SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
1



                ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
                  กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑




สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                             กระทรวงศึกษาธิการ
                                                          ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
2



                                     สารบัญ
                                              หนา
คํานํา
ทําไมตองเรียนศิลปะ                            ๑
เรียนรูอะไรในศิลปะ                            ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู                      ๒
คุณภาพผูเรียน                                 ๓
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง             ๗
    สาระที่ ๑ ทัศนศิลป                        ๗
    สาระที่ ๒ ดนตรี                           ๑๘
    สาระที่ ๓ นาฏศิลป                        ๓๐
อภิธานศัพท                                   ๔๑
คณะผูจัดทํา                                  ๔๗
กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ทําไมตองเรียนศิลปะ
         กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย
กิจ กรรมทางศิล ปะชว ยพัฒ นาผูเ รีย นทั้ งด านรา งกาย จิ ต ใจ สติ ปญ ญา อารมณ สัง คม ตลอดจน
การนํา ไปสู ก ารพั ฒ นาสิ่ งแวดล อ ม ส งเสริม ใหผู เ รีย นมี ค วามเชื่ อมั่ น ในตนเอง อั น เป น พื้น ฐาน
ในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได

เรียนรูอะไรในศิลปะ
         กลุมสาระการเรียนรูศิลปะมุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ
เกิดความซาบซึ้งในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผูเรียนแสดงออกอยางอิสระในศิลปะแขนงตาง ๆ
ประกอบดวยสาระสําคัญ คือ
          ทัศนศิลป มีค วามรูค วามเขาใจองคประกอบศิล ป ทัศนธาตุ สรางและนําเสนอผลงาน
ทางทัศนศิลปจากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเทคนิค วิธีการ
ของศิลปน ในการสรางงานได อยางมีประสิทธิภ าพ วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป
เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานศิลปะที่เปนมรดก
ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
          ดนตรี มีความรูความเขาใจองคประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค
วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ทางดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาดนตรี
ที่เปน มรดกทางวัฒ นธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล รองเพลง และเลน ดนตรี
ในรูปแบบตาง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรูสึกที่มีตอดนตรีในเชิงสุนทรีย ะ
เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณในประวัติศาสตร
          นาฏศิลป มี ค วามรู ค วามเข า ใจองค ป ระกอบนาฏศิ ล ป แสดงออกทางนาฏศิ ล ป
อยางสรางสรรค ใชศัพทเบื้องตน ทางนาฏศิลป วิเคราะหวิพากษ วิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอด
ความรูสึก ความคิด อยางอิสระ สรางสรรคก ารเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ ประยุก ตใ ชน าฏศิลป
ในชีวิต ประจําวัน เขาใจความสัมพัน ธร ะหวางนาฏศิลปกั บประวัติศาสตร วัฒ นธรรม เห็นคุณคา
ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล
๒



สาระและมาตรฐานการเรียนรู

สาระที ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
                 วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ
                 ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน
                 ทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

สาระที ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณ คา
               ดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิด ตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ ช
               ในชีวิตประจําวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรี
               ที่ เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

สาระที ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา
                นาฏศิลปถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใช
                ในชีวิตประจําวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา
                ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล
๓



คุณภาพผูเรียน

      จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

          รูและเขาใจเกี่ยวกับรูปร าง รู ปทรง และจําแนกทัศนธาตุข องสิ่งตา ง ๆ ในธรรมชาติ
สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป มีทักษะพื้นฐานการใชวัสดุอุปกรณในการสรางงานวาดภาพระบายสี
โดยใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปน งานโครงสรางเคลื่อนไหวอยางงาย ๆ
ถายทอดความคิด ความรูสึก จากเรื่องราว เหตุการณ ชีวิต จริง สรางงานทัศนศิลปตามที่ต นชื่น ชอบ
สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง
          รูและเขา ใจความสํ าคัญ ของงานทั ศนศิล ปใ นชีวิ ต ประจํ าวั น ที่มาของงานทั ศนศิล ป
ในทองถิ่น ตลอดจนการใชวัสดุ อุปกรณ และวิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น
          รูและเขาใจแหลงกําเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหนาที่ ความหมาย ความสําคัญ
ของบทเพลงใกลตั ว ที่ไ ด ยิน สามารถทอ งบทกลอน ร องเพลง เคาะจั งหวะ เคลื่ อ นไหวร า งกาย
ใหสอดคลองกับบทเพลง อาน เขียน และใชสัญลักษณแทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับดนตรี เสียงขับรองของตนเอง มีสวนรวมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจําวัน
          รู แ ละเข า ใจเอกลั ก ษณ ข องดนตรี ใ นท อ งถิ่ น มี ค วามชื่ น ชอบ เห็ น ความสํ า คั ญ
และประโยชนของดนตรีตอการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น
          สรางสรรคการเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ สามารถแสดงทาทางประกอบจังหวะเพลง
ตามรู ปแบบนาฏศิลป มีมารยาทในการชมการแสดง รูห นาที่ ข องผู แสดงและผูชม รูประโยชน
ของการแสดงนาฏศิลปในชีวตประจําวัน เขารวมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย
                             ิ
          รู แ ละเข า ใจการละเล น ของเด็ ก ไทยและนาฏศิ ล ป ท อ งถิ่ น ชื่ น ชอบและภาคภู มิ ใ จ
ในการละเล น พื้ น บ า น สามารถเชื่ อ มโยงสิ่ ง ที่ พ บเห็ น ในการละเล น พื้ น บ า นกั บ การดํ า รงชี วิ ต
ของคนไทย บอกลัก ษณะเดนและเอกลักษณของนาฏศิลปไทยตลอดจนความสําคัญของการแสดง
นาฏศิลปไทยได
๔



        จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖

             รูและเขาใจการใชทัศนธาตุ รูปราง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช
วั ส ดุ อุ ป กรณ ถ า ยทอดความคิ ด อารมณ ความรู สึ ก สามารถใช ห ลั ก การจั ด ขนาด สั ด ส ว น
ความสมดุ ล น้ํ าหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช สีคูต รงขา มที่เ หมาะสมในการสรา งงานทัศ นศิล ป
๒ มิ ติ ๓ มิ ติ เช น งานสื่ อ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานป น งานพิ ม พ ภ าพ รวมทั้ ง สามารถ
สรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถายทอดความคิด จิน ตนาการเปน เรื่อ งราวเกี่ยวกั บ
เหตุ ก ารณ ต า ง ๆ และสามารถเปรี ย บเที ย บความแตกต า งระหว า งงานทั ศ นศิ ล ป ที่ ส ร า งสรรค
ดว ยวัสดุอุปกรณและวิธีก ารที่แตกตางกัน เขาใจปญหาในการจัด องคป ระกอบศิลป หลัก การลด
และเพิ่มในงานปน การสื่อความหมายในงานทัศนศิลปของตน รูวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น ตลอดจน
รูและเขาใจคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม
             รูและเขาใจบทบาทของงานทัศนศิลปที่สะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อ
ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น
             รู แ ละเข า ใจเกี่ ย วกั บ เสี ย งดนตรี เสี ย งร อ ง เครื่ อ งดนตรี และบทบาทหน า ที่
รูถึงการเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของทํานองเพลง องคประกอบของดนตรี ศัพทสังคีตในบทเพลง ประโยค
และอารมณ ข องบทเพลงที่ ฟ ง ร อ งและบรรเลงเครื่ อ งดนตรี ด น สดอย างง า ย ใช แ ละเก็ บ รั ก ษา
เครื่องดนตรีอยางถูกวิธี อาน เขียนโนตไทยและสากลในรูปแบบตาง ๆ รูลักษณะของผูที่จะเลนดนตรีไดดี
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองคประกอบดนตรี ถายทอดความรูสึกของบทเพลงที่ฟง สามารถใชดนตรี
ประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลปและ การเลาเรื่อง
             รู แ ละเข า ใจความสั ม พั น ธ ร ะหว า งดนตรี กั บ วิ ถี ชี วิ ต ประเพณี วั ฒ นธรรมไทย
และวัฒนธรรมตาง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร อิทธิพลของวัฒนธรรมตอดนตรี รูคุณคาดนตรี
ที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน เห็นความสําคัญในการอนุรักษ
             รูและเขาใจองคประกอบนาฏศิลป สามารถแสดงภาษาทา นาฏยศัพทพื้นฐาน สรางสรรค
การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป และการละครงาย ๆ ถายทอดลีลาหรืออารมณ และสามารถ
ออกแบบเครื่องแตงกายหรืออุปกรณประกอบการแสดงงาย ๆ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป
และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยาย
ความรูสึกของตนเองที่มีตองานนาฏศิลป
             รูและเขาใจความสัมพันธและประโยชนของนาฏศิลปและการละคร สามารถเปรียบเทียบ
การแสดงประเภทตาง ๆ ของไทยในแตละทองถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะทอนวัฒนธรรมประเพณี
เห็นคุณคาการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลปไทย
๕



        จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

         รู แ ละเข า ใจเรื่ อ งทั ศ นธาตุ แ ละหลั ก การออกแบบและเทคนิ ค ที่ ห ลากหลายในการ
สรา งงานทัศนศิล ป ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่ อสื่ อความหมายและเรื่ องราวตา ง ๆ ได อยา งมี คุณ ภาพ
วิเคราะหรูป แบบเนื้อหาและประเมิ น คุณ คางานทัศนศิลปข องตนเองและผูอื่น สามารถเลือกงาน
ทัศนศิลปโ ดยใชเกณฑที่กําหนดขึ้น อยางเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลัก ษณ กราฟก
ในการนําเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะที่จําเปนดานอาชีพที่เกี่ยวของกันกับงานทัศนศิลป
         รูแ ละเข าใจการเปลี่ ยนแปลงและพัฒ นาการของงานทั ศนศิล ปข องชาติ และท องถิ่ น
แตละยุคสมัย เห็น คุณ คางานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒ นธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป
ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมตาง ๆ
         รู แ ละเข า ใจถึ ง ความแตกต า งทางด า นเสี ย ง องค ป ระกอบ อารมณ ความรู สึ ก
ของบทเพลงจากวัฒนธรรมตาง ๆ มีทักษะในการรอง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเปนวงโดยเนน
เทคนิคการรองบรรเลงอยางมีคุณ ภาพ มีทัก ษะในการสรางสรรคบทเพลงอยางงาย อานเขียนโนต
ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องตนได รูและเขาใจถึงปจจัยที่มีผลตอรูปแบบของผลงาน
ทางดนตรี องคประกอบของผลงานดานดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิด เห็น และบรรยาย
อารมณความรูสึกที่มีตอบทเพลง สามารถนําเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบไดอยางมีเหตุผล มีทักษะในการ
ประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถึงอาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรีและบทบาท
ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง เขาใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม
         รูและเขาใจที่มา ความสัมพันธ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตละวัฒนธรรมในยุคสมัยตาง ๆ
วิเคราะหปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับ
           
