SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
การศึกษาการจัดการหลักสูตรของสถานศึกษา
ภายใต้การกากับคุณภาพของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พันธกิจ
Mission (พันธกิจ)
วิธีการจัดการเรียนการสอนของดรุณสิกขาลัย คือ การเรียนรู้ผ่านการทา
โครงงาน (Project Based Learning) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในเรื่องที่ตนเองสนใจ และบูรณาการ
วิชาการต่างๆไปพร้อมๆกับพัฒนาทักษะทั้ง 5 ด้าน คือ
IQ = Intelligent Quotient ด้านสติปัญญาและความเฉลียวฉลาด
EQ = Emotional Quotient วุฒิภาวะทางอารมณ์
AQ = Adversity Quotient ความสามารถในการทางานภายใต้สภาวะ
ความกดดันได้ดี
TQ = Technology Quotient ทักษะทางเทคโนโลยี
MQ = Morality Quotient ด้านคุณธรรม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
Mission (พันธกิจ)
การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้วิจารณญาณในการคัดสรรข่าวสาร (Data)
ที่มีอยู่มากมายในปัจจุบัน มาแปรเป็นข้อมูล (Information) ที่เป็นประโยชน์
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาข้อมูลเหล่านั้นไปสู่ความรู้
(Knowledge) ที่สั่งสมเป็นประสบการณ์ ซึ่งเมื่อนาไปใช้อย่างมีสติ จะทาให้เกิด
ปัญญา (Wisdom) ที่จะเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหา วางแผน และการสร้างสรรค์
นวัตกรรม
แนวคิด ทฤษฎีการจัดการเรียนการสอน
ปรัชญาการศึกษาของโรงเรียน
ดรุณสิกขาลัยโรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี ใช้แนวคิด
- ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructionismซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้
ของ Prof.Seymour Papert นักคณิตศาสตร์และนักการศึกษา
- ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructivism ซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ของ
Prof. Jean Piaget นักจิตวิทยาพัฒนาการและนักการศึกษา
- องค์ความรู้ทางด้านพัฒนาการสมอง การรับรู้และการเรียนรู้ของมนุษย์
(Cognitive and Learning Science) และจิตวิทยาในการเรียนรู้
มาเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ ที่เชื่อว่า
“การเรียนรู้ที่ดีกว่าไม่ได้เกิดมาจากการที่ครูค้นพบวิธีการสอนที่ดีกว่าแต่เกิดมา
จากการที่ครูได้ให้โอกาสที่ดีกว่าแก่ผู้เรียนรู้ให้สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วย
ตนเอง”
กระบวนการเรียนรู้แบบ Constructionism
การเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา
- ต้นกาเนิดอยู่ถึงที่ Massachusetts Institute of Technology (MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา
- คล้ายกับหลักการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติภาวนาในพุทธศาสนา
- การสร้างองค์ความรู้ผ่านประสบการณ์จริงของตนเองเหมาะสมกับภูมิสังคมไทย
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้จะประกอบด้วย 3 กระบวนการที่สาคัญ คือ
1. การคิด (Thinking or Designing)
2. การลงมือทา (Making or Doing)
3. การสะท้อนความคิด (Reflecting or Contemplating)
กระบวนการเรียนรู้แบบ Constructionism
การเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา
- ลักษณะเป็นการเรียนผ่านโครงงาน (Project Based Learning) เช่น
- การสร้างโมเดลจาลองเครื่องบินสักลาหนึ่ง ก็จะต้องมีความรู้ที่จะนามาประกอบกันเป็นส่วน
ต่างๆ ของเครื่องบิน ใบพัด ปีก ตัวเครื่องบิน หางเสือ จะต้องมีลักษณะอย่างไร
- เครื่องบินบินได้อย่างไร
- การยกตัวของเครื่องบินเกิดจากปรากฎการณ์อะไร
- เราจะทาให้โมเดลเครื่องบินของเรานั้นบินได้จริงได้อย่างไร
จากการคิดวางแผน ออกแบบและลงมือสร้างโครงงาน ซึ่งนักเรียนจะได้พบ
ประสบการณ์และความรู้ที่หลากหลายที่จับต้องได้ชีวิตจริงแล้ว นักเรียนก็จะได้ผ่านกระบวนการ
สะท้อนความคิด ด้วยการบันทึกประจาวัน การสนทนา Reflection ซึ่งเป็นการให้นักเรียนได้
