรณคดีประเภทนี้นาไปใช้แสดงละคร หรือการแสดงทางนาฏศิลป์ในลักษณะอื่น เช่น เรื่องอิเหนา รามเกียรติ์ สังข์ ทอง ไกรทอง เป็นต้น ๗. วรรณคดีนยาย วรรณคดีประเภทนี้ถ้าเขียนเป็นการประพันธ์ประเภทกลอนจะ ิ เรียกว่ากลอนประโลมโลกย์ วรรณคดีนิยายนี้มีทงไม่เขียนเป็นกลอน เช่น ั้ ลิลิตพระลอ และที่เขียนเป็นกลอน เช่น พระอภัยมณี เสภาขุนช้าง - ขุนแผน เป็นต้น
  • 28. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๑. วรรณกรรมอันเกิดจากการบอกเล่า หมายถึง วรรณกรรมที่บันทึกหรือถ่ายทอด จากผู้รู้ ผู้คงแก่เรียน หรือนักปราชญ์แต่ละสาขาของความรู้ วรรณกรรมจาก บุคคลเหล่านี้จึงเป็นวรรณกรรมที่เรียกกันว่า "ตารา" วรรณกรรมประเภทนี้ อาจจะสมบูรณ์ถูกต้องหรือไม่ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความเชื่อถือและ การพิสูจน์ โดยกรรมวิธีต่าง ๆ แต่โดยทั่วไปก็มักเชื่อโดยอนุโลมว่าเป็นความรู้ที่ ถูกต้อง น่าเชื่อถือได้
  • 29. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๒. วรรณกรรมอันเกิดจากญาณทัศน ์ หมายถึงวรรณกรรมที่เกิดจาการหยั่งรู้โดย ญาณ ซึ่งหมายถึง ปัญญา การหยั่งรู้ อาจจะเกิดจากการครุ่นคิด ไตร่ตรอง เพื่อหา คาตอบ เรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อให้พ้นสงสัย แล้วจู่ ๆ ก็เกิดความรู้ในเรื่องนั้นผุด ขึ้นในความคิดและได้คาตอบโดยไม่คาดฝัน จากคาตอบนั้นจึงได้นามาบันทึก เ ป็ น ว ร ร ณ ก ร ร ม เ ร า เ รี ย ก จ า ก วรรณกรรมนี้ว่า วรรณกรรมอันเกิดญาณทัศน์ ในบางกรณีเมื่อมีแรงดลใจหรือ จินตนาการบางอย่าง ก็อาจเกิดการหยั่งรู้ขึ้น ความรู้ที่เกิดจากญาณทัศน์นี้ นับเป็น จุดกาเนิดจองความรู้เชิงปรัชญา และพัฒนาไปเป็นทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์บ้าง สังคมศาสตร์บ้าง และศิลปกรรมบ้าง จนในที่สุดที่กลายเป็นวรรณกรรมใน สาขาวิชาต่าง ๆ ไป เช่น วรรณกรรมวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมสังคมศาสตร์ เป็น
  • 30. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๓. วรรณกรรมอันเกิดจากเหตุผล หมายถึง วรรณกรรมที่เกิดจากการให้หลักของ เหตุผล ซึ่งเป็นวิธีการทางตรรกวิทยา วรรณกรรมประเภทนี้เป็นบันทึกความรู้ที่ เกิดจากการอ้างอิงความเป็นจริง หรือความรู้ที่มีอยู่แล้ว เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่ วรรณกรรมทางคณิตศาสตร์นับเป็น วรรณกรรมที่เกิด ขึ้นจากกรณีนี้โดย แท้จริง
  • 31. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๔. วรรณกรรมอันเกิดจากคัมภีร์ หมายถึง วรรณกรรมที่เกิดจากความเชื่อหรือวรรณกรรมที่ บันทึกความเชื่อของมนุษย์ วรรณกรรมดังกล่าวนี้มีมูลฐานมาจากความเชื่อที่ว่าเป็นควาาม รู้ที่พระผู้เป็นเจ้าประทานให้แก่ศาสดา เพื่อนาไปเผยแพร่แก่มวลมนุษย์ ส่วนใหญ่จะเป็น ความรู้ที่ประมวลไว้ในคัมภีร์ทางศาสนา เช่ น คัมภี ร์พระไตรปิฏกของศาสนาพุทธ คัมภีร์อุปนิษัท และภควัทคีตาของศาสนาฮินดู คัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ และ คั ม ภี ร์ อั ล ก รุ อ า น ข อ ง ศ า ส น า อิสลาม เป็นที่น่าสังเกตว่าศาสนาสาคัญ ๆ ของโลก มักจะมีคัมภีร์เป็นแหล่งประมวลคา สอนของศาสนา โดยถือว่าเป็นพระวัจนะของศาสดา วรรณกรรมประเภทนี้จึงได้รับการ ยอมรับจากศาสนิกชน หรือผู้นับถือศาสนานั้น ๆ ว่าเป็นวรรณกรรมอันเป็นสัจธรรม หรือความจริงอันแท้
