SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง




                จัดทาโดย
             นายพงษ์ศักด์ ขาวล้วน
                  ม.6/1 เลขที่ 2

                    เสนอ
             อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ
          รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
     วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 33102
คำนำ

        รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพ 6 (คอมพิวเตอร์ ) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาและ
รวบรวมข้อมูลความรู ้ท่ีเป็ นประโยชน์เกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ผศึกษาสามารถรู ้เท่าทันถึงปั ญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ที่เกิดขึ้น
         ู้
อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนนี้
                       ั
        หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์แก่ผศึกษาทุกท่านถ้าหากผิดพลาดประการใดก็
                        ่                                   ู้
ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                    ้

                                                                                                 ผู้จัดทำ
สำรบัญ

เรื่อง                                                หน้ ำ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์                                   1

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์             3

อ้างอิง                                                8
อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์
     อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้
คอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ
คอมพิวเตอร์ ในที่น้ ี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย
สาหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ
    อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรี ยกว่า แครก
เกอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ
1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยือได้รับ ความเสี ยหาย และผูกระทาได้รับ
                                                             ่                     ้
ผลประโยชน์ตอบแทน
2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือ และในการสื บสวนสอบสวนของ
เจ้าหน้าที่เพื่อนาผูกระทาผิดมาดาเนินคดี ตองใช้ความรู ้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน
                    ้                    ้
           การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้ก่อให้เกิดความเสี ยหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศ
จานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทาง
ธุ รกิจรู ปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ
อำชญำกรทำงคอมพิวเตอร์
1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons)
3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime)
4. อาชญากรอาชีพ (Career)
5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
         ่
7. ผูที่มีความรู ้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์ อย่างดี (Hacker/Cracker )
     ้
Hacker หมายถึง บุคคลผูที่เป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง
                              ้
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ ได้ แต่อาจไม่แสวงหา
ผลประโยชน์


      Cracker หมายถึง ผูที่มีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ ระบบได้ เพื่อ
                        ้
เข้าไปทาลายหรื อลบแฟ้ มข้อมูล หรื อทาให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เสี ยหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบติการ
                                                                                               ั
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ประเภทต่ างๆ
            อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็ นการกระทาที่ผดกฎหมายโดยใช้วธีการทาง
                                                                        ิ                   ิ
                                                            ่
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลที่อยูบนระบบดังกล่าว ส่ วนในมุมมองที่กว้างขึ้น
“อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์ ” หมายถึงการกระทาที่ผดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรื อมีความ
                                                                  ิ
เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็ นอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง
            ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและการปฏิบติต่อผูกระทาผิด
                                                                                              ั   ้
(The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัด
ขึ้นที่กรุ งเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
โดยแบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสี ยหายแก่ขอมูลหรื อโปรแกรม
                                                                                       ้
คอมพิวเตอร์ , การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ
ภายในระบบหรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
            โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and
Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ ขอมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม
                                                                    ้
ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่ งส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผูบริ โภค    ้
นอกจากนี้ยงทาหน้าที่เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปั ญหา รวมถึงนโยบายปั จจุบน
                ั                                                                                     ั
และความพยายามในการปั ญหานี้
อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่
การเงิน – อาชญากรรมที่ขดขวางความสามารถขององค์กรธุ รกิจในการทาธุ รกรรม อี- คอมเมิร์ซ(หรื อ
                               ั
พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ )
 การละเมิดลิขสิ ทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิ ทธิ์ ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและอิ นเทอร์เน็ตถูก
                                                              ั
ใช้เป็ นสื่ อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิ ทธิ์
ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุมครอง
                                                                                                ้
ลิขสิ ทธิ์
 การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิ ทธิในการเข้าถึ งระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิ การเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ
รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
 การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism)
                                 ่
จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่างน้อยก็มี
จุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ
เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ
                                              ิ
ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทาที่ขดต่อกฎหมาย อินเทอร์ เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง
                                                              ั
ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่ องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการ
สื่ อสารที่ครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุน้ ีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
                     ่
                          ่
 ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชน
จาเป็ นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่ องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ
โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนให้เด็กได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับข้อกาหนดทางกฎหมาย สิ ทธิ ของ
                                                ้
ตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์ เน็ตในทางที่ผด     ิ
กฎหมำยอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)

