SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
มวล และกฎการเคลื ่ อ นที ่
   1. แรง (Force)
   หมายถึง สิงที่กระทำาต่อวัตถุในรูปของการ
              ่
   พยายามดึงหรือดันที่จะทำาให้วัตถุนนั้
   เคลื่อนที่
   • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและ
   ทิศทาง
   • เมื่อมีแรงมากระทำาต่อวัตถุ วัตถุอาจจะ
   เคลื่อนที่หรือไม่ก็ได้
กรณีที่มีแรงหลายแรงกระทำาต่อวัตถุ พิจารณา
จากแรงลัพธ์ (Resultant force, Net force)
การรวมแรงทั้งหมดที่กระทำาแบบเวกเตอร์ ถ้ามี
แรงสองแรงซึ่งอยู่ในทิศตั้งฉากกันกระทำา เช่น
 และ    แรงลัพธ์คือ
กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทำาต่อวัตถุ
สามารถหาแรงลัพธ์ได้จากการรวมองค์ประกอบ
ทางแกน x และทางแกน y ของแรงต่าง ๆ ที่
กระทำา ได้แรงลัพธ์ในรูปขององค์ประกอบทาง
             Y
แกน x และทางแกน y ซึ่งตั้งฉากกัน



                            X
2. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข องนิ ว ตั น
เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Issac
Newton) นักฟิสกส์ชาวอังกฤษ ได้สรุป
                  ิ
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งที่อยู่
อยู่นงและในสภาพการเคลื่อนที่เป็น “
      ิ่
กฎข้อที่ 1่อนที่ของนิวตัน”
กฎการเคลื “ วัตถุจะคงสภาพอยู่นิ่ง หรือ
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในแนวตรง
นอกจากจะมีแรงลัพธ์ ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มาก
ระทำาต่อวัตถุนั้น ”
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน ใช้กับ
กรอบอ้างอิงเฉื่อย (ความเร่งเป็นศูนย์) เท่านั้น
กฎข้อที่ 2 “ เมื่อมีแรงลัพธ์ ซึ่งมีขนาดไม่
เป็นศูนย์ มากระทำาต่อวัตถุ จะทำาให้วตถุเกิด
                                     ั
ความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทำา
และขนาดของความเร่ง จะแปรผันตรงกับ
ขนาดของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวล
ของวัอที่ ” “ ทุกแรงกิริยา (Action Force)
กฎข้ ตถุ 3
จะต้องมีแรงปฏิกิริยา (Reaction Force) ที่มี
ขนาดเท่ากันและทิศตรงข้ามเสมอ ”
3. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข ้ อ ที ่ ส อง
ของนิรงลัพน ซึ่งมีขนาดไม่เป็นศูนย์มากระทำา
“เมื่อมีแ ว ตั ธ์
ต่อวัตถุ จะทำาให้วัตถุเกิดความเร่งในทิศเดียว
กับแรงลัพธ์ที่มากระทำา และขนาดของความเร่ง
จะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ และจะ
แปรผกผันกับมวลของวัตถุ”
มวล (mass) ของวัตถุ เป็นสมบัติประจำาตัวของ
วัตถุอย่างหนึ่ง
• มวลของวัตถุ นิยามว่า เป็นสมบัติทาง
ความเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
ของวัตถุ
• วัตถุที่มีมวลมากจะต้านการเปลี่ยนสภาพการ
เคลื่อนที่ได้มาก ส่วนวัตถุที่มมวลน้อยจะต้าน
                              ี
การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้นอย ้
• มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม
• มวลของวัตถุที่เคลื่อนที่ มีความสัมพันธ์กับ
แรงที่มากระทำาอย่างไร ?
              a ∝ F
• จากการทดลอง สรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ดงนี้
                                      ั
• ในกรณีที่มวลคงตัว ขนาดของความเร่ง a จะ
ในกรณีใช้แรงค่าคงตัว ขนาดของความเร่ง
a แปรผกผันกับมวล m 1
                a∝ m

สรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า
               a∝ F
                     m
               F ∝ ma
เขียนเป็นรูปสมการได้เป็น