  • 32. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๕. วรรณกรรมอันเกิดจากการประจักษ์ หมายถึง วรรณกรรมที่บันทึกความรู้มา จากวิธีวิทยาศาสตร์ การสังเกต การทดลอง การพิสูจน์ความจริง โดยการเก็บ ม า วิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูลรวบรวมวรรณกรรมประเภทนี้นับเป็น รากฐานของวิชาการวิจัยในยุคปัจจุบัน เพราะในปัจจุบันวงการศึกษา และอาชีพ ทั้งหลาย ต่างนาเอาวิธีการวิจัยเข้าไปใช้ในการพัฒนางานของตนอย่างกว้างขวาง จึงนับเป็นวรรณกรรมที่ได้รับการยอมรับสูงที่สุดในปัจจุบัน
  • 33. ๕. แบ่งตามบ่งเกิดหรือที่มาของวรรณกรรม มี ๖ ประเภท คือ ๖. วรรณกรรมอันเกิดจากวรรณศิลป์ หมายถึงวรรณกรรมที่เกิดจากศิลปะการ ประพันธ์ โดยมีสุนทรียภาพ จินตนาการ และสภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยการ ผ ลิ ต สิ่ ง เร้ า ที่ ส ะท้ อ นเข้ า สู่ จิ ต นั้ น มี ห ลายอย่ า งสุ ด แท้ แ ต่ ว่ า บุ ค คลอยู่ ใ น สภาพแวดล้ อ มใดสิ่ ง เร้ า ที่ นั บ ว่ า มี อิ ท ธิ พ ล และเป็ น ปั จ จั ย ในการสร้ า ง วรรณกรรมมาก ได้แก่ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ ศาสนา และความเชื่อ เป็นต้น (ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ 2525 : 25-27)
  • 34. ๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ ๑. วรรณกรรมทีให้ความรูหรือความคิด เช่น สารคดี รายงาน ตารา พระราชพิธี ่ ้ พงศาวดาร ๒. วรรณกรรมมุงให้ความเพลิดเพลิน เช่น บทละคร นิทาน นิยาย เรื่องสั้น ่ ๓. วรรณกรรมทีมงผสมผสานความรู้ ความคิด และความบันเทิงเข้าด้วยกัน ่ ุ่ ผลงานนี้อาจอยู่ในวรรณคดีประเภทต่าง ๆ ได้ (วิภา กงกะนันทน์ 2523 : 32-34)
  • 35. ๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ สาหรับ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2525 : 28) แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้คือ ๑. วรรณกรรมเชิงวิชาการ หมายถึงวรรณกรรมที่มีจุดประสงค์หรือมีพันธกิจหลัก คือการให้ความรู้ความคิด อันได้จากการบอกเล่า จากญาณทัศน์ จากเหตุผล จากคัมภีร์ และจากการประจักษ์ วรรณกรรมประเภทนี้มุ่งเสนอเนื้อหาแก่ผู้อ่าน เป็นสาคัญและไม่สู้จะให้ความสาคัญในเรื่องรูปแบบเทคนิค และกลวิธีการ ประพันธ์มากนัก กล่าวโดยสรุปก็คือเป็นวรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู้เชิงวิชาการ นั่นเอง