         รูแ ละเข า ใจการใช น าฏยศัพ ท ห รือ ศั พ ทท างการละครในการแปลความและสื่อ สาร
ผานการแสดง รวมทั้งพัฒ นารูปแบบการแสดง สามารถใชเกณฑงา ย ๆ ในการพิจ ารณาคุณ ภาพ
การแสดง วิ จ ารณ เ ปรี ย บเที ย บงานนาฏศิ ล ป โดยใช ค วามรู เ รื่ อ งองค ป ระกอบทางนาฏศิ ล ป
รวมจัดการแสดง นําแนวคิดของการแสดงไปปรับใชในชีวิตประจําวัน
         รู แ ละเข า ใจประเภทละครไทยในแต ล ะยุ ค สมั ย ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลง
ของนาฏศิล ป ไ ทย นาฏศิล ป พื้ น บ า น ละครไทย และละครพื้น บ าน เปรี ย บเที ยบลั ก ษณะเฉพาะ
ของการแสดงนาฏศิล ป จ ากวั ฒ นธรรมต าง ๆ รวมทั้ งสามารถออกแบบและสร างสรรคอุ ปกรณ
เครื่องแตงกายในการแสดงนาฏศิลปและละคร มีค วามเขาใจ ความสําคัญ บทบาทของนาฏศิล ป
และละครในชีวิตประจําวัน
๖



        จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

            รูและเขาใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใชศัพท
ทางทัศนศิลป อธิบายจุด ประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ
อุปกรณและกระบวนการที่สูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะหเนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ
การแสดงออกของศิล ปน ทั้ง ไทยและสากล ตลอดจนการใช เทคโนโลยี ตา ง ๆ ในการออกแบบ
สรางสรรคงานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมดวยภาพ
ลอเลียนหรือการตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณคุณคางานทัศนศิลปดวยหลักทฤษฎีวิจารณศิลปะ
                                                                          
            วิ เ คราะห เ ปรี ย บเที ย บงานทั ศ นศิ ล ป ใ นรู ป แบบตะวั น ออกและรู ป แบบตะวั น ตก
เข า ใจอิ ท ธิ พ ลของมรดกทางวั ฒ นธรรมภู มิ ป ญ ญาระหว า งประเทศที่ มี ผ ลต อ การสร า งสรรค
งานทัศนศิลปในสังคม
            รู แ ละเข า ใจรู ป แบบบทเพลงและวงดนตรี แ ต ล ะประเภท และจํ า แนกรู ป แบบ
ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เขาใจอิทธิพลของวัฒ นธรรมตอการสรางสรรคด นตรี เปรียบเทียบ
อารมณและความรูสึกที่ไดรับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล
ในอัต ราจั ง หวะตา ง ๆ มีทั ก ษะในการร องเพลงหรื อ เล น ดนตรีเ ดี่ย วและรวมวงโดยเนน เทคนิ ค
การแสดงออกและคุ ณ ภาพของการแสดง สร า งเกณฑ สํ า หรั บ ประเมิ น คุ ณ ภาพการประพั น ธ
การเลนดนตรีของตนเองและผูอื่นไดอยางเหมาะสม สามารถนําดนตรีไประยุกตใชในงานอื่น ๆ
            วิเคราะห เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเดนของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมตาง ๆ
เข าใจบทบาทของดนตรีที่ สะท อนแนวความคิด และคา นิย มของคนในสั ง คม สถานะทางสัง คม
ของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ สรางแนวทางและมีสวนรวมในการสงเสริมและอนุรักษดนตรี
            มีทัก ษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีค วามคิ ด ริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปน คู
และเปนหมู สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป
และละครที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ
และสถานที่ที่มีผลตอการแสดง วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมิน
ในการประเมิน การแสดง และสามารถวิเคราะหทาทางการเคลื่อนไหวของผูค นในชีวิต ประจําวัน
และนํามาประยุกตใชในการแสดง
            เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสําคัญ
ในวงการนาฏศิ ล ป แ ละการละครของประเทศไทยในยุ ค สมั ย ต า ง ๆ สามารถเปรี ย บเที ย บ
การนําการแสดงไปใชในโอกาสตาง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษนาฏศิลปไทย
๗



ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ
                  วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ
                  ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

   ชั้น                  ตัวชี้วัด                        สาระการเรียนรูแกนกลาง
   ป.๑ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ         รูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตาง ๆ
        และขนาดของสิงตาง ๆ รอบตัว
                       ่                        รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
        ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
        ๒. บอกความรูสึกที่มีตอธรรมชาติ และ   ความรูสึกที่มีตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
        สิ่งแวดลอมรอบตัว                     รอบตัว เชน รูสึกประทับใจกับความงาม
                                              ของบริเวณรอบอาคารเรียน หรือรูสึกถึง
                                              ความไมเปนระเบียบ ของสภาพภายใน
                                              หองเรียน
       ๓. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ          การใชวัสดุ อุปกรณ เชน ดินเหนียว
       อุปกรณสรางงานทัศนศิลป               ดินน้ํามัน ดินสอ พูกัน กระดาษ สีเทียน สีน้ํา
                                              ดินสอสีสรางงานทัศนศิลป
       ๔. สรางงานทัศนศิลปโดยการทดลองใชสี  การทดลองสีดวยการใชสีน้ํา สีโปสเตอร
       ดวยเทคนิคงาย ๆ                       สีเทียนและสีจากธรรมชาติที่หาไดในทองถิ่น
       ๕. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ             การวาดภาพระบายสีตามความรูสึก
       ตามความรูสึกของตนเอง                  ของตนเอง
   ป.๒ ๑. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบในธรรมชาติ  รูปราง รูปทรงในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
       และสิ่งแวดลอม                         เชน รูปกลม รี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ
                                              กระบอก
       ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยูในสิ่งแวดลอม
                                              เสน สี รูปราง รูปทรงในสิ่งแวดลอม
       และงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่องเสน      และงานทัศนศิลปประเภทตาง ๆ เชน งานวาด
       สี รูปราง และรูปทรง                   งานปน และงานพิมพภาพ
       ๓. สรางงานทัศนศิลปตาง ๆ โดยใช       เสน รูปรางในงานทัศนศิลปประเภทตาง ๆ
       ทัศนธาตุที่เนนเสน รูปราง            เชน งานวาด งานปน และงานพิมพภาพ
๘



ชั้น                  ตัวชี้วัด                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๒ ๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ              การใชวัสดุ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ
     อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ
     ๕. สรางภาพปะติดโดยการตัดหรือ              ภาพปะติดจากกระดาษ
     ฉีกกระดาษ
     ๖. วาดภาพเพื่อถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับ    การวาดภาพถายทอดเรื่องราว
     ครอบครัวของตนเองและเพื่อนบาน
     ๗. เลือกงานทัศนศิลป และบรรยายถึง          เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศนศิลป
     สิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว
     ๘. สรางสรรคงานทัศนศิลปเปนรูปแบบ        งานโครงสรางเคลื่อนไหว
     งานโครงสรางเคลื่อนไหว
ป.๓ ๑. บรรยาย รูปราง รูปทรงในธรรมชาติ          รูปราง รูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดลอม
     สิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป               และงานทัศนศิลป
     ๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณที่ใชสรางผลงาน      วัสดุ อุปกรณที่ใชสรางงานทัศนศิลป
      เมื่อชมงานทัศนศิลป                      ประเภทงานวาด งานปน งานพิมพภาพ
     ๓. จําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ             เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว ในธรรมชาติ
     ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป      สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป
     โดยเนนเรื่อง เสน สี รูปราง รูปทรง
     และพื้นผิว
     ๔. วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว             การวาดภาพระบายสี สิ่งของรอบตัว
                                               ดวยสีเทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร
       ๕. มีทักษะพื้นฐาน ในการใชวัสดุ          การใชวัสดุอุปกรณในงานปน
       อุปกรณสรางสรรคงานปน
       ๖. วาดภาพถายทอดความคิดความรูสึก        การใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว
       จากเหตุการณชีวิตจริง โดยใชเสน        วาดภาพถายทอดความคิดความรูสึก
       รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว
       ๗. บรรยายเหตุผลและวิธีการในการ           วัสดุ อุปกรณ เทคนิควิธีการในการสรางงาน
       สรางงานทัศนศิลป โดยเนนถึงเทคนิค      ทัศนศิลป
       และวัสดุ อุปกรณ
๙



ชั้น                    ตัวชี้วัด                       สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๓ ๘. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุง    การแสดงความคิดเห็นในงานทัศนศิลป
     ในงานทัศนศิลปของตนเอง                     ของตนเอง
     ๙. ระบุ และจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ        การจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ
     ที่เนนในงานทัศนศิลปนั้น ๆ
     ๑๐. บรรยายลักษณะรูปราง รูปทรง              รูปราง รูปทรง ในงานออกแบบ
     ในงานการออกแบบสิ่งตาง ๆ ที่มีในบาน
     และโรงเรียน
ป.๔ ๑. เปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปราง            รูปราง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม
     รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม               และงานทัศนศิลป
     และงานทัศนศิลป
     ๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสี             อิทธิพลของสี วรรณะอุน และวรรณะเย็น
     วรรณะอุนและสีวรรณะเย็นที่มีตอ
     อารมณของมนุษย
     ๓. จําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ              เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วาง
     ในธรรมชาติสงแวดลอมและงาน
                     ิ่                         ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป
     ทัศนศิลปโดยเนนเรื่องเสน สี รูปราง
     รูปทรงพื้นผิว และพื้นที่วาง
     ๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ              การใชวัสดุ อุปกรณสรางงานพิมพภาพ
     อุปกรณสรางสรรคงานพิมพภาพ
     ๕. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ              การใชวัสดุ อุปกรณในการวาดภาพระบายสี
     อุปกรณสรางสรรคงานวาดภาพระบายสี
     ๖. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนน                การจัดระยะความลึก น้ําหนักและแสงเงา
     เรื่องการจัดระยะ ความลึก น้ําหนักและ       ในการวาดภาพ
     แสงเงาในภาพ
     ๗. วาดภาพระบายสี โดยใชสีวรรณะอุน          การใชสีวรรณะอุนและใชสีวรรณะเย็น
     และสีวรรณะเย็น ถายทอดความรูสึกและ        วาดภาพถายทอดความรูสึกและจินตนาการ
     จินตนาการ
     ๘. เปรียบเทียบความคิดความรูสึก             ความเหมือนและความแตกตางในงาน
     ที่ถายทอดผานงานทัศนศิลปของตนเอง         ทัศนศิลปความคิดความรูสึกที่ถายทอดในงาน
     และบุคคลอื่น                               ทัศนศิลป
     ๙. เลือกใชวรรณะสีเพื่อถายทอดอารมณ        การเลือกใชวรรณะสีเพื่อถายทอดอารมณ
     ความรูสึกในการสรางงานทัศนศิลป           ความรูสึก
๑๐