                F =          kma
เมื่อ k เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน
ในหน่วยเอสไอ กำาหนดให้ k = 1 โดยกำาหนด
หน่วยของแรง เป็น 1 นิวตันเมื่อมวลเป็นหนึง
                                        ่
กิโลกรัม
ความเร่งเป็นหนึ่งเมตร/วินาที 2 หมายถึง แรง 1
นิวตัน ที่ทำาให้วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วย
                F = ma
ความเร่ง 1 เมตร/วินาที 2

แรงและความเร่งเป็นปริมาณเวกเตอร์
เขียนในรูปของสมการเวกเตอร์ได้เป็น
4. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข ้ อ ที ่ ส าม
ของนิ ว ริยาจะต้องมีแรงปฏิกิริยา ที่มีขนาด
“ ทุกแรงกิ ตั น
เท่ากันและทิศตรงข้ามกันเสมอ ”
เช่น โลกและดวงจันทร์ที่ดึงดูดกัน แรงที่โลก
ดึงดูดดวงจันทร์ จะมีขนาดเท่ากับแรงที่ดวง
จันทร์ดงดูดโลก สองแรงนี้มีขนาดเท่ากันและ
       ึ
ทิศตรงกันข้าม
ถ้า      เป็นแรงที่กระทำาต่อวัตถุก้อนที่หนึ่ง
          เป็นแรงที่กระทำาต่อวัตถุก้อนที่สอง
พิสจน์โดยใช้เครื่องชั่งสปริงสองตัว โดยเกี่ยวกัน
    ู
แล้วใช้มือทั้งสองออกแรงดึงที่สองปลาย เครื่อง
ชังทั้งสองอ่านค่าได้เท่ากันเสมอ
  ่



แรงกิริยา-ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอทั้งกรณีที่วัตถุ
สัมผัสกัน หรือไม่สมผัสกัน
                   ั
เช่น แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์
      แรงระหว่างประจุไฟฟ้า
      แรงดูด-ผลักของแท่งแม่เหล็ก
วั ต ถุ แ ขวนจากเพดานด้ ว ย
เชื อ ก แรงที่เพดานดึงเชือก

      แรงที่เชือกดึงเพดาน

      แรงที่เชือกดึงวัตถุ

       แรงที่วัตถุดึงเชือก

       นำ้าหนักของวัตถุ
5. นำ ำ า หนั ก (Weight)
พิจารณาการตกแบบเสรีของวัตถุ ความเร่งของ
วัตถุมีคาคงตัว
        ่
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน วัตถุจะ
เคลื่อนที่ด้วยความเร่งถ้าแรงลัพธ์ที่มากระทำาไม่
เป็นศูนย์
วัตถุมวล m ตกแบบเสรีด้วยความเร่ง
แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อ่ข้ตทีนคือ แรงดึวตัน ของ
จากกฎการเคลื่อนที วัอถุ ่สี้ องของนิ งดูด
โลก หรือ นำ้าหนักของวัตถุ
     นำ้าหนักของวัตถุ
วัตถุสองก้อนมีมวล m1 และ m2 ตามลำาดับ
อัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุทั้งสองจะ
สัมพันธ์กับอัตราส่วนระหว่างนำ้าหนักของวัตถุ
ทั้งสองอย่างไร ?



สรุปได้ว่า อัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุสอง
ก้อนจะเท่ากับอัตราส่วนระหว่างนำ้าหนักของ
วัตถุทั้งสอง ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน
หน่วยของนำ้าหนักมีหน่วยเป็น นิวตัน หรือ
กิโลกรัม ?
6. กฎแรงดึ ง ดู ด ระหว่ า งมวล
ของนิ ว ตั น จึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ?
ทำาไมดาวเคราะห์
นิวตันนำาผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์
มาสรุปได้ว่า การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวง
อาทิตย์ได้เนื่องจากมีแรงกระทำาระหว่างดวง
อาทิตย์กับดาวเคราะห์ เสนอกฎแรงดึงดูด
ระหว่างมวลไว้ว่า
“ วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูด
ซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูด
ระหว่างวัตถุคู่หนึง ๆ จะแปรผันตรงกับผล
                  ่
คูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสองและจะแปร
m1                                    m2
                    R


        แรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุคู่
        หนึง
           ่


เมื่อ G เป็น ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล
มีค่าเดียวกันเสมอไม่ว่าวัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็น
วัตถุใด ๆ
G เรียกว่า ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล
(Universal gravitational constant) มีค่า
คำำถำม : จะมีวิธีการหามวลของโลกได้
อย่างไร ?
ตอบ ใช้กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิว
ตัน ได้มวลของโลกมีค่าประมาณ 6 x 10 24
kg หนัก ณ ตำาแหน่งที่ห่างจากผิวโลก
นำำา
คำำถำม : ทำาไมนำ้าหนักของวัตถุจึงลดลง
เมื่อวัตถุอยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น
ตอบ เนื่องจาก Fg = mg ดังนั้นค่า
ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง g จะมีค่า
ลดลงเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น
คำำถำม : ทำาไมค่า g บนผิวโลกแต่ละที่จึงมี
ค่าต่างกัน ?
ตอบ เนื่องจาก ค่า g มีค่าลดลงตามระดับ
ความสูงและเป็นปฏิภาคผกผันกับระยะห่าง
จากศูนย์กลางของโลกกำาลังสอง
สภาพไร้ น ำ ำ า หนั ก
(weightlessness)
เป็นสภาพที่ปรากฏเฉพาะต่อผู้สงเกตที่มี
                                   ั
ความเร่ง ทำาให้รู้สึกว่าไม่มีนำ้าหนัก ทั้งที่ยังมี
แรงดึงดูดของโลกอยู่
เช่น คนที่อยู่ในดาวเทียมที่กำาลังโคจรรอบ
แรงเสี ย ดทาน (Friction Force)
แรงเสียดทาน คือ แรงต้านที่เกิดจากการสัมผัส
กันระหว่างผิววัตถุ 2 ผิว
                     N

                                        F
       f
                       mg

แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ ค่า
ของแรงมากที่สุดที่เริ่มทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้
                 ƒ s = µ sN
แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรง
เสียดทานขณะที่วัตถุกำาลังเคลื่อนที่
             ƒ k = µ kN
สำาหรับผิวสัมผัสคู่หนึ่ง สัมประสิทธิ์ความเสียด
ทานสถิต(µs) มีค่ามากกว่าสัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานจลน์ (µk) เสมอ
ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นกับลักษณะและ
ชนิดของผิวสัมผัส
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ฎการเคลื ่ อ นที ่
ของนิ ว ตั น
หลักกำรแก้ปัญหำ
2. พิจารณาเฉพาะแรงภายนอกที่กระทำากับ
   วัตถุ โดยการเขียนแผนภาพของแรงที่
   กระทำาต่อวัตถุที่เรียกว่า Free-body
   diagram
3. แตกแรงที่กระทำาต่อวัตถุให้อยู่ในแกนที่
   เหมาะสม
4. พิจารณาแรงที่กระทำาต่อวัตถุในแต่ละแกน
   โดยใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตัวอย่ำงที่ 1 ถ้าแรง F ขนาด 20 N ทำามุม 600
กับแนวราบ จงหาความเร่งของกล่อง กำาหนดให้
กล่องมวล 5 kg , g = F9.8 m/s2 , µ = 0.1
                   6
                   00
ตัวอย่ำงที่ 2 มวล m วางอยู่บนกล่องมวล M
โดยมีสมประสิทธิความเสียดทานสถิตระหว่างมวล
       ั       ์
ทั้งสองเป็น  และกล่อง M วางอยู่บนพืนลื่น้
ออกแรงลากกล่อง M ให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าด้วย
                        m
ความเร่ง a จงหาค่า a สูงสุดที่ทำาให้มวล m ไม่
                         M            F
ไถล
ตัวอย่ำงที่ 3 มวล m และมวล M ผูกติดกัน
ด้วยเชือกที่ไม่ยืด และคล้องผ่านรอกลื่นดังรูป จง
หาความเร่งของมวลทั้งสองและแรงตึงในเส้น
เชือก โดยสมมติให้ M > m
                          a         a
           M
 m
               θ              m M


ตัวอย่ำงที่ 4 มวล M ผูกติดกับเชือกไม่ยืดที่
คล้องผ่านรอกลื่น และปลายอีกข้างหนึ่งผูกกับ
มวล m ที่วางอยู่บนพื้นเอียงลื่นที่เอียงทำามุม
กับแนวระดับ จงหาความเร่งของมวลทั้งสอง
และถ้ามวลทั้งสองอยู่นิ่งกับที่ จงหามุมเอียง
ตัวอย่ำงที่ 5 แท่งทองเหลืองวางบนแผ่น
เหล็กกล้าที่ทำามุมเป็นพื้นเอียง สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานระหว่างสองผิวคู่นมีคา s = 0.50
                             ี้ ่
และ k = 0.44 จงหาค่ามุม           ที่พื้นเอียงทำา
กับแนวระดับที่ทำาให้แท่งทองเหลืองเริ่มเคลื่อนที่
 หลังจากเริ่มเคลื่อนที่แล้วแท่งทองเหลืองจะมี
ตัวอย่ำงที่ ใด ถ้าแรงที่ชางดึงซุงเท่ากับแรงที่
ความเร่งเท่า 6 ถ้าค่ามุมไม่เปลี่ยนแปลง
                           ้
ซุงดึงช้างตามกฎข้อที่สามของนิวตัน ช้างลาก
ซุงให้เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วคงตัวได้อย่างไร
ตัวอย่ำงที่ 7 รถยนต์มีเครื่องยนต์ที่มีกำาลัง
สามารถหมุนล้อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ ถ้า
กำาหนดให้ว่ากำาลังของรถ คือ P = Fv มีค่าคงตัว
และเมื่อรถวิ่งในอากาศจะมีแรงต้านของอากาศ
เท่ากับ kv2 (แรงต้านเป็นปฏิภาคกับ v2) เมือ v่
เป็นอัตราเร็วที่รถวิ่ง กฎของนิวตันทำานายว่ารถจะ
วิ่งบนพื้นราบด้วยความเร็วจำากัดหรือความเร็ว
                           v
สุดท้าย (ไม่สามารถจะวิงเกินความเร็วค่าหนึ่งได้)
                         ่
 จงแสดงว่าความเร็วสุดท้ายนี้จะมีคf1 เท่2า= F
    kv2                            า + f ใด
                                   ่

                 f1      f2

More Related Content

What's hot

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)Physics Lek
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 

What's hot (20)

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 

Viewers also liked

บทเรียนคอมแรงเสียดทาน
บทเรียนคอมแรงเสียดทานบทเรียนคอมแรงเสียดทาน
บทเรียนคอมแรงเสียดทานJandee Deefan
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruauiwiriya kosit
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆthanakit553
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

Viewers also liked (10)

บทเรียนคอมแรงเสียดทาน
บทเรียนคอมแรงเสียดทานบทเรียนคอมแรงเสียดทาน
บทเรียนคอมแรงเสียดทาน
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

Similar to แรง มวล กฎการเคลื่อนที่

บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุdnavaroj
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfsensei48
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

Similar to แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ (20)

Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

แรง มวล กฎการเคลื่อนที่

  • 1. มวล และกฎการเคลื ่ อ นที ่ 1. แรง (Force) หมายถึง สิงที่กระทำาต่อวัตถุในรูปของการ ่ พยายามดึงหรือดันที่จะทำาให้วัตถุนนั้ เคลื่อนที่ • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและ ทิศทาง • เมื่อมีแรงมากระทำาต่อวัตถุ วัตถุอาจจะ เคลื่อนที่หรือไม่ก็ได้
  • 2. กรณีที่มีแรงหลายแรงกระทำาต่อวัตถุ พิจารณา จากแรงลัพธ์ (Resultant force, Net force) การรวมแรงทั้งหมดที่กระทำาแบบเวกเตอร์ ถ้ามี แรงสองแรงซึ่งอยู่ในทิศตั้งฉากกันกระทำา เช่น และ แรงลัพธ์คือ
  • 3. กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทำาต่อวัตถุ สามารถหาแรงลัพธ์ได้จากการรวมองค์ประกอบ ทางแกน x และทางแกน y ของแรงต่าง ๆ ที่ กระทำา ได้แรงลัพธ์ในรูปขององค์ประกอบทาง Y แกน x และทางแกน y ซึ่งตั้งฉากกัน X
  • 4. 2. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข องนิ ว ตั น เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Issac Newton) นักฟิสกส์ชาวอังกฤษ ได้สรุป ิ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งที่อยู่ อยู่นงและในสภาพการเคลื่อนที่เป็น “ ิ่ กฎข้อที่ 1่อนที่ของนิวตัน” กฎการเคลื “ วัตถุจะคงสภาพอยู่นิ่ง หรือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในแนวตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มาก ระทำาต่อวัตถุนั้น ” กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน ใช้กับ กรอบอ้างอิงเฉื่อย (ความเร่งเป็นศูนย์) เท่านั้น
  • 5. กฎข้อที่ 2 “ เมื่อมีแรงลัพธ์ ซึ่งมีขนาดไม่ เป็นศูนย์ มากระทำาต่อวัตถุ จะทำาให้วตถุเกิด ั ความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทำา และขนาดของความเร่ง จะแปรผันตรงกับ ขนาดของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวล ของวัอที่ ” “ ทุกแรงกิริยา (Action Force) กฎข้ ตถุ 3 จะต้องมีแรงปฏิกิริยา (Reaction Force) ที่มี ขนาดเท่ากันและทิศตรงข้ามเสมอ ”
  • 6. 3. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข ้ อ ที ่ ส อง ของนิรงลัพน ซึ่งมีขนาดไม่เป็นศูนย์มากระทำา “เมื่อมีแ ว ตั ธ์ ต่อวัตถุ จะทำาให้วัตถุเกิดความเร่งในทิศเดียว กับแรงลัพธ์ที่มากระทำา และขนาดของความเร่ง จะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ และจะ แปรผกผันกับมวลของวัตถุ” มวล (mass) ของวัตถุ เป็นสมบัติประจำาตัวของ วัตถุอย่างหนึ่ง
  • 7. • มวลของวัตถุ นิยามว่า เป็นสมบัติทาง ความเฉื่อยต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ ของวัตถุ • วัตถุที่มีมวลมากจะต้านการเปลี่ยนสภาพการ เคลื่อนที่ได้มาก ส่วนวัตถุที่มมวลน้อยจะต้าน ี การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้นอย ้ • มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม • มวลของวัตถุที่เคลื่อนที่ มีความสัมพันธ์กับ แรงที่มากระทำาอย่างไร ? a ∝ F • จากการทดลอง สรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ดงนี้ ั • ในกรณีที่มวลคงตัว ขนาดของความเร่ง a จะ
  • 8. ในกรณีใช้แรงค่าคงตัว ขนาดของความเร่ง a แปรผกผันกับมวล m 1 a∝ m สรุปเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า a∝ F m F ∝ ma เขียนเป็นรูปสมการได้เป็น F = kma เมื่อ k เป็นค่าคงตัวของการแปรผัน
  • 9. ในหน่วยเอสไอ กำาหนดให้ k = 1 โดยกำาหนด หน่วยของแรง เป็น 1 นิวตันเมื่อมวลเป็นหนึง ่ กิโลกรัม ความเร่งเป็นหนึ่งเมตร/วินาที 2 หมายถึง แรง 1 นิวตัน ที่ทำาให้วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วย F = ma ความเร่ง 1 เมตร/วินาที 2 แรงและความเร่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ เขียนในรูปของสมการเวกเตอร์ได้เป็น