  • 36. ๖. แบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับผู้อ่าน มี ๓ ประเภท คือ สาหรับ ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2525 : 28) แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้คือ ๒. วรรณกรรมเชิง วรรณศิล ป์ หมายถึงวรรณกรรมที่แต่งขึ้นโดยเน้นรูปแบบ เทคนิค และกลวิธีการประพันธ์ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเนื้อเรื่อง แต่การเสนอ ความรู้ความคิดนั้ น ไม่ เน้นในเรื่อ งข้อ มูลอัน เป็นข้ อเท็จ จริงเท่ากับ ความ บันเทิง และสุนทรียภาพ กล่าวโดยสรุปก็คือ เป็นวรรณกรรมที่มุ่งให้ความ บันเทิงและสุนทรียภาพนั่นเอง
  • 37. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม มี ๒ ประเภท คือ ๑. วรรณกรรมในรูปของวัสดุสงพิมพ์ (Printed Materials) หมายถึง ิ่ วรรณกรรมที่ถ่ายทอดงานเขียนที่เป็นตัวอักษรและใช้กระดาษเป็นหลัก แบ่งย่อย ออกเป็น
  • 38. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๑ หนังสือ แบ่งออกเป็น ๑.๑.๑. หนังสือสารคดี (Nonfiction Book) ซึงครอบคลุมถึง ่ ๑.๑.๑.๑ หนังสือตาราวิชาการ (Textbook) เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นตามหลักสูตร ในสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ โดยเล่มหนึ่ง ๆ อาจจะเขียนครอบคลุมเนื้อหาในรายวิชา ใดวิชาหนึ่งอย่างครบถ้วน หรืออาจเขียนเจาะเฉพาะหัวข้อใหญ่ ๆ หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งก็ได้ หนังสือนี้ถ้าเป็นระดับการศึกษาสามัญคือ ประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา จะเรียกว่า หนังสือแบบเรียน ซึ่งต้องเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาตรงตามหลักสูตรที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนดและได้รับอนุมัติให้ใช้เป็นแบบเรียนได้ สาหรับ ระดับอุดมศึกษานั้นเรียกตาราวิชาการ คือจะกาหนดกรอบเนื้อหาไว้ให้ ส่วนผู้เขียนจะ เขียนให้กว้างขวางหรือเจาะลึกอย่างไรก็แล้วแต่บุคคล
  • 39. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) Reading) ๑.๑.๑.๒ หนังสือเรียนและหนังสืออ่านประกอบ (Supplementary เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อใช้อ่านประกอบในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ทีเ่ ล่าเรียนอยู่ใน สถานศึกษา โดยมีเนื้อหาละเอียดขึ้น พิสดารขึน เจาะลึกขึ้น สาหรับผู้ที่สนใจ ้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ที่กว้างขวางไปอีก ๑.๑.๑.๓ หนังสือความรูทวไป เป็นหนังสือที่ผู้เขียนต่างๆ เรียบเรียงขึ้นตามที่ตน ้ ั่ สนใจศึกษาค้นคว้าหรือที่รวบรวมได้ มิได้มุ่งหวังจะให้เป็นตาราสาหรับวิชา หนึ่งวิชาใด แต่เป็นการเสนอความรู้ในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือเรื่องใด เรื่องหนึง ่
  • 40. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๑.๑.๔ หนังสืออ้างอิง (Reference Book) เป็นหนังสือที่มีลักษณะพิเศษ ทาขึ้นเพื่อเป็นการรวบรวมความรู้หลากหลายสาขาเอาไว้รวมกัน หรืออาจ รวบรวมความรู้ที่เป็นพื้นฐานสาคัญของแต่ละสาขาเอาไว้ หนังสือพวกนี้จะมี ลักษณะหนาหลายหน้า หรือเป็นชุดหลายเล่มจบ เวลาใช้ไม่จาเป็นต้องอ่าน ทั้ ง หมด เพี ย งค้ น หาค าตอบเฉพาะที่ ต้ อ งการใช้ ก็ พ อ เช่ น สารานุ ก รม พจนานุกรม หรือหนังสือคู่มือสาขาวิทยาศาสตร์ นามานุกรม เป็นต้น