ชั้น                   ตัวชี้วัด                     สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๕ ๑. บรรยายเกี่ยวกับจังหวะตําแหนง         จังหวะ ตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ในสิ่งแวดลอม
     ของสิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอม    และงานทัศนศิลป
     และงานทัศนศิลป
     ๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง        ความแตกตางระหวางงานทัศนศิลป
     งานทัศนศิลป ที่สรางสรรคดวยวัสดุ
     อุปกรณและวิธีการที่ตางกัน
     ๓. วาดภาพ โดยใชเทคนิคของแสงเงา         แสงเงา น้ําหนัก และวรรณะสี
     น้ําหนัก และวรรณะสี
     ๔. สรางสรรคงานปนจาก ดินน้ํามัน      การสรางงานปนเพื่อถายทอดจินตนาการ
     หรือดินเหนียว โดยเนนการถายทอด        ดวยการใชดินน้ํามันหรือดินเหนียว
     จินตนาการ
     ๕. สรางสรรคงานพิมพภาพ โดยเนน        การจัดภาพในงานพิมพภาพ
     การจัดวางตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ในภาพ
     ๖. ระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป     การจัดองคประกอบศิลปและการสื่อ
     และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป       ความหมาย ในงานทัศนศิลป
     ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงาน
     ใหดีขึ้น
     ๗. บรรยายประโยชนและคุณคา              ประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลป
     ของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคน
     ในสังคม
ป.๖ ๑. ระบุสีคูตรงขาม และอภิปราย           วงสีธรรมชาติ และสีคตรงขาม
                                                                 ู
     เกี่ยวกับการใชสีคูตรงขามในการ
     ถายทอดความคิดและอารมณ
     ๒. อธิบายหลักการจัดขนาดสัดสวน          หลักการจัดขนาด สัดสวนความสมดุล
     ความสมดุลในการสรางงานทัศนศิลป        ในงานทัศนศิลป
     ๓. สรางงานทัศนศิลปจากรูปแบบ           งานทัศนศิลปรูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
     ๒ มิติ เปน๓ มิติ โดยใชหลักการ
     ของแสงเงาและน้ําหนัก
๑๑



ชั้น                    ตัวชี้วัด                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๖ ๔. สรางสรรคงานปนโดยใชหลักการ             การใชหลักการเพิ่มและลดในการ
     เพิ่มและลด                                  สรางสรรคงานปน
     ๕. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใชหลักการ       รูปและพื้นที่วางในงานทัศนศิลป
     ของรูปและพื้นที่วาง
     ๖. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใช              การสรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใช
     สีคูตรงขามหลักการจัดขนาดสัดสวน           สีคูตรงขาม หลักการจัดขนาด สัดสวนและ
     และความสมดุล                                ความสมดุล
     ๗. สรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ               การสรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ
     แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถายทอด            แผนผัง และภาพประกอบ
     ความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ
     ตาง ๆ
ม.๑ ๑. บรรยายความแตกตางและความ                   ความแตกตางและความคลายคลึงกัน
     คลายคลึงกันของงานทัศนศิลป                 ของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป และสิ่งแวดลอม
     และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ
     ๒. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบ               ความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล
     งานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพ
     ความกลมกลืน และความสมดุล
     ๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเห็น                หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ
     ระยะไกลใกล เปน ๓ มิติ
     ๔. รวบรวมงานปนหรือสื่อผสมมาสราง           เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปน
                                                                                       
     เปนเรื่องราว ๓ มิติโดยเนนความเปนเอกภาพ   หรืองานสื่อผสม
     ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราว
     ของงาน
     ๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ                    การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ
      หรือกราฟกอื่น ๆ ในการนําเสนอ              หรืองานกราฟก
      ความคิดและขอมูล
     ๖. ประเมินงานทัศนศิลป และบรรยาย             การประเมินงานทัศนศิลป
     ถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและ
     ผูอื่นโดยใชเกณฑที่กําหนดให
๑๒



ชั้น                 ตัวชี้วัด                          สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.๒ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในดานรูปแบบ    รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงาน
     และแนวคิดของงานทัศนศิลปที่เลือกมา       ทัศนศิลป
     ๒. บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและ           ความเหมือนและความแตกตางของรูปแบบ
     ความแตกตางของรูปแบบการใชวัสดุ          การใชวัสดุ อุปกรณในงานทัศนศิลป
     อุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน           ของศิลปน
     ๓. วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลาย            เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย
     ในการสื่อความหมายและเรื่องราวตาง ๆ
     ๔. สรางเกณฑในการประเมิน                 การประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป
     และวิจารณงานทัศนศิลป
     ๕. นําผลการวิจารณไปปรับปรุงแกไข         การพัฒนางานทัศนศิลป
     และพัฒนางาน                               การจัดทําแฟมสะสมงานทัศนศิลป
      ๖. วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะ                การวาดภาพถายทอดบุคลิกลักษณะ
      ของตัวละคร                              ของตัวละคร
      ๗. บรรยายวิธีการใชงานทัศนศิลป          งานทัศนศิลปในการโฆษณา
      ในการโฆษณาเพื่อโนมนาวใจ
      และนําเสนอตัวอยางประกอบ
ม.๓   ๑. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป  ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดลอม
      ทีเ่ ลือกมาโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ และงานทัศนศิลป
      และหลักการออกแบบ
      ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ          เทคนิควิธีการของศิลปนในการสรางงาน
      ของศิลปนในการสรางงาน ทัศนศิลป        ทัศนศิลป
      ๓. วิเคราะห และบรรยายวิธีการใช         วิธีการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
      ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ          ในการสรางงานทัศนศิลป
      สรางงานทัศนศิลปของตนเอง
      ใหมีคุณภาพ
      ๔. มีทักษะในการสรางงานทัศนศิลป         การสรางงานทัศนศิลปทั้งไทยและสากล
      อยางนอย ๓ ประเภท
๑๓



 ชั้น                   ตัวชี้วัด                     สาระการเรียนรูแกนกลาง
 ม.๓ ๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตาง ๆ         การใชหลักการออกแบบในการสรางงาน
       ในการสรางงานทัศนศิลปโดยใช           สื่อผสม
       หลักการออกแบบ
       ๖. สรางงานทัศนศิลป ทั้ง ๒ มิติ และ    การสรางงานทัศนศิลปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
       ๓ มิติ เพื่อถายทอดประสบการณและ       เพื่อถายทอดประสบการณ และจินตนาการ
       จินตนาการ
       ๗. สรางสรรคงานทัศนศิลปสื่อ           การประยุกตใชทัศนธาตุและหลักการ
       ความหมายเปนเรื่องราว โดยประยุกตใช   ออกแบบสรางงานทัศนศิลป
       ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ
       ๘. วิเคราะหและอภิปรายรูปแบบ            การวิเคราะหรูปแบบ เนื้อหา และคุณคา
       เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลป         ในงานทัศนศิลป
       ของตนเอง และผูอื่น หรือของศิลปน
       ๙. สรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยาย    การใชเทคนิค วิธีการที่หลากหลาย
       เหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิค           สรางงานทัศนศิลปเพื่อสื่อความหมาย
       ที่หลากหลาย
       ๑๐. ระบุอาชีพที่เกี่ยวของกับงาน        การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป
       ทัศนศิลปและทักษะที่จําเปนในการ
       ประกอบอาชีพนั้น ๆ
       ๑๑. เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่     การจัดนิทรรศการ
       กําหนดขึ้นอยางเหมาะสม และนําไป
       จัดนิทรรศการ
ม.๔- ๖ ๑. วิเคราะหการใชทัศนธาตุ และ          ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
       หลักการออกแบบในการสื่อความหมาย
       ในรูปแบบตาง ๆ
       ๒. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของ        ศัพททางทัศนศิลป
       งานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป
       ๓. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุอุปกรณ     วัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปน
       และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออก         ในการแสดงออกทางทัศนศิลป
       ทางทัศนศิลป
๑๔



ชั้น                   ตัวชี้วัด                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.๔- ๖ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ          เทคนิค วัสดุ อุปกรณ กระบวนการในการ
       อุปกรณ และกระบวนการที่สูงขึ้น           สรางงานทัศนศิลป
       ในการสรางงานทัศนศิลป
       ๕. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยี    หลักการออกแบบและการจัดองคประกอบ
       ตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและ           ศิลปดวยเทคโนโลยี
       การจัดองคประกอบศิลป
       ๖. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับ          การออกแบบงานทัศนศิลป
       โอกาสและสถานที่
       ๗. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมาย          จุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ
       ของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ      อุปกรณ เทคนิคและเนื้อหา ในการสรางงาน
       เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสรางสรรคงาน      ทัศนศิลป
       ทัศนศิลป
       ๘. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป          ทฤษฎีการวิจารณศิลปะ
       โดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ
       ๙. จัดกลุมงานทัศนศิลปเพื่อสะทอน        การจัดทําแฟมสะสมงานทัศนศิลป
       พัฒนาการและความกาวหนาของตนเอง
       ๑๐. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล        การสรางงานทัศนศิลปจากแนวคิดและ
       โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ              วิธีการของศิลปน
       สรางงานของศิลปนที่ตนชื่นชอบ
       ๑๑. วาดภาพ ระบายสีเปนภาพลอเลียน         การวาดภาพลอเลียนหรือภาพการตูน
       หรือภาพการตูนเพื่อแสดงความคิดเห็น
       เกี่ยวกับสภาพสังคมในปจจุบัน
๑๕



