SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าสู่เนื้อหาเรื่องโวหารภาพพจน์
เหมาะสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถนามา
ประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในวรรณกรรม
เรื่องต่างๆได้




                                                           หน้าต่อไป...
สวัสดีครับ ! ผมชื่อ “รักไทย”
ผมมีหน้าที่นาพาทุกท่านเข้าชม
สื่อการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่อง
    …“โวหารและภาพพจน์”...
ซึ่งแยกออกเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้
อยากไปศึกษาเรื่องใดก่อน ก็คลิ๊ก
เลือกได้เลยครับ... ^_^
อุปมา



อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดย
ใช้คาเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คาว่า " เหมือน
       เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก
เล่ห์ ปาน ประหนึ่งเพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ
      ตัวอย่างเช่น
                ปัญญาประดุจดังอาวุธ
                ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง
                ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา




                                                            กลับหน้าหลัก
อุปลักษณ์



อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน
แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
          อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย
ให้เข้าใจเอาเอง         ที่สาคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคาเชื่อมเหมือนอุปมา
          ตัวอย่างเช่น
                 ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย
                 ทหารเป็นรั้วของชาติ
                 เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด
                 เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์
                 ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ
                 ครูคือแม่พิม์ของชาติ
                 ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง กลับหน้าหลัก
ปฏิพากย์



       ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคาที่มีความหมายตรงกันข้าม
หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้าหนักมากยิ่งขึ้น
                                   ตัวอย่างเช่น
                                                  เลวบริสุทธิ์
                                                  บาปบริสุทธิ์
                                                  สวยเป็นบ้า
                                                  สวยอย่างร้ายกาจ
                                                  สนุกฉิบหาย
                                                  สวรรค์บนดิน
                                                  ยิ่งรีบยิ่งช้า
                                                  น้าร้อนปลาเป็นน้าเย็นปลาตาย
                                                  เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย
                                                  รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ
                                                  แพ้เป็นพระชนะเป็นมาร             กลับหน้าหลัก
อติพจน์




อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก
ทาให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง
          ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่
ทาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน
                      ตัวอย่างเช่น
                                    คิดถึงใจจะขาด
                                    คอแห้งเป็นผง
                                    ร้อนตับจะแตก
                                    หนาวกระดูกจะหลุด
                                    การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า
                                    คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก กลับหน้าหลัก
บุคลาธิษฐาน




บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต
  ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน
  หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้
  แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์
            ( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน
            หมายถึง           อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล )




                                                                          กลับหน้าหลัก
สัญลักษณ์



          สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ
ส่วนใหญ่คาที่นามาแทนจะเป็นคาที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ
ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป
 ตัวอย่างเช่น
เมฆหมอก แทนอุปสรรค
สีดาแทนความตาย ความชั่วร้าย
สีขาว แทนความบริสุทธ
กุหลาบแดงแทนความรัก
หงส์ แทนคนชั้นสูง


                                                                       กลับหน้าหลัก
นามนัย




นามนัย คือการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใด
สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึง
เอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด
                ตัวอย่างเช่น
 เมืองโอ่งหมายถึงจังหวัดราชบุรี
เมืองย่าโมหมายถึงจังหวัดนครราชสีมา
ทีมเสือเหลืองหมายถึงทีมมาเลเซีย
ทีมกังหันลมหมายถึงีมเนเธอร์แลนด์
ทีมสิงโตคาราม หมายถึงอังกฤษ

                                                                 กลับหน้าหลัก
สัทพจน์



สัทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น
 เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้าไหล ฯลฯ
 การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
       ตัวอย่างเช่น
           ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ
           เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด
           ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสารวลสรวลสันต์
           คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง
           น้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียงกังวาน



                                                        กลับหน้าหลัก
คณะผู้จัดทา

1. ครูปทุมพร พงศ์ทอง
2. ครูเตือนจิตต์ ศรีอนันต์

    โรงเรียนปทุมวิไล




                             กลับหน้าหลัก

More Related Content

What's hot

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 

What's hot (20)

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 

Similar to โวหารในวรรณคดี

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1Vorramon1
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักnanpom1
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 

Similar to โวหารในวรรณคดี (20)

โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รักป้อมแนนที่รัก
ป้อมแนนที่รัก
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
โวหาร19 กพ
โวหาร19 กพโวหาร19 กพ
โวหาร19 กพ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 

โวหารในวรรณคดี

  • 1. สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าสู่เนื้อหาเรื่องโวหารภาพพจน์ เหมาะสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถนามา ประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในวรรณกรรม เรื่องต่างๆได้ หน้าต่อไป...
  • 2. สวัสดีครับ ! ผมชื่อ “รักไทย” ผมมีหน้าที่นาพาทุกท่านเข้าชม สื่อการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่อง …“โวหารและภาพพจน์”... ซึ่งแยกออกเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้ อยากไปศึกษาเรื่องใดก่อน ก็คลิ๊ก เลือกได้เลยครับ... ^_^
  • 3. อุปมา อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดย ใช้คาเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คาว่า " เหมือน เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่งเพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ ตัวอย่างเช่น ปัญญาประดุจดังอาวุธ ไพเราะกังวานปานเสียงนกร้อง ท่าทางหล่อนราวกับนางพญา กลับหน้าหลัก
  • 4. อุปลักษณ์ อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย ให้เข้าใจเอาเอง ที่สาคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคาเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ทหารเป็นรั้วของชาติ เธอคือดอกฟ้าแต่ฉันนั้นคือหมาวัด เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ครูคือแม่พิม์ของชาติ ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากาลัง กลับหน้าหลัก
  • 5. ปฏิพากย์ ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคาที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้าหนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า น้าร้อนปลาเป็นน้าเย็นปลาตาย เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ แพ้เป็นพระชนะเป็นมาร กลับหน้าหลัก
  • 6. อติพจน์ อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ทาให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ ทาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะแตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก กลับหน้าหลัก
  • 7. บุคลาธิษฐาน บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล ) กลับหน้าหลัก
  • 8. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คาที่นามาแทนจะเป็นคาที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทนอุปสรรค สีดาแทนความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทนความบริสุทธ กุหลาบแดงแทนความรัก หงส์ แทนคนชั้นสูง กลับหน้าหลัก
  • 9. นามนัย นามนัย คือการใช้คาหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใด สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึง เอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่งหมายถึงจังหวัดราชบุรี เมืองย่าโมหมายถึงจังหวัดนครราชสีมา ทีมเสือเหลืองหมายถึงทีมมาเลเซีย ทีมกังหันลมหมายถึงีมเนเธอร์แลนด์ ทีมสิงโตคาราม หมายถึงอังกฤษ กลับหน้าหลัก
  • 10. สัทพจน์ สัทพจน์ หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้าไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทาให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ ตัวอย่างเช่น ลูกหมาร้องบ๊อก ๆ ๆ ลุกนกร้องจิ๊บๆๆ ลูกแมวร้องเหมียว ๆ ๆ เปรี้ยง ๆ ดังเสียงฟ้าฟาด ตะแลกแต๊กแต๊กตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสารวลสรวลสันต์ คลื่นซัดครืนครืนซ่าที่ผาแดง น้าพุพุ่งซ่า ไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการ เสียงกังวาน กลับหน้าหลัก
  • 11. คณะผู้จัดทา 1. ครูปทุมพร พงศ์ทอง 2. ครูเตือนจิตต์ ศรีอนันต์ โรงเรียนปทุมวิไล กลับหน้าหลัก