  • 10. 4. กฎการเคลื ่ อ นที ่ ข ้ อ ที ่ ส าม ของนิ ว ริยาจะต้องมีแรงปฏิกิริยา ที่มีขนาด “ ทุกแรงกิ ตั น เท่ากันและทิศตรงข้ามกันเสมอ ” เช่น โลกและดวงจันทร์ที่ดึงดูดกัน แรงที่โลก ดึงดูดดวงจันทร์ จะมีขนาดเท่ากับแรงที่ดวง จันทร์ดงดูดโลก สองแรงนี้มีขนาดเท่ากันและ ึ ทิศตรงกันข้าม ถ้า เป็นแรงที่กระทำาต่อวัตถุก้อนที่หนึ่ง เป็นแรงที่กระทำาต่อวัตถุก้อนที่สอง
  • 11. พิสจน์โดยใช้เครื่องชั่งสปริงสองตัว โดยเกี่ยวกัน ู แล้วใช้มือทั้งสองออกแรงดึงที่สองปลาย เครื่อง ชังทั้งสองอ่านค่าได้เท่ากันเสมอ ่ แรงกิริยา-ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอทั้งกรณีที่วัตถุ สัมผัสกัน หรือไม่สมผัสกัน ั เช่น แรงดึงดูดระหว่างโลกกับดวงจันทร์ แรงระหว่างประจุไฟฟ้า แรงดูด-ผลักของแท่งแม่เหล็ก
  • 12. วั ต ถุ แ ขวนจากเพดานด้ ว ย เชื อ ก แรงที่เพดานดึงเชือก แรงที่เชือกดึงเพดาน แรงที่เชือกดึงวัตถุ แรงที่วัตถุดึงเชือก นำ้าหนักของวัตถุ
  • 13. 5. นำ ำ า หนั ก (Weight) พิจารณาการตกแบบเสรีของวัตถุ ความเร่งของ วัตถุมีคาคงตัว ่ จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน วัตถุจะ เคลื่อนที่ด้วยความเร่งถ้าแรงลัพธ์ที่มากระทำาไม่ เป็นศูนย์ วัตถุมวล m ตกแบบเสรีด้วยความเร่ง แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อ่ข้ตทีนคือ แรงดึวตัน ของ จากกฎการเคลื่อนที วัอถุ ่สี้ องของนิ งดูด โลก หรือ นำ้าหนักของวัตถุ นำ้าหนักของวัตถุ
  • 14. วัตถุสองก้อนมีมวล m1 และ m2 ตามลำาดับ อัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุทั้งสองจะ สัมพันธ์กับอัตราส่วนระหว่างนำ้าหนักของวัตถุ ทั้งสองอย่างไร ? สรุปได้ว่า อัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุสอง ก้อนจะเท่ากับอัตราส่วนระหว่างนำ้าหนักของ วัตถุทั้งสอง ที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน หน่วยของนำ้าหนักมีหน่วยเป็น นิวตัน หรือ กิโลกรัม ?
  • 15. 6. กฎแรงดึ ง ดู ด ระหว่ า งมวล ของนิ ว ตั น จึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ? ทำาไมดาวเคราะห์ นิวตันนำาผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์ มาสรุปได้ว่า การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวง อาทิตย์ได้เนื่องจากมีแรงกระทำาระหว่างดวง อาทิตย์กับดาวเคราะห์ เสนอกฎแรงดึงดูด ระหว่างมวลไว้ว่า “ วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูด ซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูด ระหว่างวัตถุคู่หนึง ๆ จะแปรผันตรงกับผล ่ คูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสองและจะแปร
  • 16. m1 m2 R แรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุคู่ หนึง ่ เมื่อ G เป็น ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล มีค่าเดียวกันเสมอไม่ว่าวัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็น วัตถุใด ๆ G เรียกว่า ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล (Universal gravitational constant) มีค่า
  • 17. คำำถำม : จะมีวิธีการหามวลของโลกได้ อย่างไร ? ตอบ ใช้กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิว ตัน ได้มวลของโลกมีค่าประมาณ 6 x 10 24 kg หนัก ณ ตำาแหน่งที่ห่างจากผิวโลก นำำา คำำถำม : ทำาไมนำ้าหนักของวัตถุจึงลดลง เมื่อวัตถุอยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น ตอบ เนื่องจาก Fg = mg ดังนั้นค่า ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง g จะมีค่า ลดลงเมื่อวัตถุอยู่ห่างจากผิวโลกมากขึ้น