สาระที่ ๑ ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา
                    งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล
    ชั้น                    ตัวชี้วัด                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
   ป.๑ ๑. ระบุงานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน  งานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน
   ป.๒ ๑. บอกความสําคัญของงานทัศนศิลป  ความสําคัญของงานทัศนศิลปในชีวิต
            ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน              ประจําวัน
            ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป         งานทัศนศิลปในทองถิ่น
            ประเภทตาง ๆ ในทองถิ่นโดยเนนถึง
            วิธีการสรางงานและวัสดุอุปกรณ ที่ใช
   ป.๓ ๑. เลาถึงที่มาของงานทัศนศิลปในทองถิ่น  ที่มาของงานทัศนศิลปในทองถิ่น
            ๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณและ       วัสดุ อุปกรณ และวิธีการสรางงานทัศนศิลป
            วิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น     ในทองถิ่น
   ป.๔ ๑. ระบุ และอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปในวัฒนธรรมทองถิ่น
            ในเหตุการณ และงานเฉลิมฉลอง
            ของวัฒนธรรมในทองถิ่น
            ๒. บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป          งานทัศนศิลปจากวัฒนธรรมตาง ๆ
            ที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ
   ป.๕ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ             ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป
            รูปแบบของงานทัศนศิลปในแหลงเรียนรู
            หรือนิทรรศการศิลปะ
            ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป         งานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและ
            ที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญา          ภูมิปญญาในทองถิ่น
            ในทองถิ่น
   ป.๖ ๑. บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป  บทบาทของงานทัศนศิลปในชีวิต
            ที่สะทอนชีวิตและสังคม                 และสังคม
            ๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของ           อิทธิพลของศาสนาที่มีตองานทัศนศิลป
            ความเชื่อความศรัทธาในศาสนาที่มีผล ในทองถิ่น
            ตองานทัศนศิลปในทองถิ่น
๑๖



 ชั้น                    ตัวชี้วัด                          สาระการเรียนรูแกนกลาง
 ป.๖ ๓. ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรม             อิทธิพลทางวัฒนธรรมในทองถิ่นที่มีผล
       ในทองถิ่นที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลป     ตอการสรางงานทัศนศิลป
       ของบุคคล
 ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบ         ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลปของชาติ
       งานทัศนศิลปของชาติและของทองถิ่น            และทองถิ่น
       ตนเองจากอดีตจนถึงปจจุบัน
       ๒. ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป            งานทัศนศิลปภาคตาง ๆ ในประเทศไทย
       ของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย
       ๓. เปรียบเทียบความแตกตางของ                  ความแตกตางของงานทัศนศิลป
       จุดประสงคในการสรางสรรคงาน                 ในวัฒนธรรมไทยและสากล
       ทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทยและสากล
ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมตาง ๆ         วัฒนธรรมที่สะทอนในงานทัศนศิลป
       ที่สะทอนถึงงานทัศนศิลปในปจจุบัน           ปจจุบัน
       ๒. บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของ                 งานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัย
       งานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัย
       โดยเนนถึงแนวคิดและเนื้อหาของงาน
       ๓. เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบ               การออกแบบงานทัศนศิลปในวัฒนธรรม
       งานทัศนศิลปที่มาจาก วัฒนธรรมไทย             ไทยและสากล
       และสากล
ม.๓ ๑. ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป          งานทัศนศิลปกับการสะทอนคุณคา
       ที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม                   ของวัฒนธรรม
       ๒. เปรียบเทียบความแตกตางของ                  ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละ
       งานทัศนศิลปในแตละยุคสมัย                   ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล
       ของวัฒนธรรมไทยและสากล
ม.๔- ๖ ๑. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป       งานทัศนศิลปรูปแบบตะวันออกและ
       ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบ                    ตะวันตก
       ตะวันตก
       ๒. ระบุงานทัศนศิลปของศิลปนที่มีชื่อเสียง    งานทัศนศิลปของศิลปนที่มีชื่อเสียง
       และบรรยายผลตอบรับของสังคม
๑๗



 ชั้น                  ตัวชี้วัด                   สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.๔- ๖ ๓. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของ      อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศ
       วัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตอ   ที่มีผลตองานทัศนศิลป
       งานทัศนศิลปในสังคม
๑๘



สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี
                   ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใช
                   ในชีวิตประจําวัน
    ชั้น                     ตัวชี้วัด                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
   ป.๑ ๑. รูวาสิ่งตาง ๆ สามารถกอกําเนิดเสียง     การกําเนิดของเสียง
           ที่แตกตางกัน                                 - เสียงจากธรรมชาติ
                                                         - แหลงกําเนิดของเสียง
                                                         - สีสันของเสียง
           ๒. บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และ           ระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic)
           ความชา- เร็วของจังหวะ                    อัตราความเร็วของจังหวะTempo
           ๓. ทองบทกลอน รองเพลงงาย ๆ              การอานบทกลอนประกอบจังหวะ
                                                     การรองเพลงประกอบจังหวะ
           ๔. มีสวนรวมในกิจกรรมดนตรีอยาง          กิจกรรมดนตรี
           สนุกสนาน                                      - การรองเพลง
                                                         - การเคาะจังหวะ
                                                         - การเคลื่อนไหวประกอบบทเพลง
                                                                   o ตามความดัง- เบาของบท
                                                                       เพลง
                                                                   o ตามความชาเร็วของจังหวะ
           ๕. บอกความเกี่ยวของของเพลงที่ใช         เพลงที่ใชในชีวิตประจําวัน
           ในชีวิตประจําวัน                              - เพลงกลอมเด็ก
                                                         - บทเพลงประกอบการละเลน
                                                         - เพลงสําคัญ (เพลงชาติไทย
                                                              เพลงสรรเสริญพระบารมี)
   ป.๒ ๑. จําแนกแหลงกําเนิด ของเสียงที่ไดยิน  สีสันของเสียงเครื่องดนตรี
                                                     สีสันของเสียงมนุษย
           ๒. จําแนกคุณสมบัตของเสียง สูง- ต่ํา ,
                                ิ                    การฝกโสตประสาท การจําแนกเสียง
           ดัง-เบา ยาว-สั้น ของดนตรี                สูง-ต่ํา ดัง-เบา ยาว-สั้น
๑๙



ชั้น                ตัวชี้วัด                           สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๒ ๓. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรางกาย         การเคลื่อนไหวประกอบเนื้อหาในบทเพลง
     ใหสอดคลองกับเนื้อหาของเพลง              การเลนเครื่องดนตรีประกอบเพลง
      ๔. รองเพลงงาย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย       การขับรอง
      ๕. บอกความหมายและความสําคัญ              ความหมายและความสําคัญของเพลง
      ของเพลงที่ไดยิน                        ที่ไดยิน
                                                   - เพลงปลุกใจ
                                                   - เพลงสอนใจ
ป.๓   ๑. ระบุรูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี      รูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี
      ที่เห็นและไดยินในชีวิตประจําวัน         เสียงของเครื่องดนตรี
      ๒. ใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนเสียง        สัญลักษณแทนคุณสมบัตของเสียง (สูง-ต่ํา
                                                                         ิ
      และจังหวะเคาะ                           ดัง-เบา ยาว-สั้น)
                                               สัญลักษณแทนรูปแบบจังหวะ
      ๓. บอกบทบาทหนาที่ของเพลงที่ไดยิน       บทบาทหนาที่ของบทเพลงสําคัญ
                                                   - เพลงชาติ
                                                   - เพลงสรรเสริญพระบารมี
                                                   - เพลงประจําโรงเรียน
      ๔. ขับรองและบรรเลงดนตรีงาย ๆ           การขับรองเดี่ยวและหมู
                                               การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบเพลง
      ๕. เคลื่อนไหวทาทางสอดคลองกับ           การเคลื่อนไหวตามอารมณของบทเพลง
      อารมณของเพลงที่ฟง
      ๖. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี    การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงรอง
      เสียงขับรองของตนเองและผูอื่น          และเสียงดนตรี
                                                 - คุณภาพเสียงรอง
                                                 - คุณภาพเสียงดนตรี
      ๗. นําดนตรีไปใชในชีวิตประจําวันหรือ     การใชดนตรีในโอกาสพิเศษ
      โอกาสตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม                - ดนตรีในงานรื่นเริง
                                                 - ดนตรีในการฉลองวันสําคัญของชาติ
๒๐



ชั้น             ตัวชี้วัด                              สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๔ ๑. บอกประโยคเพลงอยางงาย                    โครงสรางของบทเพลง
                                                   - ความหมายของประโยคเพลง
                                                   - การแบงประโยคเพลง
      ๒. จําแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใช  ประเภทของเครื่องดนตรี
      ในเพลงที่ฟง                               เสียงของเครื่องดนตรีแตละประเภท
      ๓. ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้น – ลงงาย ๆ  การเคลื่อนที่ขึ้น - ลงของทํานอง
      ของทํานอง รูปแบบจังหวะและความเร็ว  รูปแบบจังหวะของทํานองจังหวะ
      ของจังหวะในเพลงทีฟง ่                     รูปแบบจังหวะ
                                                 ความชา - เร็วของจังหวะ
      ๔. อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล           เครืองหมายและสัญลักษณทางดนตรี
                                                      ่
                                                   - กุญแจประจําหลัก
                                                   - บรรทัดหาเสน
                                                   - โนตและเครื่องหมายหยุด
                                                   - เสนกั้นหอง
                                                 โครงสรางโนตเพลงไทย
                                                   - การแบงหอง
                                                   - การแบงจังหวะ
      ๕. รองเพลงโดยใชชวงเสียงที่เหมาะสม  การขับรองเพลงในบันไดเสียงที่
      กับตนเอง                                  เหมาะสมกับตนเอง
      ๖. ใชและเก็บเครื่องดนตรีอยางถูกตอง      การใชและการดูแลรักษาเครื่องดนตรี
      และปลอดภัย                                ของตน
      ๗. ระบุวาดนตรีสามารถใชในการสื่อ          ความหมายของเนื้อหาในบทเพลง
      เรื่องราว
ป.๕   ๑. ระบุองคประกอบดนตรีในเพลงที่ใช  การสื่ออารมณของบทเพลงดวยองคประกอบ
      ในการสื่ออารมณ                           ดนตรี
                                                   - จังหวะกับอารมณของบทเพลง
                                                   - ทํานองกับอารมณของบทเพลง
๒๑