  • 41. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูนคว้าในหัสข้ดุสิ่งพิข้มหนึ)่ง มีการจัดทา ๑.๑.๑.๕ รายงานวิจย เป็นรายงานการศึกษาค้ ั ปของวั ว อใดหัว อ พ์ ตามลาดับขั้นตอนวิธีวิจัยแบบต่าง ๆ นาข้อมูลมาวิเคราะห์ใช้สถิติต่าง ๆ ประกอบ และ สรุปผลวิจัยออกมา เขียนอย่างมีระเบียบแบบแผน ๑.๑.๑.๖ ปริญญานิพนธ์หรือวิทยานิพนธ์ (Theses or Dissertation) เป็นบทนิพนธ์ที่เรียบ เรียงขึ้นประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เนื้อหาเป็นผลการวิจัยในเรื่องที่ผู้ศึกษาสนใจ ส่วนใหญ่จะเป็นการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ หรือเป็นการพิสูจน์ทฤษฎีที่มีผู้กล่าวไว้หรือเป็นการพิสูจน์สมมุติฐานในเรื่องที่เป็นข้อ สงสัย ซึ่งรูปแบบอาจจะแตกต่างกันไปแต่ละสถาบัน
  • 42. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสษาต่สงิ่งๆพิทมพ์เพื่อบอกรายละเอียด ๑.๑.๑.๗ คูมอสถานศึกษา เป็นหนังสือที่สถาบันการศึก ่ื ดุ า าขึ้น ) เกี่ยวกับสถาบันนั้น ๆ นับแต่ ประวัติ คณะวิชาที่เปิดสอน รายวิชาของคณะวิชาต่าง ๆ ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ รายชื่อคณาจารย์ ๑.๑.๑.๘ สิ่งพิมพ์รฐบาล เป็นหนังสือ เอกสารที่ผลิตโดยหน่วยงานราชการ ั และรัฐวิสาหกิจ อาจจะเป็นการรายงานกิจการประจาปีของหน่วยงาน อาจจะเป็นรายงาน การประชุมทางวิชาการที่หน่วยนั้นจัดขึ้น อาจจะเป็นสถิติข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ที่หน่วยงานนั้นรับผิดชอบอยู่ หรืออาจจะเป็นเอกสารเผยแพร่เชิงวิชาการในเรื่องที่ หน่วยงานนั้นเชี่ยวชาญ
  • 43. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัหนัดุสือิ่งที่เขีมนขึ)้นจากจินตนาการ ๑.๑.๒ หนังสือบันเทิงคดี (Fiction Book) เป็น ส ง ส พิ ยพ์ มุ่งให้ความบันเทิงเป็นสาคัญ แบ่งย่อยได้ดังนี ๑.๑.๒.๑ หนังสือนวนิยาย ๑.๑.๒.๒ หนังสือรวมเรืองสัน ่ ้ ๑.๑.๒.๓ หนังสือสาหรับเด็กและเยาวชน ส่วนใหญ่เป็นหนังสือภาพ หรือเป็น เรื่องสั้น ๆ เขียนเพื่อสอนจริยธรรมแก่เด็ก หรือให้ความรู้ที่เด็กควรรู้ มักจะมี ขนาดบาง หน้าไม่มากนักอย่างไรก็ตาม หนังสือเด็กและเยาวชนที่มีชื่อเดียว อาจ เป็นการบันเทิงล้วน ๆ แต่แทรกคติสอนใจไว้อย่างเนียบเนียน
  • 44. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูเนือของวัสดุสิ่งพิม่กพ์) สิ่งพิมพ์ประเภท ๑.๒ สิงพิมพ์ตอเนือง หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่ออกต่อ ่ ่ ่ ป่ งกันตามกาหนดเวลาที าหนดไว้ นี้เมื่อก่อนภาษาอังกฤษใช้คาเรียกคลุมกว้าง ๆ ว่า periodicals แต่ปัจจุบันใช้คาว่า serials ซึ่ง ครอบคลุมถึงสิ่งพิมพ์ต่อไปนี้ ๑.๒.