  • 18. คำำถำม : ทำาไมค่า g บนผิวโลกแต่ละที่จึงมี ค่าต่างกัน ? ตอบ เนื่องจาก ค่า g มีค่าลดลงตามระดับ ความสูงและเป็นปฏิภาคผกผันกับระยะห่าง จากศูนย์กลางของโลกกำาลังสอง สภาพไร้ น ำ ำ า หนั ก (weightlessness) เป็นสภาพที่ปรากฏเฉพาะต่อผู้สงเกตที่มี ั ความเร่ง ทำาให้รู้สึกว่าไม่มีนำ้าหนัก ทั้งที่ยังมี แรงดึงดูดของโลกอยู่ เช่น คนที่อยู่ในดาวเทียมที่กำาลังโคจรรอบ
  • 19. แรงเสี ย ดทาน (Friction Force) แรงเสียดทาน คือ แรงต้านที่เกิดจากการสัมผัส กันระหว่างผิววัตถุ 2 ผิว N F f mg แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ ค่า ของแรงมากที่สุดที่เริ่มทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ ƒ s = µ sN
  • 20. แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรง เสียดทานขณะที่วัตถุกำาลังเคลื่อนที่ ƒ k = µ kN สำาหรับผิวสัมผัสคู่หนึ่ง สัมประสิทธิ์ความเสียด ทานสถิต(µs) มีค่ามากกว่าสัมประสิทธิ์ความ เสียดทานจลน์ (µk) เสมอ ขนาดของแรงเสียดทานขึ้นกับลักษณะและ ชนิดของผิวสัมผัส
  • 21. การประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ฎการเคลื ่ อ นที ่ ของนิ ว ตั น หลักกำรแก้ปัญหำ 2. พิจารณาเฉพาะแรงภายนอกที่กระทำากับ วัตถุ โดยการเขียนแผนภาพของแรงที่ กระทำาต่อวัตถุที่เรียกว่า Free-body diagram 3. แตกแรงที่กระทำาต่อวัตถุให้อยู่ในแกนที่ เหมาะสม 4. พิจารณาแรงที่กระทำาต่อวัตถุในแต่ละแกน โดยใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
  • 22. ตัวอย่ำงที่ 1 ถ้าแรง F ขนาด 20 N ทำามุม 600 กับแนวราบ จงหาความเร่งของกล่อง กำาหนดให้ กล่องมวล 5 kg , g = F9.8 m/s2 , µ = 0.1 6 00 ตัวอย่ำงที่ 2 มวล m วางอยู่บนกล่องมวล M โดยมีสมประสิทธิความเสียดทานสถิตระหว่างมวล ั ์ ทั้งสองเป็น และกล่อง M วางอยู่บนพืนลื่น้ ออกแรงลากกล่อง M ให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าด้วย m ความเร่ง a จงหาค่า a สูงสุดที่ทำาให้มวล m ไม่ M F ไถล
  • 23. ตัวอย่ำงที่ 3 มวล m และมวล M ผูกติดกัน ด้วยเชือกที่ไม่ยืด และคล้องผ่านรอกลื่นดังรูป จง หาความเร่งของมวลทั้งสองและแรงตึงในเส้น เชือก โดยสมมติให้ M > m a a M m θ m M ตัวอย่ำงที่ 4 มวล M ผูกติดกับเชือกไม่ยืดที่ คล้องผ่านรอกลื่น และปลายอีกข้างหนึ่งผูกกับ มวล m ที่วางอยู่บนพื้นเอียงลื่นที่เอียงทำามุม กับแนวระดับ จงหาความเร่งของมวลทั้งสอง และถ้ามวลทั้งสองอยู่นิ่งกับที่ จงหามุมเอียง
  • 24. ตัวอย่ำงที่ 5 แท่งทองเหลืองวางบนแผ่น เหล็กกล้าที่ทำามุมเป็นพื้นเอียง สัมประสิทธิ์ความ เสียดทานระหว่างสองผิวคู่นมีคา s = 0.50 ี้ ่ และ k = 0.44 จงหาค่ามุม ที่พื้นเอียงทำา กับแนวระดับที่ทำาให้แท่งทองเหลืองเริ่มเคลื่อนที่ หลังจากเริ่มเคลื่อนที่แล้วแท่งทองเหลืองจะมี ตัวอย่ำงที่ ใด ถ้าแรงที่ชางดึงซุงเท่ากับแรงที่ ความเร่งเท่า 6 ถ้าค่ามุมไม่เปลี่ยนแปลง ้ ซุงดึงช้างตามกฎข้อที่สามของนิวตัน ช้างลาก ซุงให้เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วคงตัวได้อย่างไร
  • 25. ตัวอย่ำงที่ 7 รถยนต์มีเครื่องยนต์ที่มีกำาลัง สามารถหมุนล้อให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ ถ้า กำาหนดให้ว่ากำาลังของรถ คือ P = Fv มีค่าคงตัว และเมื่อรถวิ่งในอากาศจะมีแรงต้านของอากาศ เท่ากับ kv2 (แรงต้านเป็นปฏิภาคกับ v2) เมือ v่ เป็นอัตราเร็วที่รถวิ่ง กฎของนิวตันทำานายว่ารถจะ วิ่งบนพื้นราบด้วยความเร็วจำากัดหรือความเร็ว v สุดท้าย (ไม่สามารถจะวิงเกินความเร็วค่าหนึ่งได้) ่ จงแสดงว่าความเร็วสุดท้ายนี้จะมีคf1 เท่2า= F kv2 า + f ใด ่ f1 f2