 ชั้น                       ตัวชี้วัด              สาระการเรียนรูแกนกลาง
ป.๕     ๒. จําแนกลักษณะของเสียงขับรองและ
                                         ลักษณะของเสียงนักรองกลุมตาง ๆ
        เครื่องดนตรีที่อยูในวงดนตรีประเภทตาง ๆ
                                         ลักษณะเสียงของวงดนตรีประเภทตาง ๆ
     ๓. อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล    เครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรี
     ๕ ระดับเสียง                           - บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale
                                            - โนตเพลงในบันไดเสียง ๕ เสียง
                                                  Pentatonic scale
     ๔. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และ  การบรรเลงเครื่องประกอบจังหวะ
     ทํานอง                              การบรรเลงทํานองดวยเครื่องดนตรี
     ๕. รองเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือเพลง  การรองเพลงไทยในอัตราจังหวะสองชั้น
     ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย             การรองเพลงสากล หรือไทยสากล
                                         การรองเพลงประสานเสียงแบบ
                                        Canon Round
     ๖. ดนสดงาย ๆ โดยใชประโยคเพลง     การสรางสรรคประโยคเพลงถาม-ตอบ
     แบบถามตอบ
     ๗. ใชดนตรีรวมกับกิจกรรมในการ      การบรรเลงดนตรีประกอบกิจกรรม
     แสดงออกตามจินตนาการ                นาฏศิลป
                                         การสรางสรรคเสียงประกอบการเลาเรื่อง
 ป.๖ ๑. บรรยายเพลงที่ฟง โดยอาศัย        องคประกอบดนตรีและศัพทสังคีต
     องคประกอบดนตรี และศัพทสังคีต
     ๒. จําแนกประเภทและบทบาทหนาที่      เครื่องดนตรีไทยแตละภาค
     เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่   บทบาทและหนาที่ของเครื่องดนตรี
     มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ                 ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
     ๓. อาน เขียนโนตไทย และโนตสากล    เครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรี
     ทํานองงาย ๆ                        โนตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชั้น
                                         โนตบทเพลงสากลในบันไดเสียง C Major
     ๔. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ      การรองเพลงประกอบดนตรี
     การรองเพลง ดนสด ที่มีจังหวะและ    การสรางสรรครูปแบบจังหวะและทํานอง
     ทํานองงาย ๆ                       ดวยเครื่องดนตรี
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ

More Related Content

What's hot

1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนIct Krutao
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

Similar to ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ

กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colourspeter dontoom
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colourspeter dontoom
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3peter dontoom
 
ศิลปะ ม.ต้น
ศิลปะ ม.ต้นศิลปะ ม.ต้น
ศิลปะ ม.ต้นpeter dontoom
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfpeter dontoom
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 

Similar to ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ (20)

กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colours
 
Report water colours
Report water coloursReport water colours
Report water colours
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3ปลายภาค ม3
ปลายภาค ม3
 
ศิลปะ ม.ต้น
ศิลปะ ม.ต้นศิลปะ ม.ต้น
ศิลปะ ม.ต้น
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
P97926870419
P97926870419P97926870419
P97926870419
 
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdfเรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
เรื่องรายงานวิจัยในชั้นเรียนสีไม้64.6.pdf
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 

More from พิพัฒน์ ตะภา

More from พิพัฒน์ ตะภา (6)

ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครูผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
รายชื่อนักเรียนปี2555
รายชื่อนักเรียนปี2555รายชื่อนักเรียนปี2555
รายชื่อนักเรียนปี2555
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
Googleintro
GoogleintroGoogleintro
Googleintro
 
Blogger คืออะไร
Blogger คืออะไรBlogger คืออะไร
Blogger คืออะไร
 

ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ

  • 1. 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
  • 2. 2 สารบัญ หนา คํานํา ทําไมตองเรียนศิลปะ ๑ เรียนรูอะไรในศิลปะ ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู ๒ คุณภาพผูเรียน ๓ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ๗ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป ๗ สาระที่ ๒ ดนตรี ๑๘ สาระที่ ๓ นาฏศิลป ๓๐ อภิธานศัพท ๔๑ คณะผูจัดทํา ๔๗
  • 3. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ทําไมตองเรียนศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย กิจ กรรมทางศิล ปะชว ยพัฒ นาผูเ รีย นทั้ งด านรา งกาย จิ ต ใจ สติ ปญ ญา อารมณ สัง คม ตลอดจน การนํา ไปสู ก ารพั ฒ นาสิ่ งแวดล อ ม ส งเสริม ใหผู เ รีย นมี ค วามเชื่ อมั่ น ในตนเอง อั น เป น พื้น ฐาน ในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได เรียนรูอะไรในศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะมุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผูเรียนแสดงออกอยางอิสระในศิลปะแขนงตาง ๆ ประกอบดวยสาระสําคัญ คือ  ทัศนศิลป มีค วามรูค วามเขาใจองคประกอบศิล ป ทัศนธาตุ สรางและนําเสนอผลงาน ทางทัศนศิลปจากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใชเทคนิค วิธีการ ของศิลปน ในการสรางงานได อยางมีประสิทธิภ าพ วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานศิลปะที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน  ดนตรี มีความรูความเขาใจองคประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ทางดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาดนตรี ที่เปน มรดกทางวัฒ นธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล รองเพลง และเลน ดนตรี ในรูปแบบตาง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรูสึกที่มีตอดนตรีในเชิงสุนทรีย ะ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณในประวัติศาสตร  นาฏศิลป มี ค วามรู ค วามเข า ใจองค ป ระกอบนาฏศิ ล ป แสดงออกทางนาฏศิ ล ป อยางสรางสรรค ใชศัพทเบื้องตน ทางนาฏศิลป วิเคราะหวิพากษ วิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอด ความรูสึก ความคิด อยางอิสระ สรางสรรคก ารเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ ประยุก ตใ ชน าฏศิลป ในชีวิต ประจําวัน เขาใจความสัมพัน ธร ะหวางนาฏศิลปกั บประวัติศาสตร วัฒ นธรรม เห็นคุณคา ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล
  • 4. ๒ สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระที ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล สาระที ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณ คา ดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิด ตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ ช ในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรี ที่ เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล สาระที ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา นาฏศิลปถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล
  • 5. ๓ คุณภาพผูเรียน จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๓  รูและเขาใจเกี่ยวกับรูปร าง รู ปทรง และจําแนกทัศนธาตุข องสิ่งตา ง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป มีทักษะพื้นฐานการใชวัสดุอุปกรณในการสรางงานวาดภาพระบายสี โดยใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปน งานโครงสรางเคลื่อนไหวอยางงาย ๆ ถายทอดความคิด ความรูสึก จากเรื่องราว เหตุการณ ชีวิต จริง สรางงานทัศนศิลปตามที่ต นชื่น ชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง  รูและเขา ใจความสํ าคัญ ของงานทั ศนศิล ปใ นชีวิ ต ประจํ าวั น ที่มาของงานทั ศนศิล ป ในทองถิ่น ตลอดจนการใชวัสดุ อุปกรณ และวิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น  รูและเขาใจแหลงกําเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหนาที่ ความหมาย ความสําคัญ ของบทเพลงใกลตั ว ที่ไ ด ยิน สามารถทอ งบทกลอน ร องเพลง เคาะจั งหวะ เคลื่ อ นไหวร า งกาย ใหสอดคลองกับบทเพลง อาน เขียน และใชสัญลักษณแทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับดนตรี เสียงขับรองของตนเอง มีสวนรวมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจําวัน  รู แ ละเข า ใจเอกลั ก ษณ ข องดนตรี ใ นท อ งถิ่ น มี ค วามชื่ น ชอบ เห็ น ความสํ า คั ญ และประโยชนของดนตรีตอการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น  สรางสรรคการเคลื่อนไหวในรูปแบบตาง ๆ สามารถแสดงทาทางประกอบจังหวะเพลง ตามรู ปแบบนาฏศิลป มีมารยาทในการชมการแสดง รูห นาที่ ข องผู แสดงและผูชม รูประโยชน ของการแสดงนาฏศิลปในชีวตประจําวัน เขารวมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย ิ  รู แ ละเข า ใจการละเล น ของเด็ ก ไทยและนาฏศิ ล ป ท อ งถิ่ น ชื่ น ชอบและภาคภู มิ ใ จ ในการละเล น พื้ น บ า น สามารถเชื่ อ มโยงสิ่ ง ที่ พ บเห็ น ในการละเล น พื้ น บ า นกั บ การดํ า รงชี วิ ต ของคนไทย บอกลัก ษณะเดนและเอกลักษณของนาฏศิลปไทยตลอดจนความสําคัญของการแสดง นาฏศิลปไทยได
  • 6. จบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖  รูและเขาใจการใชทัศนธาตุ รูปราง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช วั ส ดุ อุ ป กรณ ถ า ยทอดความคิ ด อารมณ ความรู สึ ก สามารถใช ห ลั ก การจั ด ขนาด สั ด ส ว น ความสมดุ ล น้ํ าหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช สีคูต รงขา มที่เ หมาะสมในการสรา งงานทัศ นศิล ป ๒ มิ ติ ๓ มิ ติ เช น งานสื่ อ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานป น งานพิ ม พ ภ าพ รวมทั้ ง สามารถ สรางแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถายทอดความคิด จิน ตนาการเปน เรื่อ งราวเกี่ยวกั บ เหตุ ก ารณ ต า ง ๆ และสามารถเปรี ย บเที ย บความแตกต า งระหว า งงานทั ศ นศิ ล ป ที่ ส ร า งสรรค ดว ยวัสดุอุปกรณและวิธีก ารที่แตกตางกัน เขาใจปญหาในการจัด องคป ระกอบศิลป หลัก การลด และเพิ่มในงานปน การสื่อความหมายในงานทัศนศิลปของตน รูวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น ตลอดจน รูและเขาใจคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม  รูและเขาใจบทบาทของงานทัศนศิลปที่สะทอนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น  รู แ ละเข า ใจเกี่ ย วกั บ เสี ย งดนตรี เสี ย งร อ ง เครื่ อ งดนตรี และบทบาทหน า ที่ รูถึงการเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของทํานองเพลง องคประกอบของดนตรี ศัพทสังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณ ข องบทเพลงที่ ฟ ง ร อ งและบรรเลงเครื่ อ งดนตรี ด น สดอย างง า ย ใช แ ละเก็ บ รั ก ษา เครื่องดนตรีอยางถูกวิธี อาน เขียนโนตไทยและสากลในรูปแบบตาง ๆ รูลักษณะของผูที่จะเลนดนตรีไดดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองคประกอบดนตรี ถายทอดความรูสึกของบทเพลงที่ฟง สามารถใชดนตรี ประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลปและ การเลาเรื่อง  รู แ ละเข า ใจความสั ม พั น ธ ร ะหว า งดนตรี กั บ วิ ถี ชี วิ ต ประเพณี วั ฒ นธรรมไทย และวัฒนธรรมตาง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร อิทธิพลของวัฒนธรรมตอดนตรี รูคุณคาดนตรี ที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน เห็นความสําคัญในการอนุรักษ  รูและเขาใจองคประกอบนาฏศิลป สามารถแสดงภาษาทา นาฏยศัพทพื้นฐาน สรางสรรค การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป และการละครงาย ๆ ถายทอดลีลาหรืออารมณ และสามารถ ออกแบบเครื่องแตงกายหรืออุปกรณประกอบการแสดงงาย ๆ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยาย ความรูสึกของตนเองที่มีตองานนาฏศิลป  รูและเขาใจความสัมพันธและประโยชนของนาฏศิลปและการละคร สามารถเปรียบเทียบ การแสดงประเภทตาง ๆ ของไทยในแตละทองถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะทอนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคุณคาการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลปไทย
  • 7. จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓  รู แ ละเข า ใจเรื่ อ งทั ศ นธาตุ แ ละหลั ก การออกแบบและเทคนิ ค ที่ ห ลากหลายในการ สรา งงานทัศนศิล ป ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่ อสื่ อความหมายและเรื่ องราวตา ง ๆ ได อยา งมี คุณ ภาพ วิเคราะหรูป แบบเนื้อหาและประเมิ น คุณ คางานทัศนศิลปข องตนเองและผูอื่น สามารถเลือกงาน ทัศนศิลปโ ดยใชเกณฑที่กําหนดขึ้น อยางเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลัก ษณ กราฟก ในการนําเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะที่จําเปนดานอาชีพที่เกี่ยวของกันกับงานทัศนศิลป  รูแ ละเข าใจการเปลี่ ยนแปลงและพัฒ นาการของงานทั ศนศิล ปข องชาติ และท องถิ่ น แตละยุคสมัย เห็น คุณ คางานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒ นธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมตาง ๆ  รู แ ละเข า ใจถึ ง ความแตกต า งทางด า นเสี ย ง องค ป ระกอบ อารมณ ความรู สึ ก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมตาง ๆ มีทักษะในการรอง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเปนวงโดยเนน เทคนิคการรองบรรเลงอยางมีคุณ ภาพ มีทัก ษะในการสรางสรรคบทเพลงอยางงาย อานเขียนโนต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องตนได รูและเขาใจถึงปจจัยที่มีผลตอรูปแบบของผลงาน ทางดนตรี องคประกอบของผลงานดานดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิด เห็น และบรรยาย อารมณความรูสึกที่มีตอบทเพลง สามารถนําเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบไดอยางมีเหตุผล มีทักษะในการ ประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถึงอาชีพตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง เขาใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม  รูและเขาใจที่มา ความสัมพันธ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตละวัฒนธรรมในยุคสมัยตาง ๆ วิเคราะหปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับ   รูแ ละเข า ใจการใช น าฏยศัพ ท ห รือ ศั พ ทท างการละครในการแปลความและสื่อ สาร ผานการแสดง รวมทั้งพัฒ นารูปแบบการแสดง สามารถใชเกณฑงา ย ๆ ในการพิจ ารณาคุณ ภาพ การแสดง วิ จ ารณ เ ปรี ย บเที ย บงานนาฏศิ ล ป โดยใช ค วามรู เ รื่ อ งองค ป ระกอบทางนาฏศิ ล ป รวมจัดการแสดง นําแนวคิดของการแสดงไปปรับใชในชีวิตประจําวัน  รู แ ละเข า ใจประเภทละครไทยในแต ล ะยุ ค สมั ย ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลง ของนาฏศิล ป ไ ทย นาฏศิล ป พื้ น บ า น ละครไทย และละครพื้น บ าน เปรี ย บเที ยบลั ก ษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศิล ป จ ากวั ฒ นธรรมต าง ๆ รวมทั้ งสามารถออกแบบและสร างสรรคอุ ปกรณ เครื่องแตงกายในการแสดงนาฏศิลปและละคร มีค วามเขาใจ ความสําคัญ บทบาทของนาฏศิล ป และละครในชีวิตประจําวัน
  • 8. จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖  รูและเขาใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใชศัพท ทางทัศนศิลป อธิบายจุด ประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณและกระบวนการที่สูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะหเนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิล ปน ทั้ง ไทยและสากล ตลอดจนการใช เทคโนโลยี ตา ง ๆ ในการออกแบบ สรางสรรคงานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมดวยภาพ ลอเลียนหรือการตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณคุณคางานทัศนศิลปดวยหลักทฤษฎีวิจารณศิลปะ   วิ เ คราะห เ ปรี ย บเที ย บงานทั ศ นศิ ล ป ใ นรู ป แบบตะวั น ออกและรู ป แบบตะวั น ตก เข า ใจอิ ท ธิ พ ลของมรดกทางวั ฒ นธรรมภู มิ ป ญ ญาระหว า งประเทศที่ มี ผ ลต อ การสร า งสรรค งานทัศนศิลปในสังคม  รู แ ละเข า ใจรู ป แบบบทเพลงและวงดนตรี แ ต ล ะประเภท และจํ า แนกรู ป แบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เขาใจอิทธิพลของวัฒ นธรรมตอการสรางสรรคด นตรี เปรียบเทียบ อารมณและความรูสึกที่ไดรับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตางกัน อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัต ราจั ง หวะตา ง ๆ มีทั ก ษะในการร องเพลงหรื อ เล น ดนตรีเ ดี่ย วและรวมวงโดยเนน เทคนิ ค การแสดงออกและคุ ณ ภาพของการแสดง สร า งเกณฑ สํ า หรั บ ประเมิ น คุ ณ ภาพการประพั น ธ การเลนดนตรีของตนเองและผูอื่นไดอยางเหมาะสม สามารถนําดนตรีไประยุกตใชในงานอื่น ๆ  วิเคราะห เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเดนของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมตาง ๆ เข าใจบทบาทของดนตรีที่ สะท อนแนวความคิด และคา นิย มของคนในสั ง คม สถานะทางสัง คม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ สรางแนวทางและมีสวนรวมในการสงเสริมและอนุรักษดนตรี  มีทัก ษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีค วามคิ ด ริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปน คู และเปนหมู สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป และละครที่ตองการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการแสดง วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมิน ในการประเมิน การแสดง และสามารถวิเคราะหทาทางการเคลื่อนไหวของผูค นในชีวิต ประจําวัน และนํามาประยุกตใชในการแสดง  เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิ ล ป แ ละการละครของประเทศไทยในยุ ค สมั ย ต า ง ๆ สามารถเปรี ย บเที ย บ การนําการแสดงไปใชในโอกาสตาง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษนาฏศิลปไทย
  • 9. ๗ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ ๑ ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๑ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ  รูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตาง ๆ และขนาดของสิงตาง ๆ รอบตัว ่ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ๒. บอกความรูสึกที่มีตอธรรมชาติ และ  ความรูสึกที่มีตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมรอบตัว รอบตัว เชน รูสึกประทับใจกับความงาม ของบริเวณรอบอาคารเรียน หรือรูสึกถึง ความไมเปนระเบียบ ของสภาพภายใน หองเรียน ๓. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ  การใชวัสดุ อุปกรณ เชน ดินเหนียว อุปกรณสรางงานทัศนศิลป ดินน้ํามัน ดินสอ พูกัน กระดาษ สีเทียน สีน้ํา ดินสอสีสรางงานทัศนศิลป ๔. สรางงานทัศนศิลปโดยการทดลองใชสี  การทดลองสีดวยการใชสีน้ํา สีโปสเตอร ดวยเทคนิคงาย ๆ สีเทียนและสีจากธรรมชาติที่หาไดในทองถิ่น ๕. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ  การวาดภาพระบายสีตามความรูสึก ตามความรูสึกของตนเอง ของตนเอง ป.๒ ๑. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบในธรรมชาติ  รูปราง รูปทรงในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอม เชน รูปกลม รี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ กระบอก ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยูในสิ่งแวดลอม   เสน สี รูปราง รูปทรงในสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่องเสน และงานทัศนศิลปประเภทตาง ๆ เชน งานวาด สี รูปราง และรูปทรง งานปน และงานพิมพภาพ ๓. สรางงานทัศนศิลปตาง ๆ โดยใช  เสน รูปรางในงานทัศนศิลปประเภทตาง ๆ ทัศนธาตุที่เนนเสน รูปราง เชน งานวาด งานปน และงานพิมพภาพ
  • 10. ๘ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๒ ๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ  การใชวัสดุ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ ๕. สรางภาพปะติดโดยการตัดหรือ  ภาพปะติดจากกระดาษ ฉีกกระดาษ ๖. วาดภาพเพื่อถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับ  การวาดภาพถายทอดเรื่องราว ครอบครัวของตนเองและเพื่อนบาน ๗. เลือกงานทัศนศิลป และบรรยายถึง  เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศนศิลป สิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว ๘. สรางสรรคงานทัศนศิลปเปนรูปแบบ  งานโครงสรางเคลื่อนไหว งานโครงสรางเคลื่อนไหว ป.๓ ๑. บรรยาย รูปราง รูปทรงในธรรมชาติ  รูปราง รูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป และงานทัศนศิลป ๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณที่ใชสรางผลงาน  วัสดุ อุปกรณที่ใชสรางงานทัศนศิลป เมื่อชมงานทัศนศิลป ประเภทงานวาด งานปน งานพิมพภาพ ๓. จําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ  เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว ในธรรมชาติ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป สิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่อง เสน สี รูปราง รูปทรง และพื้นผิว ๔. วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว  การวาดภาพระบายสี สิ่งของรอบตัว ดวยสีเทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร ๕. มีทักษะพื้นฐาน ในการใชวัสดุ  การใชวัสดุอุปกรณในงานปน อุปกรณสรางสรรคงานปน ๖. วาดภาพถายทอดความคิดความรูสึก  การใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว จากเหตุการณชีวิตจริง โดยใชเสน วาดภาพถายทอดความคิดความรูสึก รูปราง รูปทรง สี และพื้นผิว ๗. บรรยายเหตุผลและวิธีการในการ  วัสดุ อุปกรณ เทคนิควิธีการในการสรางงาน สรางงานทัศนศิลป โดยเนนถึงเทคนิค ทัศนศิลป และวัสดุ อุปกรณ
  • 11. ๙ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๓ ๘. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุง  การแสดงความคิดเห็นในงานทัศนศิลป ในงานทัศนศิลปของตนเอง ของตนเอง ๙. ระบุ และจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ  การจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ ที่เนนในงานทัศนศิลปนั้น ๆ ๑๐. บรรยายลักษณะรูปราง รูปทรง  รูปราง รูปทรง ในงานออกแบบ ในงานการออกแบบสิ่งตาง ๆ ที่มีในบาน และโรงเรียน ป.๔ ๑. เปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปราง  รูปราง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป และงานทัศนศิลป ๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสี  อิทธิพลของสี วรรณะอุน และวรรณะเย็น วรรณะอุนและสีวรรณะเย็นที่มีตอ อารมณของมนุษย ๓. จําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ  เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วาง ในธรรมชาติสงแวดลอมและงาน ิ่ ในธรรมชาติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป ทัศนศิลปโดยเนนเรื่องเสน สี รูปราง รูปทรงพื้นผิว และพื้นที่วาง ๔. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ  การใชวัสดุ อุปกรณสรางงานพิมพภาพ อุปกรณสรางสรรคงานพิมพภาพ ๕. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ  การใชวัสดุ อุปกรณในการวาดภาพระบายสี อุปกรณสรางสรรคงานวาดภาพระบายสี ๖. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนน  การจัดระยะความลึก น้ําหนักและแสงเงา เรื่องการจัดระยะ ความลึก น้ําหนักและ ในการวาดภาพ แสงเงาในภาพ ๗. วาดภาพระบายสี โดยใชสีวรรณะอุน  การใชสีวรรณะอุนและใชสีวรรณะเย็น และสีวรรณะเย็น ถายทอดความรูสึกและ วาดภาพถายทอดความรูสึกและจินตนาการ จินตนาการ ๘. เปรียบเทียบความคิดความรูสึก  ความเหมือนและความแตกตางในงาน ที่ถายทอดผานงานทัศนศิลปของตนเอง ทัศนศิลปความคิดความรูสึกที่ถายทอดในงาน และบุคคลอื่น ทัศนศิลป ๙. เลือกใชวรรณะสีเพื่อถายทอดอารมณ  การเลือกใชวรรณะสีเพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึกในการสรางงานทัศนศิลป ความรูสึก
  • 12. ๑๐ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๑. บรรยายเกี่ยวกับจังหวะตําแหนง  จังหวะ ตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ในสิ่งแวดลอม ของสิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป และงานทัศนศิลป ๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง  ความแตกตางระหวางงานทัศนศิลป งานทัศนศิลป ที่สรางสรรคดวยวัสดุ อุปกรณและวิธีการที่ตางกัน ๓. วาดภาพ โดยใชเทคนิคของแสงเงา  แสงเงา น้ําหนัก และวรรณะสี น้ําหนัก และวรรณะสี ๔. สรางสรรคงานปนจาก ดินน้ํามัน  การสรางงานปนเพื่อถายทอดจินตนาการ หรือดินเหนียว โดยเนนการถายทอด ดวยการใชดินน้ํามันหรือดินเหนียว จินตนาการ ๕. สรางสรรคงานพิมพภาพ โดยเนน  การจัดภาพในงานพิมพภาพ การจัดวางตําแหนงของสิ่งตาง ๆ ในภาพ ๖. ระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป  การจัดองคประกอบศิลปและการสื่อ และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป ความหมาย ในงานทัศนศิลป ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงาน ใหดีขึ้น ๗. บรรยายประโยชนและคุณคา  ประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลป ของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคน ในสังคม ป.๖ ๑. ระบุสีคูตรงขาม และอภิปราย  วงสีธรรมชาติ และสีคตรงขาม ู เกี่ยวกับการใชสีคูตรงขามในการ ถายทอดความคิดและอารมณ ๒. อธิบายหลักการจัดขนาดสัดสวน  หลักการจัดขนาด สัดสวนความสมดุล ความสมดุลในการสรางงานทัศนศิลป ในงานทัศนศิลป ๓. สรางงานทัศนศิลปจากรูปแบบ  งานทัศนศิลปรูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ๒ มิติ เปน๓ มิติ โดยใชหลักการ ของแสงเงาและน้ําหนัก
  • 13. ๑๑ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๖ ๔. สรางสรรคงานปนโดยใชหลักการ  การใชหลักการเพิ่มและลดในการ เพิ่มและลด สรางสรรคงานปน ๕. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใชหลักการ  รูปและพื้นที่วางในงานทัศนศิลป ของรูปและพื้นที่วาง ๖. สรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใช  การสรางสรรคงานทัศนศิลปโดยใช สีคูตรงขามหลักการจัดขนาดสัดสวน สีคูตรงขาม หลักการจัดขนาด สัดสวนและ และความสมดุล ความสมดุล ๗. สรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ  การสรางงานทัศนศิลปเปนแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถายทอด แผนผัง และภาพประกอบ ความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ ตาง ๆ ม.๑ ๑. บรรยายความแตกตางและความ  ความแตกตางและความคลายคลึงกัน คลายคลึงกันของงานทัศนศิลป ของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป และสิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอมโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ ๒. ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบ  ความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล งานทัศนศิลป โดยเนนความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล ๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเห็น  หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ ระยะไกลใกล เปน ๓ มิติ ๔. รวบรวมงานปนหรือสื่อผสมมาสราง  เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปน  เปนเรื่องราว ๓ มิติโดยเนนความเปนเอกภาพ หรืองานสื่อผสม ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราว ของงาน ๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ  การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอื่น ๆ ในการนําเสนอ หรืองานกราฟก ความคิดและขอมูล ๖. ประเมินงานทัศนศิลป และบรรยาย  การประเมินงานทัศนศิลป ถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและ ผูอื่นโดยใชเกณฑที่กําหนดให
  • 14. ๑๒ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๒ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในดานรูปแบบ  รูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงาน และแนวคิดของงานทัศนศิลปที่เลือกมา ทัศนศิลป ๒. บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและ  ความเหมือนและความแตกตางของรูปแบบ ความแตกตางของรูปแบบการใชวัสดุ การใชวัสดุ อุปกรณในงานทัศนศิลป อุปกรณในงานทัศนศิลปของศิลปน ของศิลปน ๓. วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลาย  เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย ในการสื่อความหมายและเรื่องราวตาง ๆ ๔. สรางเกณฑในการประเมิน  การประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป และวิจารณงานทัศนศิลป ๕. นําผลการวิจารณไปปรับปรุงแกไข  การพัฒนางานทัศนศิลป และพัฒนางาน  การจัดทําแฟมสะสมงานทัศนศิลป ๖. วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะ  การวาดภาพถายทอดบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร ของตัวละคร ๗. บรรยายวิธีการใชงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปในการโฆษณา ในการโฆษณาเพื่อโนมนาวใจ และนําเสนอตัวอยางประกอบ ม.๓ ๑. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป  ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดลอม ทีเ่ ลือกมาโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ และงานทัศนศิลป และหลักการออกแบบ ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ  เทคนิควิธีการของศิลปนในการสรางงาน ของศิลปนในการสรางงาน ทัศนศิลป ทัศนศิลป ๓. วิเคราะห และบรรยายวิธีการใช  วิธีการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการ ในการสรางงานทัศนศิลป สรางงานทัศนศิลปของตนเอง ใหมีคุณภาพ ๔. มีทักษะในการสรางงานทัศนศิลป  การสรางงานทัศนศิลปทั้งไทยและสากล อยางนอย ๓ ประเภท
  • 15. ๑๓ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๓ ๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตาง ๆ  การใชหลักการออกแบบในการสรางงาน ในการสรางงานทัศนศิลปโดยใช สื่อผสม หลักการออกแบบ ๖. สรางงานทัศนศิลป ทั้ง ๒ มิติ และ  การสรางงานทัศนศิลปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ๓ มิติ เพื่อถายทอดประสบการณและ เพื่อถายทอดประสบการณ และจินตนาการ จินตนาการ ๗. สรางสรรคงานทัศนศิลปสื่อ  การประยุกตใชทัศนธาตุและหลักการ ความหมายเปนเรื่องราว โดยประยุกตใช ออกแบบสรางงานทัศนศิลป ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ ๘. วิเคราะหและอภิปรายรูปแบบ  การวิเคราะหรูปแบบ เนื้อหา และคุณคา เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลป ในงานทัศนศิลป ของตนเอง และผูอื่น หรือของศิลปน ๙. สรางสรรคงานทัศนศิลปเพื่อบรรยาย  การใชเทคนิค วิธีการที่หลากหลาย เหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิค สรางงานทัศนศิลปเพื่อสื่อความหมาย ที่หลากหลาย ๑๐. ระบุอาชีพที่เกี่ยวของกับงาน  การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป ทัศนศิลปและทักษะที่จําเปนในการ ประกอบอาชีพนั้น ๆ ๑๑. เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่  การจัดนิทรรศการ กําหนดขึ้นอยางเหมาะสม และนําไป จัดนิทรรศการ ม.๔- ๖ ๑. วิเคราะหการใชทัศนธาตุ และ  ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ หลักการออกแบบในการสื่อความหมาย ในรูปแบบตาง ๆ ๒. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของ  ศัพททางทัศนศิลป งานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป ๓. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุอุปกรณ  วัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปน และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออก ในการแสดงออกทางทัศนศิลป ทางทัศนศิลป
  • 16. ๑๔ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔- ๖ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ  เทคนิค วัสดุ อุปกรณ กระบวนการในการ อุปกรณ และกระบวนการที่สูงขึ้น สรางงานทัศนศิลป ในการสรางงานทัศนศิลป ๕. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยี  หลักการออกแบบและการจัดองคประกอบ ตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและ ศิลปดวยเทคโนโลยี การจัดองคประกอบศิลป ๖. ออกแบบงานทัศนศิลปไดเหมาะกับ  การออกแบบงานทัศนศิลป โอกาสและสถานที่ ๗. วิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมาย  จุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ ของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ อุปกรณ เทคนิคและเนื้อหา ในการสรางงาน เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสรางสรรคงาน ทัศนศิลป ทัศนศิลป ๘. ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป  ทฤษฎีการวิจารณศิลปะ โดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ ๙. จัดกลุมงานทัศนศิลปเพื่อสะทอน  การจัดทําแฟมสะสมงานทัศนศิลป พัฒนาการและความกาวหนาของตนเอง ๑๐. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล  การสรางงานทัศนศิลปจากแนวคิดและ โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ วิธีการของศิลปน สรางงานของศิลปนที่ตนชื่นชอบ ๑๑. วาดภาพ ระบายสีเปนภาพลอเลียน  การวาดภาพลอเลียนหรือภาพการตูน หรือภาพการตูนเพื่อแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสภาพสังคมในปจจุบัน
  • 17. ๑๕ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๑ ๑. ระบุงานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน  งานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน ป.๒ ๑. บอกความสําคัญของงานทัศนศิลป  ความสําคัญของงานทัศนศิลปในชีวิต ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน ประจําวัน ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปในทองถิ่น ประเภทตาง ๆ ในทองถิ่นโดยเนนถึง วิธีการสรางงานและวัสดุอุปกรณ ที่ใช ป.๓ ๑. เลาถึงที่มาของงานทัศนศิลปในทองถิ่น  ที่มาของงานทัศนศิลปในทองถิ่น ๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณและ  วัสดุ อุปกรณ และวิธีการสรางงานทัศนศิลป วิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น ในทองถิ่น ป.๔ ๑. ระบุ และอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปในวัฒนธรรมทองถิ่น ในเหตุการณ และงานเฉลิมฉลอง ของวัฒนธรรมในทองถิ่น ๒. บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปจากวัฒนธรรมตาง ๆ ที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ ป.๕ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ  ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป รูปแบบของงานทัศนศิลปในแหลงเรียนรู หรือนิทรรศการศิลปะ ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและ ที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญา ภูมิปญญาในทองถิ่น ในทองถิ่น ป.๖ ๑. บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป  บทบาทของงานทัศนศิลปในชีวิต ที่สะทอนชีวิตและสังคม และสังคม ๒. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของ  อิทธิพลของศาสนาที่มีตองานทัศนศิลป ความเชื่อความศรัทธาในศาสนาที่มีผล ในทองถิ่น ตองานทัศนศิลปในทองถิ่น
  • 18. ๑๖ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๖ ๓. ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรม  อิทธิพลทางวัฒนธรรมในทองถิ่นที่มีผล ในทองถิ่นที่มีผลตอการสรางงานทัศนศิลป ตอการสรางงานทัศนศิลป ของบุคคล ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบ  ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลปของชาติ งานทัศนศิลปของชาติและของทองถิ่น และทองถิ่น ตนเองจากอดีตจนถึงปจจุบัน ๒. ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปภาคตาง ๆ ในประเทศไทย ของภาคตาง ๆ ในประเทศไทย ๓. เปรียบเทียบความแตกตางของ  ความแตกตางของงานทัศนศิลป จุดประสงคในการสรางสรรคงาน ในวัฒนธรรมไทยและสากล ทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทยและสากล ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมตาง ๆ  วัฒนธรรมที่สะทอนในงานทัศนศิลป ที่สะทอนถึงงานทัศนศิลปในปจจุบัน ปจจุบัน ๒. บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงของ  งานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัย งานทัศนศิลปของไทยในแตละยุคสมัย โดยเนนถึงแนวคิดและเนื้อหาของงาน ๓. เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบ  การออกแบบงานทัศนศิลปในวัฒนธรรม งานทัศนศิลปที่มาจาก วัฒนธรรมไทย ไทยและสากล และสากล ม.๓ ๑. ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปกับการสะทอนคุณคา ที่สะทอนคุณคาของวัฒนธรรม ของวัฒนธรรม ๒. เปรียบเทียบความแตกตางของ  ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละ งานทัศนศิลปในแตละยุคสมัย ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล ของวัฒนธรรมไทยและสากล ม.๔- ๖ ๑. วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป  งานทัศนศิลปรูปแบบตะวันออกและ ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบ ตะวันตก ตะวันตก ๒. ระบุงานทัศนศิลปของศิลปนที่มีชื่อเสียง  งานทัศนศิลปของศิลปนที่มีชื่อเสียง และบรรยายผลตอบรับของสังคม
  • 19. ๑๗ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔- ๖ ๓. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของ  อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศ วัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตอ ที่มีผลตองานทัศนศิลป งานทัศนศิลปในสังคม
  • 20. ๑๘ สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๑ ๑. รูวาสิ่งตาง ๆ สามารถกอกําเนิดเสียง  การกําเนิดของเสียง ที่แตกตางกัน - เสียงจากธรรมชาติ - แหลงกําเนิดของเสียง - สีสันของเสียง ๒. บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา และ  ระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic) ความชา- เร็วของจังหวะ  อัตราความเร็วของจังหวะTempo ๓. ทองบทกลอน รองเพลงงาย ๆ  การอานบทกลอนประกอบจังหวะ  การรองเพลงประกอบจังหวะ ๔. มีสวนรวมในกิจกรรมดนตรีอยาง  กิจกรรมดนตรี สนุกสนาน - การรองเพลง - การเคาะจังหวะ - การเคลื่อนไหวประกอบบทเพลง o ตามความดัง- เบาของบท เพลง o ตามความชาเร็วของจังหวะ ๕. บอกความเกี่ยวของของเพลงที่ใช  เพลงที่ใชในชีวิตประจําวัน ในชีวิตประจําวัน - เพลงกลอมเด็ก - บทเพลงประกอบการละเลน - เพลงสําคัญ (เพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมี) ป.๒ ๑. จําแนกแหลงกําเนิด ของเสียงที่ไดยิน  สีสันของเสียงเครื่องดนตรี  สีสันของเสียงมนุษย ๒. จําแนกคุณสมบัตของเสียง สูง- ต่ํา , ิ  การฝกโสตประสาท การจําแนกเสียง ดัง-เบา ยาว-สั้น ของดนตรี สูง-ต่ํา ดัง-เบา ยาว-สั้น
  • 21. ๑๙ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๒ ๓. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรางกาย  การเคลื่อนไหวประกอบเนื้อหาในบทเพลง ใหสอดคลองกับเนื้อหาของเพลง  การเลนเครื่องดนตรีประกอบเพลง ๔. รองเพลงงาย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย  การขับรอง ๕. บอกความหมายและความสําคัญ  ความหมายและความสําคัญของเพลง ของเพลงที่ไดยิน ที่ไดยิน - เพลงปลุกใจ - เพลงสอนใจ ป.๓ ๑. ระบุรูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี  รูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี ที่เห็นและไดยินในชีวิตประจําวัน  เสียงของเครื่องดนตรี ๒. ใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนเสียง  สัญลักษณแทนคุณสมบัตของเสียง (สูง-ต่ํา ิ และจังหวะเคาะ ดัง-เบา ยาว-สั้น)  สัญลักษณแทนรูปแบบจังหวะ ๓. บอกบทบาทหนาที่ของเพลงที่ไดยิน  บทบาทหนาที่ของบทเพลงสําคัญ - เพลงชาติ - เพลงสรรเสริญพระบารมี - เพลงประจําโรงเรียน ๔. ขับรองและบรรเลงดนตรีงาย ๆ  การขับรองเดี่ยวและหมู  การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบเพลง ๕. เคลื่อนไหวทาทางสอดคลองกับ  การเคลื่อนไหวตามอารมณของบทเพลง อารมณของเพลงที่ฟง ๖. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงรอง เสียงขับรองของตนเองและผูอื่น และเสียงดนตรี - คุณภาพเสียงรอง - คุณภาพเสียงดนตรี ๗. นําดนตรีไปใชในชีวิตประจําวันหรือ  การใชดนตรีในโอกาสพิเศษ โอกาสตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม - ดนตรีในงานรื่นเริง - ดนตรีในการฉลองวันสําคัญของชาติ
  • 22. ๒๐ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๔ ๑. บอกประโยคเพลงอยางงาย  โครงสรางของบทเพลง - ความหมายของประโยคเพลง - การแบงประโยคเพลง ๒. จําแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใช  ประเภทของเครื่องดนตรี ในเพลงที่ฟง  เสียงของเครื่องดนตรีแตละประเภท ๓. ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้น – ลงงาย ๆ  การเคลื่อนที่ขึ้น - ลงของทํานอง ของทํานอง รูปแบบจังหวะและความเร็ว  รูปแบบจังหวะของทํานองจังหวะ ของจังหวะในเพลงทีฟง ่   รูปแบบจังหวะ  ความชา - เร็วของจังหวะ ๔. อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล  เครืองหมายและสัญลักษณทางดนตรี ่ - กุญแจประจําหลัก - บรรทัดหาเสน - โนตและเครื่องหมายหยุด - เสนกั้นหอง  โครงสรางโนตเพลงไทย - การแบงหอง - การแบงจังหวะ ๕. รองเพลงโดยใชชวงเสียงที่เหมาะสม  การขับรองเพลงในบันไดเสียงที่ กับตนเอง เหมาะสมกับตนเอง ๖. ใชและเก็บเครื่องดนตรีอยางถูกตอง  การใชและการดูแลรักษาเครื่องดนตรี และปลอดภัย ของตน ๗. ระบุวาดนตรีสามารถใชในการสื่อ  ความหมายของเนื้อหาในบทเพลง เรื่องราว ป.๕ ๑. ระบุองคประกอบดนตรีในเพลงที่ใช  การสื่ออารมณของบทเพลงดวยองคประกอบ ในการสื่ออารมณ ดนตรี - จังหวะกับอารมณของบทเพลง - ทํานองกับอารมณของบทเพลง
  • 23. ๒๑ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.๕ ๒. จําแนกลักษณะของเสียงขับรองและ  ลักษณะของเสียงนักรองกลุมตาง ๆ เครื่องดนตรีที่อยูในวงดนตรีประเภทตาง ๆ  ลักษณะเสียงของวงดนตรีประเภทตาง ๆ ๓. อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล  เครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรี ๕ ระดับเสียง - บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale - โนตเพลงในบันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale ๔. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และ  การบรรเลงเครื่องประกอบจังหวะ ทํานอง  การบรรเลงทํานองดวยเครื่องดนตรี ๕. รองเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือเพลง  การรองเพลงไทยในอัตราจังหวะสองชั้น ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย  การรองเพลงสากล หรือไทยสากล  การรองเพลงประสานเสียงแบบ Canon Round ๖. ดนสดงาย ๆ โดยใชประโยคเพลง  การสรางสรรคประโยคเพลงถาม-ตอบ แบบถามตอบ ๗. ใชดนตรีรวมกับกิจกรรมในการ  การบรรเลงดนตรีประกอบกิจกรรม แสดงออกตามจินตนาการ นาฏศิลป  การสรางสรรคเสียงประกอบการเลาเรื่อง ป.๖ ๑. บรรยายเพลงที่ฟง โดยอาศัย  องคประกอบดนตรีและศัพทสังคีต องคประกอบดนตรี และศัพทสังคีต ๒. จําแนกประเภทและบทบาทหนาที่  เครื่องดนตรีไทยแตละภาค เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่  บทบาทและหนาที่ของเครื่องดนตรี มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ  ประเภทของเครื่องดนตรีสากล ๓. อาน เขียนโนตไทย และโนตสากล  เครื่องหมายและสัญลักษณทางดนตรี ทํานองงาย ๆ  โนตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชั้น  โนตบทเพลงสากลในบันไดเสียง C Major ๔. ใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ  การรองเพลงประกอบดนตรี การรองเพลง ดนสด ที่มีจังหวะและ  การสรางสรรครูปแบบจังหวะและทํานอง ทํานองงาย ๆ ดวยเครื่องดนตรี