๑ หนังสือพิมพ์รายวัน สิ่งพิมพ์ที่ออกประจาวัน แต่ถา้ เป็นหนังสือพิมพ์ใน ท้องถิ่นอาจจะเป็นราย 7 วัน หรือราย 10 วัน ราย 15 วัน ตามความเหมาะสม หนังสือพิมพ์จะเสนอ ข่าวความเคลื่อนไหวเหตุการณ์ในปัจจุบน โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือ ั เหตุการณ์ที่สังคมสนใจ นอกจากนี้ยังเสนอบทความ ความคิดเห็นต่อเรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เสนอ เรื่องทางวิชาการ ตลอดจนนวนิยาย สารคดีที่น่าสนใจต่าง ๆ หนังสือพิมพ์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ๑.๒.๑.๑ ประเภทเสนอข่าวให้คด เสนอข่าวแนวการเมือง และเศรษฐกิจ ิ ๑.๒.๑.๒ ประเภทเสนอข่าวให้รา้ วใจ ข่าวมีรายละเอียดมากเพื่อเร้าใจให้ผู้อา่ น ติดตามเรื่องราว หนังสือพิมพ์ประเภทนี้ มุ่งเสนอข่าวประเภทอาชญากรรม ข่าวอุบติเหตุ ข่าวบันเทิง ั
  • 45. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม ่ ่ ่ (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๒ สิงพิมพ์ตอเนือง ๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals) เป็นสิ่งพิมพ์ที่พิมพ์เผยแพร่มีชื่อเรียกแน่นอน และมีกาหนดเวลาออกไว้แน่นอน เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน ราย 2 เดือน เป็น ต้น ตีพิมพ์บทความและเรื่องราวต่าง ๆ ที่ทันสมัยไว้ในเล่มเดียวกันเขียนโดยผู้เขียน หลายคน เนื้อหาสาระภายในจะเป็นเรื่องในแนววิชาเดียวกัน หรือเป็นเรื่องหลายเรื่อง หลายแบบรวม ๆ กันก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการจัดทาวารสารนั้น ๆ เนื้อเรื่อง จะจบในฉบับหรือต่อเนื่องกันไปหลายฉบับก็ได้ รูปเล่มของวารสารชื่อหนึ่ง ๆ มักจะเป็น แบบเดียวกันและจะให้หมายเลขของปีที่ (Volume) ฉบับที่ (Number) หรือวันเดือนปี (Date) ประจาฉบับไว้ด้วยโดยเลขที่ดังกล่าวจะต่อเนื่องกับฉบับก่อน ๆ ที่ตีพิมพ์มาแล้ว วารสารแบ่งตามลักษณะเนื้อหาได้ 3 ประเภท ดังนี้
  • 46. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals) ๑.๒.๒.๑ วารสารวิชาการ (Journals) เป็นวารสารที่จัดทาขึ้นเพื่อส่งเสริมความรู้และวิชาการต่าง ๆ เนื้อ เรื่องจะให้ความรู้ทางวิชาการ รวมทั้งนาเสนอผลงานทางวิชาการ หรือผลการวิจัยที่ยังไม่เคยพิมพ์ เผยแพร่มาก่อน จัดทาโดยนักวิชาการนั้น ๆ โดยตรง ๑.๒.๒.๒ วารสารทัวไปหรือนิตยสาร (Magazines) เป็นวารสารสาหรับผูอ่านทัวไป มุ่งให้ทั้งความรู้ ่ ้ ่ และความบันเทิง ความรูมักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ ความเข้าใจและทัศนคติในเชิงวิเคราะห์ ้ ไม่ให้เนือหาทางวิชาการล้วน ๆ อาจแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ้ ก. ประเภทมุ่งเสนอความบันเทิงเป็นหลัก เนื้อเรื่องส่วนใหญ่จะเป็นนวนิยาย เรื่องสั้น อาจจะแทรก เกร็ดความรู้ สารคดี เรืองราวเบ็ดเตล็ด และสรุปข่าว เหตุการณ์ต่าง ๆ ไว้ด้วย ่ ข. ประเภทที่ให้ความรู้มากกว่าความบันเทิงหรือมีทั้งสองอย่างก้ากึ่งกัน
  • 47. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๒.๒ วารสาร (Periodicals) ๑.๒.๒.๓ วารสารเสนอข่าวเชิงวิจารณ์ (News Magazines) หมายถึง วารสารที่เสนอบทความและ บทวิจารณ์ อธิบายข่าว วิเคราะห์ข่าว สรุปข่าวทางด้านการเมืองเศรษฐกิจ การศึกษาศิลปกรรม ภาพยนตร์ และอื่น ๆ เนื้อหาส่วนใหญ่คอนข้างหนัก เช่น มติชนสุดสัปดาห์ สยามรัฐ ่ สัปดาหวิจารณ์ เนชั่นสุดสัปดาห์ เป็นต้น
  • 48. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูมพ์ที่ออกประจสิ่งอพิมพ์)นทุกปี เช่นรายงาน ๑.๒.๓ หนังสือรายปี (Yearbook) เป็นสิ่งพิ ปของวัสดุ าต่ เนื่องกั ประจาปี รายงานการประชุมประจาปี สิ่งพิมพ์ประเภทนี้เมื่อห้องสมุดได้มา ส่วนใหญ่จะ จัดรวมอยู่กับพวกหนังสือ
  • 49. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุสิ่งพิมพ์) ๑.๓ จุลสาร (Pamphlet) เป็นหนังสือที่มีเรื่องราวสั้น ๆ มีความหนาไม่มาก โดยประมาณก็คือ 60 หน้า หรืออาจจะหนากว่านี้เพียงเล็กน้อย
  • 50. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม มี ๒ ประเภท คือ ๒. วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตพมพ์ (Non-Printed Materials) หมายถึง ี ิ วรรณกรรมที่ ถ่ายทอดงานลงในวัสดุไม่ตพิมพ์ หรือโสตทัศนวัสดุ ซึ่งวรรณกรรมประเภท ี นี้บางครั้งได้ถ่ายทอดมาจากวรรณกรรม ภาพยนต์ที่นาเรื่องจากวรรณกรรมมา ถ่ายทอดทา หรืออาจจัดทาขึ้นโดยเฉพาะก็ได้ บทเพลงที่บันทึกลงในแผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง หรือ แผ่นดิสก์ เป็นต้น วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์ แบ่งย่อยออกเป็น
  • 51. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัได้แดุไม่ตีพิมพ์) ๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) ส ก่ ๒.๑.๑ แผ่นเสียง (Phonodisc) ทาด้วยครั่งหรือพลาสติก ผิวบนจะถูกเซาะ เป็นร่องเล็ก ๆ ติด ๆ กันเป็นวงกลม มีความสูงต่าไม่เท่ากัน เวลาใช้ต้องใช้กับเครื่องเล่น แผ่นเสียง เข็มของเครื่องเล่นจะครูดไปตามร่องของแผ่นเสียง จะเกิดการเสียดสีไปตาม ความลึกตื้นของร่อง ทาให้เกิดการสั่นสะเทือน เข็มจะส่งสัญญาณไปแปลงเป็น คลื่นไฟฟ้า แล้วแปลงต่อเป็นคลื่นแม่เหล็ก และเป็นคลื่นเสียงในที่สุด แผ่นเสียงมีหลาย ขนาด เช่น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ้ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว แต่ละขนาด ความเร็วสาหรับการหมุนแผ่นก็จะไม่เท่ากัน
  • 52. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์) ๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) สแ ๒.๑.๒ แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (Phonotape) เป็นแถบแม่เหล็กที่บันทึก คลื่นเสียงเอาไว้ ที่นิยมกันมีแบบเป็นม้วน (reel tape) และแบบคาสเส็ท (cassette tape) ๒.๑.๓ แผนเสียงระบบดิจตอล (Compact Digital Audio Disc) เป็นแผ่นอะลูมิเนียม ิ ฉาบด้วยพลาสติกใสแล้วเคลือบด้วยแลกเกอร์ใสและแสงผ่านได้สัญญาณจะถูกอ่านด้วย ลาแสงเลเซอร์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม. สัญญาณเสียงที่ออกมาจะใกล้เคียงมาก ที่สุด
  • 53. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์) ๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) สแ ๒.๑.๔ ภาพยนตร์ (Motion Pictures) คือภาพถ่ายที่เป็นภาพนิ่งชนิดโปร่งใสที่บันทึก อิริยาบทหรืออาการเคลื่อนไหวติดต่อกัน เป็นจานวนอย่างน้อย 16 ภาพ/วินาที ลงบน แผ่นฟิล์ม เมื่อนาเอาภาพซึ่งอยู่ในลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาฉายด้วยอัตราเร็วเดียวกันจะ ทาให้เห็นภาพในลักษณะเคลื่อนไหวเหมือนธรรมชาติ ฟิล์มภาพยนต์มีทั้งชนิดฟิล์ม ขาว-ดา และชนิดฟิล์มสี และมีฟิล์มชนิดไม่มีเสียง (Silen Film) และฟิล์มมีแถบเสียง ฟิล์มภาพยนต์มีหลายขนาด เช่น ขนาด 8 มม. ธรรมดา 8 มม. พิเศษ ฟิล์มขนาด 16 มม. ชนิดมีเสียงและไม่มีเสียง ฟิล์มขนาด 35 มม. และฟิล์มขนาด 70 มม.
  • 54. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัได้ดุก่ไม่ตีพิมพ์) ๒.๑ โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials) สแ ๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape) วิดีทัศน์เป็นสื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียง ีั เช่นเดียวกับภาพยนต์ แต่อานวยประโยชน์สะดวกสบาย และคล่องตัวในการใช้มากกว่า วิดีทัศน์ มี 2 ประเภท คือ
  • 55. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์) ๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape) ีั ๒.๑.๕.๑ เทปวิดีทศน์ (Video Tape) มีหลายขนาดดังนี้ ั ก. แบบตลับ (Videocassette) มีขนาด ? นิ้ว เรียกว่า ระบบยูเมติก (U-Matic) ขนาด ? นิ้ว นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เรียกว่า ระบบวีเอชเอส (Video Home System หรือ VHS) และยังมีการพัฒนาให้มีคุณภาพสูงขึ้นทั้งการบันทึกและการเล่น เรียกว่า Super VHS หรือ S-VHS นอกจากนี้ยังมีเทปวิดีทัศน์ขนาดเล็ก คือ VHS-C และ 8 มม. ข. แบบม้วนเปิด (Video reel) มีขนาด 2 นิ้ว 1 นิ้ว และ ? นิ้ว เป็นเทป วิดีทัศน์ที่ใช้กับสถานีโทรทัศน์ภายหลังหันมาใช้ขนาด 1 นิ้วแทน เพราะเครื่องเล่นและ ม้วนเทปราคาแพง ค. แบบกล่อง (Video Cartridge) เป็นเทปขนาด 1 นิ้ว ไม่นิยมตาม บ้าน แต่ใช้สาหรับการโฆษณา
  • 56. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์) ๒.๑.๕ วิดทศน์ (Video Tape) ีั ๒.๑.๕.๒ แผ่นวิดทศน์ (Videodisc) แผ่นวิดีทัศน์ มีลักษณะคล้ายแผ่นเสียง แต่สามารถ ีั บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ด้วยสัญญาณดิจิตอล และอ่านสัญญาณข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ มี 2 แบบ คือ ก. แผ่นวิดีทัศน์ชนิดใช้เข็ม ข. แผ่นวิดีทัศน์ระบบเลเซอร์ หรือ LV (Laser Vision)
  • 57. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์) ๒.๒ วัสดุคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ๒.๒.๑ จานแม่เหล็ก แบ่งได้ 2 ชนิด คือ ๒.๒.๑.๑ จานแม่เหล็กแบบอ่อน (Floppy Disc) มี 2 ขนาด คือ 5 นิ้ว และ ขนาด 3 นิ้ว ๒.๒.๑.๒ จานแม่เหล็กแบบแข็ง (Hard Disc) สามารถบรรจุข้อมูลได้มากกว่า ชนิดบางหลายร้อยเท่า ๒.๒.๒ ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นเอง (In-house Database)