ฝึกฝนการทบทวน และเรียนรู้จากประสบการณ์และกระบวนการที่ได้ผ่านไป เพื่อนาไปปรับปรุง
พัฒนาตนเองและพัฒนาชิ้นงานอย่างต่อเนื่องต่อไป
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
การจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน
- เน้นให้ความสาคัญกับประสิทธิภาพในการเรียนรู้เป็นสาคัญ
- กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ มีความหลากหลายและยืดหยุ่น ปรับตัวได้ตามสถานการณ์
จริงและตามสภาพของผู้เรียน
- สามารถจัดการให้ครอบคลุมความต้องการของหลักสูตรการศึกษาแกนกลาง
- เป็นโครงการแรกของประเทศไทยที่ได้ริเริ่มการให้ความสาคัญกับแนวคิด “นักเรียนเป็น
ศูนย์กลาง” และการกระบวนการเรียนรู้ อย่างแท้จริง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544
ผสานแนวคิด Constructivism และ Constructionism
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับความเป็ นไทย
- ส่งเสริมให้ครู-นักเรียนมีพื้นที่ในการออกแบบการเรียนรู้ภายในห้องเรียนอย่าง
สร้างสรรค์ร่วมกัน
- นักเรียนจะได้ฝึกให้มีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ทั้งในและนอก
ห้องเรียน
- การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง ผ่านประสบการณ์จริง
- การเรียนรู้ผ่านการทาโครงงาน
- การทางานเป็นทีมและการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง ตามความ
สนใจของนักเรียนและกลุ่มเรียนรู้
- ได้ฝึกฝนการแสดงความคิดเห็น การแก้ไขปัญหาต่างๆ ร่วมกัน ได้ร่วม
สร้างสรรค์ห้องเรียนและโรงเรียนร่วมกันกับครู และผู้ปกครอง
หลักในการจัดการเรียนรู้ของดรุณสิกขาลัย
1. การเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา
(Constructionism Project-based Learning)
2. การสร้างชุมชนแห่งนักเรียน
(Learning Organization)
3. การปฏิบัติภาวนาและความเป็นไทย
(Mindfulness Meditation and Thai Cultures)
DSIL Constructionism Style
การจัดการเรียนรู้ในโครงงาน จะมีการออกแบบให้นักเรียนได้มีโอกาสในการเรียนรู้ผ่านการ
คิด ลงมือปฎิบัติและสะท้อนความคิด ที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับการเรียนรู้ โดยมีหลักการ
พื้นฐานของโครงงานดังนี้
1. คิดและออกแบบด้วยตนเอง (Thinking or Designing)
2. นักเรียนจะต้องเป็นผู้ที่ลงมือทาด้วยตนเอง (Making or Doing)
3. กระบวนการสะท้อนความคิด (Reflecting or Contemplating)
หลักสูตรของโรงเรียน
การจัดชั้นเรียน
- จัดการเรียนการสอน เน้นที่กระบวนการเรียนรู้เป็ นสาคัญโดยมีผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
จัดการเรียนรู้โดยมีหลักการดังนี้
1. การเรียนรู้เป็นชั้นคละ (คละหลายระดับอายุในกลุ่มเดียวกัน)
2. จัดการเรียนรู้ตามความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2.1 New Learner เปิดโลกการเรียนรู้อย่างสนุก สุขใจ ได้ปัญญา ด้วย Project Based
Learning
2.2 Intermediate Learner มุ่งสร้างความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learning)
ด้วย Project Based Learning
2.3 Advanced Learner เน้นการค้นหาความถนัดและพัฒนาศักยภาพของตนเอง
การจัดชั้นเรียน
- เป็นโรงเรียนในกากับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- สังกัดสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- สถานะเทียบเท่าโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย
- ใช้หลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางของโรงเรียน
การประเมินผลการเรียนของนักเรียน
- ครูจะจดบันทึกการสังเกตการณ์ ประเมินผลนักเรียน และจะสื่อสารกับผู้ปกครองเป็นระยะๆ
เพื่อรับทราบและร่วมกันพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม
- การประเมินผลเน้นการประเมินผลอย่างหลากหลายทั้งจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