             เป็ นกฎหมายตัวหนึ่งที่มีความล่าช้ามากในบรรดากฎหมายสารสนเทศทั้ง 6 ฉบับ ความล่าช้านั้นก็
                                  ่
มาจากหลายสาเหตุ ไม่วาจะเป็ นเรื่ องที่จะต้องดูตวอย่างกฎหมายจากหลายๆประเทศที่บงคับใช้ไปก่อนแล้ว
                                                  ั                                   ั
เพื่อจะมาปรับเข้ากับบริ บทของประเทศไทย แน่นอนครับว่าการคัดลอกมาทั้งหมดโดยไม่คานึงถึงความ
แตกต่าง สภาพวัฒนธรรม ความเจริ ญก้าวหน้าที่ไม่เท่ากันแล้ว ย่ อมจะเกิดปั ญหาเมื่อนามาใช้อย่างแน่นอน
อีกทั้งเรื่ องนี้ยงเป็ นเรื่ องใหม่ในสังคมไทย และในกระบวนการยุติธรรมของบ้านเราด้วย กฎหมายบางเรื่ อง
                  ั
ต้องใช้เวลานานถึง 5 ปี กว่าจะออกมาใช้บงคับได้ บางเรื่ องใช้เวลาถึง 10 ปี เลยทีเดียวครับปั ญหาความล่าช้า
                                             ั
                                                                                          ่
เป็ นอุปสรรคที่สาคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศของเรา ทั้งนี้ เกิดจากหลายสาเหตุ ไม่วาจะเป็ น
                             ุ่
ระบบงานราชการที่ยงยาก ซับซ้อน ต้องผ่านหลายหน่วยงาน หลายขั้นตอน หรื อแม้แต่ระบบการพิจารณาใน
สภา ที่มีการเปลี่ยนรัฐบาลกันบ่อยๆจึงทาให้ขาดความต่อเนื่อง และยังมีสาเหตุอื่นอีกมากที่ทาให้กฎหมายแต่
ละฉบับนั้นออกมาใช้บงคับช้า      ั

ทีมำของกฎหมำยอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์
  ่

                                 ่
         ทุกวันนี้คงปฏิเสธไม่ได้วาคอมพิวเตอร์ เข้าไปมีบทบาทในชีวตมนุษย์มากขึ้นทุกวัน โดยเฉพาะใน
                                                                ิ
                                                  ่ ั
ยุคแห่งข้อมูลข่าวสารอย่างในปั จจุบนนี้ จะเห็นได้วามีพฒนาการเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว
                                   ั
                                                     ่
รวมทั้งพัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย แต่ถึงแม้วาพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นจะถูก
นามาประยุกต์ใช้และก่อให้เกิดประโยชน์มากมายก็ตาม หากนาไปใช้ในทางที่ไม่ดีไม่ชอบแล้วก็อาจ
ก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรงทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมได้

          ดังนั้นจึงเกิดรู ปแบบใหม่ของอาชญากรรมที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือในการกระทา
ผิดขึ้น จึงจาเป็ นต้องมีการพัฒนา กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) ขึ้นในบาง
ประเทศอาจเรี ยกว่า กฎหมายเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางมิชอบ (Computer Misuse Law) หรื อในบาง
ประเทศอาจต้องมีการปรับปรุ งแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพื่อให้รองรับกับความผิดในรู ปแบบใหม่ๆได้
ด้วยการกาหนดฐานความผิดและบทลงโทษสาหรับการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ข้ ึนเพื่อให้เหมาะสม
และมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถเอาผิดกับผูกระทาความผิดได้ในต่างประเทศนั้น มีลกษณะการบัญญัติกฎหมาย
                                       ้                                    ั
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 2 รู ปแบบ คือ การบัญญัติในลักษณะแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา
เช่น ประเทศเยอรมนี แคนาดา อิตาลี และสวิสเซอร์ แลนด์ ส่ วนอีกรู ปแบบหนึ่งคือ การบัญญัติเป็ นกฎหมาย
เฉพาะ เช่น ประเทศอังกฤษ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และสหรัฐอเมริ กา
สาหรับประเทศไทยนั้น เลือกใช้ในแบบที่สองคือบัญญัติเป็ นกฎหมายเฉพาะ โดยมีชื่อว่า พระราชบัญญัติ
                                     ่
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาแม้รูปแบบกฎหมายของแต่ละประเทศอาจจะแตกต่างกัน แต่การ
กาหนดฐานความผิดที่เป็ นหลักใหญ่น้ นมักจะคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ โดยมากแล้วต่างก็คานึงถึงลักษณะของการ
                                  ั
ใช้คอมพิวเตอร์ ในการกระทาความผิดเป็ นสาคัญ กฎหมายที่ออกมาจึงมีลกษณะที่ใกล้เคียงกัน
                                                                   ั

สภำพปัญหำในปัจจุบัน

          ปัญหาข้อกฎหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ หลักของกฎหมายอาญาที่ระบุ วา ไม่มีโทษโดย   ่
ไม่มีกฎหมาย (Nulla poena sinelege) และมุ่งคุมครองวัตถุที่มีรูปร่ างเท่านั้น แต่ในยุคไอทีน้ น ข้อมูลข่าวสาร
                                                ้                                          ั
                                          ่                                       ่
เป็ นวัตถุท่ีไม่มีรูปร่ าง เอกสารไม่ได้อยูในแผ่นกระดาษอีกต่อไป ซึ่ งกฎหมายที่มีอยูไม่อาจขยายการคุมครอง
                                                                                                    ้
ไปถึงได้

       ตัวอย่างของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การโจรกรรมเงินในบัญชีลูกค้าของ
ธนาคาร การโจรกรรมความลับของบริ ษทต่างๆที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ การปล่อยไวรัสเข้าไปใน
                                   ั
คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ ในการปลอมแปลงเอกสารต่างๆ รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการก่อ
วินาศกรรมด้วย

         รู ปแบบการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนทวีความซับซ้อนและรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อยๆ
                                                        ั
                                                                                ่ ั
ทาให้เจ้าหน้าที่ตารวจผูทาหน้าที่สืบสวนทางานได้อย่างยากลาบากทั้งยังต้องอ้างอิงอยูกบกฎหมายอาญา
                       ้
แบบเดิมซึ่งยากที่จะเอาตัวผูกระทาความผิดมาลงโทษ
                           ้

           นักกฎหมายจึงต้องเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่ องนี้โดยสิ้ นเชิง โดยเฉพาะในเรื่ องทรัพย์ที่ไม่มี
รู ปร่ าง ซึ่ งเป็ นทรัพย์สินอย่างหนึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ตัวอย่างเช่น การขโมยโดเมนเนม
(Domain Name) ซึ่ งไม่มีรูปร่ าง ไม่สามารถจับต้องและถือเอาได้ แต่ก็ถือเป็ นทรัพย์และยอมรับกันว่ามีมูลค่า
มหาศาล

         ปั ญหาอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือเรื่ อง พยานหลักฐาน
เพราะพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ น้ นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาและกระทาได้ง่าย แต่ยาก
                                             ั
ต่อการสื บหา รวมทั้งยังสู ญหายได้ง่ายอีกด้วย เช่น ข้อมูลที่ถูกบันทึกอยูในสื่ อบันทึกข้อมูลถาวรของเครื่ อง
                                                                       ่
(Hard Disk) นั้น หากระหว่างการเคลื่อนย้ายได้รับความกระทบกระเทือนหรื อเกิดการกระแทก หรื อ
เคลื่อนย้ายผ่านจุดที่เป็ นสนามแม่เหล็ก ข้อมูลที่บนทึกใน Hard Disk ดังกล่าวก็อาจสู ญหายได้
                                                 ั
นอกจากนี้เรื่ องอานาจในการออกหมายค้นก็เป็ นสิ่ งที่ตองพิจารณาเช่ นกัน เพราะการค้นหาพยานหลักฐานใน
                                                        ้
Hard Disk นั้นต้องกาหนดให้ศาลมีอานาจบังคับให้ผตองสงสัยบอกรหัสผ่านแก่เจ้าหน้าที่ที่ทาการสื บสวน
                                                   ู้ ้
เพื่อให้ทาการค้นหาหลักฐานใน Hard Disk ได้ดวย
                                           ้

          นอกจากนั้น ปั ญหาเรื่ องขอบเขตพื้นที่กเ็ ป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ เพราะผูกระทาความผิ ดอาจกระทา
                                                                                    ้
                                      ่
จากที่อื่นๆที่ไม่ใช่ประเทศไทย ซึ่ งอยูนอกเขตอานาจของศาลไทย ดังนั้นกฎหมายควรบัญญัติให้ชดเจนด้วย   ั
ว่าศาลมีเขตอานาจที่จะลงโทษผูกระทาผิดได้ถึงไหนเพียงไร และถ้ากระทาความผิดในต่างประเทศจะถือ
                                  ้
เป็ นความผิดในประเทศไทยด้วยหรื อไม

       ส่ วนประเด็นที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ตองพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบก็คือประเด็นเรื่ องอายุ
                                             ้
ของผูกระทาความผิด เพราะผูกระทาความผิดทางอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ส่วนมาก โดยเฉพาะ Hacker
     ้                       ้
และ Cracker นั้น มักจะเป็ นเด็กและเยาวชน และอาจกระทาความผิดโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์หรื อเพราะความคึก
คะนองหรื อความซุกซนก็เป็ นได้
อ้ำงอิง

 https://www.google.co.th/search?hl=th&tbo=d&sclient=psy-ab&q=กฎหมาย+อาชญากรรม+ทาง+
คอมพิวเตอร์ &oq=กฎหมาย+อาชญากรรม+ทาง+คอมพิวเตอร์ &gs_l=serp.3...
http://my.dek-d.com/Roam/blog/?blog_id=10112424
www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
อาชญากรรม เอ๋

More Related Content

What's hot

อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1sassy_nus
 

What's hot (14)

อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
อาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิวอาชญากรรม นิว
อาชญากรรม นิว
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์1
 
รายงานโจ
รายงานโจรายงานโจ
รายงานโจ
 

Viewers also liked

Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]AY'z Felon
 
140101 pem mech_props_slides
140101 pem mech_props_slides140101 pem mech_props_slides
140101 pem mech_props_slidesuclioms
 
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...Noodle Live
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita Oy
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita OySähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita Oy
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita OyIlkkaMattila
 
Iacobi, nicolae flori anuale şi bisanuale
Iacobi, nicolae   flori anuale şi bisanualeIacobi, nicolae   flori anuale şi bisanuale
Iacobi, nicolae flori anuale şi bisanualegligor_mircea_alba
 
Using RFID for Events
Using RFID for EventsUsing RFID for Events
Using RFID for EventsNoodle Live
 
Trec and what we deliver from enterprise
Trec and what we deliver from enterpriseTrec and what we deliver from enterprise
Trec and what we deliver from enterpriseuclioms
 

Viewers also liked (11)

Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt1767.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
140101 pem mech_props_slides
140101 pem mech_props_slides140101 pem mech_props_slides
140101 pem mech_props_slides
 
Ppt ssd
Ppt ssdPpt ssd
Ppt ssd
 
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...
Making The Most Of Your Event App by Clemi Hardie of Noodle Live at Event Pro...
 
It
ItIt
It
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita Oy
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita OySähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita Oy
Sähköisen asioinnin kehittäminen, Ilkka Mattila, Solita Oy
 
Iacobi, nicolae flori anuale şi bisanuale
Iacobi, nicolae   flori anuale şi bisanualeIacobi, nicolae   flori anuale şi bisanuale
Iacobi, nicolae flori anuale şi bisanuale
 
Using RFID for Events
Using RFID for EventsUsing RFID for Events
Using RFID for Events
 
Trec and what we deliver from enterprise
Trec and what we deliver from enterpriseTrec and what we deliver from enterprise
Trec and what we deliver from enterprise
 
Bunch.air
Bunch.airBunch.air
Bunch.air
 

Similar to อาชญากรรม เอ๋

อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 
รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะJiraprapa Noinoo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืดJiraprapa Noinoo
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาdowsudarat
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปาpaotogether
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อายJiraprapa Noinoo
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อยJiraprapa Noinoo
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์Jiraprapa Noinoo
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรวKamonwan Choophol
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม dowsudarat
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม Nongniiz
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุกJiraprapa Noinoo
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยNakkarin Keesun
 

Similar to อาชญากรรม เอ๋ (20)

ตุก Pdf
ตุก Pdfตุก Pdf
ตุก Pdf
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 
รายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะรายงาน จ๊ะ
รายงาน จ๊ะ
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
รายงาน พืด
รายงาน พืดรายงาน พืด
รายงาน พืด
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
คอมเปา
คอมเปาคอมเปา
คอมเปา
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อาย
 
รายงาน โอ
รายงาน โอรายงาน โอ
รายงาน โอ
 
รายงานก้อย
รายงานก้อยรายงานก้อย
รายงานก้อย
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
รายงานแพรว
รายงานแพรวรายงานแพรว
รายงานแพรว
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
คอมน องใหม
คอมน องใหม คอมน องใหม
คอมน องใหม
 
รายงานมุก
รายงานมุกรายงานมุก
รายงานมุก
 
ณรงค์ชัย
ณรงค์ชัยณรงค์ชัย
ณรงค์ชัย
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 

อาชญากรรม เอ๋

  • 1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จัดทาโดย นายพงษ์ศักด์ ขาวล้วน ม.6/1 เลขที่ 2 เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 33102
  • 2. คำนำ รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพ 6 (คอมพิวเตอร์ ) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาและ รวบรวมข้อมูลความรู ้ท่ีเป็ นประโยชน์เกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผศึกษาสามารถรู ้เท่าทันถึงปั ญหาและแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ที่เกิดขึ้น ู้ อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนนี้ ั หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์แก่ผศึกษาทุกท่านถ้าหากผิดพลาดประการใดก็ ่ ู้ ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ ผู้จัดทำ
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ ำ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 3 อ้างอิง 8
  • 4. อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการใช้ คอมพิวเตอร์ เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรื อขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็ นต้น ระบบ คอมพิวเตอร์ ในที่น้ ี หมายรวมถึงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย สาหรับอาชญากรรมในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์ เน็ต) อาจเรี ยกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรี ยกว่า แครก เกอร์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยือได้รับ ความเสี ยหาย และผูกระทาได้รับ ่ ้ ผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่ องมือ และในการสื บสวนสอบสวนของ เจ้าหน้าที่เพื่อนาผูกระทาผิดมาดาเนินคดี ตองใช้ความรู ้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน ้ ้ การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้ก่อให้เกิดความเสี ยหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศ จานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทาง ธุ รกิจรู ปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ อำชญำกรทำงคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons) 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues) ่ 7. ผูที่มีความรู ้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์ อย่างดี (Hacker/Cracker ) ้
  • 5. Hacker หมายถึง บุคคลผูที่เป็ นอัจฉริ ยะ มีความรู ้ในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง ้ ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ ได้ แต่อาจไม่แสวงหา ผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผูที่มีความรู ้และทักษะทางคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ ระบบได้ เพื่อ ้ เข้าไปทาลายหรื อลบแฟ้ มข้อมูล หรื อทาให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เสี ยหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบติการ ั ของเครื่ องคอมพิวเตอร์
  • 6. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ประเภทต่ างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็ นการกระทาที่ผดกฎหมายโดยใช้วธีการทาง ิ ิ ่ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลที่อยูบนระบบดังกล่าว ส่ วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์ ” หมายถึงการกระทาที่ผดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรื อมีความ ิ เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็ นอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและการปฏิบติต่อผูกระทาผิด ั ้ (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัด ขึ้นที่กรุ งเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสี ยหายแก่ขอมูลหรื อโปรแกรม ้ คอมพิวเตอร์ , การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ ภายในระบบหรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ ขอมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม ้ ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่ งส่ งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผูบริ โภค ้ นอกจากนี้ยงทาหน้าที่เผยแพร่ ความรู ้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปั ญหา รวมถึงนโยบายปั จจุบน ั ั และความพยายามในการปั ญหานี้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ การเงิน – อาชญากรรมที่ขดขวางความสามารถขององค์กรธุ รกิจในการทาธุ รกรรม อี- คอมเมิร์ซ(หรื อ ั พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ) การละเมิดลิขสิ ทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิ ทธิ์ ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและอิ นเทอร์เน็ตถูก ั ใช้เป็ นสื่ อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิ ทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุมครอง ้ ลิขสิ ทธิ์ การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิ ทธิในการเข้าถึ งระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิ การเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจ รองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรู ปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ) การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) ่ จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่างน้อยก็มี จุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
  • 7. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผลหรื อการ เผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทาที่ผดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ ภาพ ิ ลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็ นการกระทาที่ขดต่อกฎหมาย อินเทอร์ เน็ตเป็ นเพียงช่องทาง ั ใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่ องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการ สื่ อสารที่ครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุน้ ีได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง ่ ่ ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้วาอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชน จาเป็ นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่ องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนให้เด็กได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับข้อกาหนดทางกฎหมาย สิ ทธิ ของ ้ ตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้อินเทอร์ เน็ตในทางที่ผด ิ
  • 8. กฎหมำยอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เป็ นกฎหมายตัวหนึ่งที่มีความล่าช้ามากในบรรดากฎหมายสารสนเทศทั้ง 6 ฉบับ ความล่าช้านั้นก็ ่ มาจากหลายสาเหตุ ไม่วาจะเป็ นเรื่ องที่จะต้องดูตวอย่างกฎหมายจากหลายๆประเทศที่บงคับใช้ไปก่อนแล้ว ั ั เพื่อจะมาปรับเข้ากับบริ บทของประเทศไทย แน่นอนครับว่าการคัดลอกมาทั้งหมดโดยไม่คานึงถึงความ แตกต่าง สภาพวัฒนธรรม ความเจริ ญก้าวหน้าที่ไม่เท่ากันแล้ว ย่ อมจะเกิดปั ญหาเมื่อนามาใช้อย่างแน่นอน อีกทั้งเรื่ องนี้ยงเป็ นเรื่ องใหม่ในสังคมไทย และในกระบวนการยุติธรรมของบ้านเราด้วย กฎหมายบางเรื่ อง ั ต้องใช้เวลานานถึง 5 ปี กว่าจะออกมาใช้บงคับได้ บางเรื่ องใช้เวลาถึง 10 ปี เลยทีเดียวครับปั ญหาความล่าช้า ั ่ เป็ นอุปสรรคที่สาคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศของเรา ทั้งนี้ เกิดจากหลายสาเหตุ ไม่วาจะเป็ น ุ่ ระบบงานราชการที่ยงยาก ซับซ้อน ต้องผ่านหลายหน่วยงาน หลายขั้นตอน หรื อแม้แต่ระบบการพิจารณาใน สภา ที่มีการเปลี่ยนรัฐบาลกันบ่อยๆจึงทาให้ขาดความต่อเนื่อง และยังมีสาเหตุอื่นอีกมากที่ทาให้กฎหมายแต่ ละฉบับนั้นออกมาใช้บงคับช้า ั ทีมำของกฎหมำยอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ ่ ่ ทุกวันนี้คงปฏิเสธไม่ได้วาคอมพิวเตอร์ เข้าไปมีบทบาทในชีวตมนุษย์มากขึ้นทุกวัน โดยเฉพาะใน ิ ่ ั ยุคแห่งข้อมูลข่าวสารอย่างในปั จจุบนนี้ จะเห็นได้วามีพฒนาการเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว ั ่ รวมทั้งพัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย แต่ถึงแม้วาพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นจะถูก นามาประยุกต์ใช้และก่อให้เกิดประโยชน์มากมายก็ตาม หากนาไปใช้ในทางที่ไม่ดีไม่ชอบแล้วก็อาจ ก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรงทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมได้ ดังนั้นจึงเกิดรู ปแบบใหม่ของอาชญากรรมที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องมือในการกระทา ผิดขึ้น จึงจาเป็ นต้องมีการพัฒนา กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) ขึ้นในบาง ประเทศอาจเรี ยกว่า กฎหมายเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางมิชอบ (Computer Misuse Law) หรื อในบาง ประเทศอาจต้องมีการปรับปรุ งแก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพื่อให้รองรับกับความผิดในรู ปแบบใหม่ๆได้ ด้วยการกาหนดฐานความผิดและบทลงโทษสาหรับการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ข้ ึนเพื่อให้เหมาะสม และมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถเอาผิดกับผูกระทาความผิดได้ในต่างประเทศนั้น มีลกษณะการบัญญัติกฎหมาย ้ ั อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 2 รู ปแบบ คือ การบัญญัติในลักษณะแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา เช่น ประเทศเยอรมนี แคนาดา อิตาลี และสวิสเซอร์ แลนด์ ส่ วนอีกรู ปแบบหนึ่งคือ การบัญญัติเป็ นกฎหมาย เฉพาะ เช่น ประเทศอังกฤษ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และสหรัฐอเมริ กา
  • 9. สาหรับประเทศไทยนั้น เลือกใช้ในแบบที่สองคือบัญญัติเป็ นกฎหมายเฉพาะ โดยมีชื่อว่า พระราชบัญญัติ ่ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาแม้รูปแบบกฎหมายของแต่ละประเทศอาจจะแตกต่างกัน แต่การ กาหนดฐานความผิดที่เป็ นหลักใหญ่น้ นมักจะคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ โดยมากแล้วต่างก็คานึงถึงลักษณะของการ ั ใช้คอมพิวเตอร์ ในการกระทาความผิดเป็ นสาคัญ กฎหมายที่ออกมาจึงมีลกษณะที่ใกล้เคียงกัน ั สภำพปัญหำในปัจจุบัน ปัญหาข้อกฎหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ หลักของกฎหมายอาญาที่ระบุ วา ไม่มีโทษโดย ่ ไม่มีกฎหมาย (Nulla poena sinelege) และมุ่งคุมครองวัตถุที่มีรูปร่ างเท่านั้น แต่ในยุคไอทีน้ น ข้อมูลข่าวสาร ้ ั ่ ่ เป็ นวัตถุท่ีไม่มีรูปร่ าง เอกสารไม่ได้อยูในแผ่นกระดาษอีกต่อไป ซึ่ งกฎหมายที่มีอยูไม่อาจขยายการคุมครอง ้ ไปถึงได้ ตัวอย่างของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การโจรกรรมเงินในบัญชีลูกค้าของ ธนาคาร การโจรกรรมความลับของบริ ษทต่างๆที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ การปล่อยไวรัสเข้าไปใน ั คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ ในการปลอมแปลงเอกสารต่างๆ รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการก่อ วินาศกรรมด้วย รู ปแบบการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนทวีความซับซ้อนและรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อยๆ ั ่ ั ทาให้เจ้าหน้าที่ตารวจผูทาหน้าที่สืบสวนทางานได้อย่างยากลาบากทั้งยังต้องอ้างอิงอยูกบกฎหมายอาญา ้ แบบเดิมซึ่งยากที่จะเอาตัวผูกระทาความผิดมาลงโทษ ้ นักกฎหมายจึงต้องเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่ องนี้โดยสิ้ นเชิง โดยเฉพาะในเรื่ องทรัพย์ที่ไม่มี รู ปร่ าง ซึ่ งเป็ นทรัพย์สินอย่างหนึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ตัวอย่างเช่น การขโมยโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่ งไม่มีรูปร่ าง ไม่สามารถจับต้องและถือเอาได้ แต่ก็ถือเป็ นทรัพย์และยอมรับกันว่ามีมูลค่า มหาศาล ปั ญหาอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือเรื่ อง พยานหลักฐาน เพราะพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ น้ นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาและกระทาได้ง่าย แต่ยาก ั ต่อการสื บหา รวมทั้งยังสู ญหายได้ง่ายอีกด้วย เช่น ข้อมูลที่ถูกบันทึกอยูในสื่ อบันทึกข้อมูลถาวรของเครื่ อง ่ (Hard Disk) นั้น หากระหว่างการเคลื่อนย้ายได้รับความกระทบกระเทือนหรื อเกิดการกระแทก หรื อ เคลื่อนย้ายผ่านจุดที่เป็ นสนามแม่เหล็ก ข้อมูลที่บนทึกใน Hard Disk ดังกล่าวก็อาจสู ญหายได้ ั
  • 10. นอกจากนี้เรื่ องอานาจในการออกหมายค้นก็เป็ นสิ่ งที่ตองพิจารณาเช่ นกัน เพราะการค้นหาพยานหลักฐานใน ้ Hard Disk นั้นต้องกาหนดให้ศาลมีอานาจบังคับให้ผตองสงสัยบอกรหัสผ่านแก่เจ้าหน้าที่ที่ทาการสื บสวน ู้ ้ เพื่อให้ทาการค้นหาหลักฐานใน Hard Disk ได้ดวย ้ นอกจากนั้น ปั ญหาเรื่ องขอบเขตพื้นที่กเ็ ป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ เพราะผูกระทาความผิ ดอาจกระทา ้ ่ จากที่อื่นๆที่ไม่ใช่ประเทศไทย ซึ่ งอยูนอกเขตอานาจของศาลไทย ดังนั้นกฎหมายควรบัญญัติให้ชดเจนด้วย ั ว่าศาลมีเขตอานาจที่จะลงโทษผูกระทาผิดได้ถึงไหนเพียงไร และถ้ากระทาความผิดในต่างประเทศจะถือ ้ เป็ นความผิดในประเทศไทยด้วยหรื อไม ส่ วนประเด็นที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ตองพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบก็คือประเด็นเรื่ องอายุ ้ ของผูกระทาความผิด เพราะผูกระทาความผิดทางอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ส่วนมาก โดยเฉพาะ Hacker ้ ้ และ Cracker นั้น มักจะเป็ นเด็กและเยาวชน และอาจกระทาความผิดโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์หรื อเพราะความคึก คะนองหรื อความซุกซนก็เป็ นได้