  • 58. ๗. แบ่งตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอของ วรรณกรรม • (วรรณกรรมในรูปของวัสดุไม่ตีพิมพ์) ๒.๒ วัสดุคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ๒.๒.๓ ฐานข้อมูลสาเร็จรูป (Compact Disc-Read oญnly Memory : CD- ROM) • มีลักษณะเหมือนแผ่น CD-Audio แต่ใช้บันทึกข้อมูลและสืบค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซีดีรอม 1 แผ่น สามารถบันทึกข้อมูลได้เท่ากับ จานวนจานแม่เหล็กแบบอ่อน 1,500 แผ่น หรือประมาณ 600 เมกกะไบต์ ซึ่งเท่ากับจานวนกระดาษขนาด A4 ประมาณ 250,000 หน้า นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกภาพทั้งสี และขาว-ดา ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิก เสียงพูด และเสียงดนตรี ผู้ผลิตซีดีรอมได้บรรจุ ความรู้ ต่าง ๆ เช่น สารานุกรม พจนานุกรม ฐานข้อมูล DAO, ERIC, LISA เป็นต้น
  • 59. ๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ ๑. วรรณกรรมปฐมภูมิ (Primary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากความคิด ความริเริ่ม การค้นพบ และ ประสบการณ์ของผู้ผลิตเองสาหรับนาไปใช้งาน หรือเผยแพร่แก่สาธารณชน เช่น เอกสารจดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ รายงานการ วิจัย และเอกสารส่วนบุคคล เป็นต้น
  • 60. ๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ ๒. วรรณกรรมทุตยภูมิ (Secondary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจากการ ิ รวบรวม วิเคราะห์เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลมาจากวรรณกรรม ปฐมภูมิ เช่น หนังสือตาราต่าง ๆ หนังสือพจนานุกรม และหนังสือสารานุกรม เป็นต้น
  • 61. ๘. แบ่งตามต้นกาเนิดของวรรณกรรม แบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ ๓. วรรณกรรมตติยภูมิ (Tertiary Source) เป็นวรรณกรรมที่เกิดจาก การ รวบรวม วิเคราะห์ เลือกสรร ประมวล และเรียบเรียงข้อมูลจากวรรณกรรม ทุติยภูมิเป็นหลัก เช่น เอกสารคาสอน รายงานของนักศึกษา และคู่มือศึกษา กระบวนวิ ช าต่ า ง ๆ เป็ น ต้ น จากทั ศ นะต่ า ง ๆ ที่ มี ผู้ จ าแนกประเภท ของ วรรณกรรมนั้นจะทาให้ผู้ที่ศึกษาวรรณกรรม สามารถที่จะเข้าใจถึงรูปแบบต่าง ๆ ของวรรณกรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการแบ่งตามคุณค่าที่มุ่งให้กับ ผู้อ่าน และตามรูปแบบหรือวัสดุและสื่อของการเสนอวรรณกรรม จะช่วยให้ผู้ ศึกษาวรรณกรรมสามารถศึ กษารูปแบบวรรณกรรมในศาสตร์ต่ าง ๆ เชิ ง วิจารณ์
  • 62. อ้างอิง • http://www.thaigoodview.com /library/contest2552/type2/th ai04/07/index.html • http://blog.eduzones.com/win ny/3620http://blog.eduzones. com/winny/3620