- การประเมินผลด้านกระบวนการเรียนรู้ ทัศนคติ ทักษะทางสังคม ผ่านการสังเกตการณ์ใน
สถานการณ์จริง (Authentic assessment) และการให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน
- การประเมินตนเองเพื่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ มีระบบการบันทึก
ความก้าวหน้าทางวิชาการผ่านระบบฐานข้อมูลเป็นรายบุคคล ซึ่งจะทาให้หลักสูตรมีความ
ยืดหยุ่นและสามารถจัดให้ตรงกับความถนัด ศักยภาพที่ต่างกันในนักเรียนแต่ละคน
การประเมินผลการเรียนของนักเรียน
การเลื่อนระดับชั้น
- ใช้นวัตกรรมการวัดและประเมินผลของโรงเรียน ที่เน้นให้ความสาคัญกับการวัดผลเพื่อการ
พัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างแท้จริง
- ใช้สัมภาษณ์และการนาเสนอผลงานจริงเป็นรายบุคคล
- ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินตนเองและแสดงความสามารถจริง (Self-assessment
and Authentic assessment)
- เป็นไปตามหลักเกณฑ์การประเมินผลตามพระราชบัญญัติการศึกษา ปีพ.ศ. 2551 อย่าง
แท้จริง
จุดเด่นของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
- ส่งเสริมผู้เรียนให้สามารถพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
- สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ ทาจริง ( Learning How to learn )
- คิดเป็น ทาเป็น (Thinking about Thinking)
- เรียนรู้กันเป็นกลุ่มหรือเป็นทีมได้อย่างกัลยาณมิตร
- ติดเป็นนิสัยใฝ่เรียนรู้ไปตลอดชีวิต
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ปี
2542
จุดเด่นของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
1. การเรียนการสอนเป็นการเรียนรู้จากโครงงาน (Project-Based-Learning)
2. มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะของการเรียนรู้ 4 ประการ พร้อมปลูกฝังความเป็นไทย
- นักเรียนรู้เชิงลึก
- วินัยภายใน
- คุณภาพภายในที่ดี
- มีความรับผิดชอบต่อสังคม
3. การเรียนการสอนเป็นแบบบูรณาการสหสาขาวิชา บูรณาการภาษาอังกฤษโดยเรียนรู้ตาม
ธรรมชาติ
ความโดดเด่นของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
จุดเด่นของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
4. เป็นโรงเรียนสองภาษา คือ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ ป.1 – ป.6
5. มีการประเมินผล 360 องศา
- ประเมินจาก Individual project
- การทา Portfolio
- การทา slide share
- การมีปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
- ประเมินจากกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
6. ผู้เรียน มีอิสระในการคิด การวางแผน จากสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ เป็นรายบุคคล
7. อัตราครู : เด็ก 1 : 4 โดยมีทั้งครูไทยและครูต่างชาติ
8. มีการทา Reflection แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียน
ความโดดเด่นของโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
แหล่งอ้างอิง
http://e-school.kmutt.ac.th/
http://www.youtube.com/watch?v=bUSNY7ktSwk
Q & A

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหาฐิติรัตน์ สุขสวัสดิ์
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาYui Yuyee
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศWoodyThailand
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 

What's hot (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศตัวอย่างหนังสือประกาศ
ตัวอย่างหนังสือประกาศ
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 

Similar to หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qdMUQD
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 

Similar to หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย (20)

Instructi..
Instructi..Instructi..
Instructi..
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย