SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี
โครงการผ้าป่ าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่งผอ.โรงเรียนจึงมีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้น
พัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างได้เองก็ให้บูรณาการ
คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการ
ประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะ
ที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยใน
บทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนําเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยัง
เป็นเพียงแค่การท่องจําเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะ
ใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสื่อสารในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
สถานการณ์ปัญหา(PROBLEM-BASED LEARNING)
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ภารกิจ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ภารกิจที่ 1
ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน
การถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไป
ยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การ
นําเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็น
เพียงแค่การท่องจําเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ปัญหาที่ 1
แนวทางการแก้ไข
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ต้องมีการปรับเปลี่ยนจากเดิมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งผู้เรียน
เพียงแค่ท่องจําเนื้อหา ทั้งยังไม่ส่งเสริมกระบวนการคิดให้แก่ผู้เรียนมาเป็น
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะเป็นผู้กําหนดวิธีการและ
กิจกรรมการเรียนรู้ให้คอมพิวเตอร์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สอน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมี
ความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์
เพื่อทําให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคําสั่งและสามารถทํางานตามที่ต้องการ
การใช้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะได้รับทักษะด้านการ
จัดการ ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด้านการแก้ปัญหา เป็นต้น
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ปัญหาที่ 2
เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์
ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social
media โดยเฉพาะ face book
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
แนวทางการแก้ไข
1. การตั้งกฎ กติกา ในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
การเรียนรู้ของผู้เรียน
2. จัดให้เด็กสามารถเข้าใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ได้ตามอัธยาศัยโดยอยู่ใน
ความควบคุมดูแลของครู ในเวลาพักกลางวัน เพื่อลดปัญหาการเข้าเล่น
เว็บไซต์อื่นๆระหว่างเรียน
3. บูรณาการเนื้อหาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เข้ากับเว็บไซต์ต่างๆที่
นักเรียนสนใจเช่น เปิดหาวีดีโอที่มีรายละเอียดในสาระนั้นๆผ่าน
youtube
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็น
อย่างไร
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้
• เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
• เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools)
• เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool)
• เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหาสารสนเทศ การค้นหาข้อมูล
เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ มี 2 ลักษณะ
คือ Seeking tool ค้นหาสารสนเทศ การระบุตําแหน่งและที่เกี่ยวข้อง
เช่น Search engines, index, maps เป็นต้น และCollecting tool สําหรับ
การสะสม รวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง Downloading, saving,
bookmaking เป็นต้น นํามาซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools)
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในความจํา
ระยะสั้น ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมา
ใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง
เครื่องมือสร้างความรู้มี 3 ชนิดคือ
1. Organizing tool : ใช้ในการจัดกลุ่มสารสนเทศอย่างเป็นหมวดหมู่ การเชื่อมโยง
ความคิดยอด : Mind mapping, flow chart
2. Integrating tool : ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับแนวความคิดของ
ผู้เรียนตัวอย่าง: Mapping tools, Simulations
3. Generating tool : ใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่
สมองคิด จิตนาการคงไม่เพียงพอที่จะทําให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เครื่องมือนี้
มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายเช่น Lego, Micro world เป็นต้น
• แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
1. Synchronous communication tools
- สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น: Chat, MSN เป็นต้น
2. Asynchronous communication tools
- สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น Web board,
e-mail
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool)
เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยน
แนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการ
เรียนรู้และสังคมของผู้เรียน
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ภารกิจที่ 3
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน
การจัดการเรียนรู้ ตามสาระการ
เรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
• การใช้บทเรียนช่วยสอน
จะใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน
การถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการ
เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน
โดยคอมพิวเตอร์จะสามารถแสดงผล
คําตอบ การเสริมแรง เฉลยแบบ
ทันทีทันใด
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้
ตามสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
• ใช้โปรแกรม Microsoft
Powerpoint ช่วยในการ
จัดรูปแบบการนําเสนอเพื่อ
ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
มากขึ้น
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย
• เป็นวิธีการแบบเปิด
(Open-ended approach)
ที่อาศัยความสามารถของ
ผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจ
ของตนเองเกี่ยวกับเนื้อหาและ
วิธีการใช้คอมพิวเตอร์
By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
Chapter5

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้sinarack
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557pohn
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 

What's hot (17)

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 

Viewers also liked

เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาAnna Wongpattanakit
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Nitinop Tongwassanasong
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Nitinop Tongwassanasong
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดNooni Punnipa
 

Viewers also liked (7)

Top applications
Top applicationsTop applications
Top applications
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 3
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
 
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาดแนวข้อสอบวิชาการตลาด
แนวข้อสอบวิชาการตลาด
 

Similar to Chapter5

Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)FerNews
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5beta_t
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 

Similar to Chapter5 (16)

Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 

More from Anna Wongpattanakit

Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Anna Wongpattanakit
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Anna Wongpattanakit
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Anna Wongpattanakit
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 

More from Anna Wongpattanakit (19)

Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)
 
Chaapter9
Chaapter9Chaapter9
Chaapter9
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 

Chapter5

  • 1.
  • 2. โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี โครงการผ้าป่ าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่งผอ.โรงเรียนจึงมีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้น พัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างได้เองก็ให้บูรณาการ คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการ ประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะ ที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยใน บทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนําเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยัง เป็นเพียงแค่การท่องจําเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะ ใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสื่อสารในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง สถานการณ์ปัญหา(PROBLEM-BASED LEARNING) By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
  • 3. By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ภารกิจ
  • 5. ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไป ยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การ นําเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็น เพียงแค่การท่องจําเนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ปัญหาที่ 1
  • 6. แนวทางการแก้ไข By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ต้องมีการปรับเปลี่ยนจากเดิมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู ซึ่งผู้เรียน เพียงแค่ท่องจําเนื้อหา ทั้งยังไม่ส่งเสริมกระบวนการคิดให้แก่ผู้เรียนมาเป็น การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะเป็นผู้กําหนดวิธีการและ กิจกรรมการเรียนรู้ให้คอมพิวเตอร์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สอน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมี ความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ เพื่อทําให้คอมพิวเตอร์นั้นเข้าใจคําสั่งและสามารถทํางานตามที่ต้องการ การใช้คอมพิวเตอร์ตามแนวทางนี้ผู้เรียนจะได้รับทักษะด้านการ จัดการ ทักษะด้านการคิดเชิงตรรกะ ทักษะด้านการแก้ปัญหา เป็นต้น
  • 7. By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ปัญหาที่ 2 เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book
  • 8. By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ แนวทางการแก้ไข 1. การตั้งกฎ กติกา ในการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียน 2. จัดให้เด็กสามารถเข้าใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ได้ตามอัธยาศัยโดยอยู่ใน ความควบคุมดูแลของครู ในเวลาพักกลางวัน เพื่อลดปัญหาการเข้าเล่น เว็บไซต์อื่นๆระหว่างเรียน 3. บูรณาการเนื้อหาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เข้ากับเว็บไซต์ต่างๆที่ นักเรียนสนใจเช่น เปิดหาวีดีโอที่มีรายละเอียดในสาระนั้นๆผ่าน youtube
  • 10. แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้ • เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ • เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) • เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool)
  • 11. • เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหาสารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพบสารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ มี 2 ลักษณะ คือ Seeking tool ค้นหาสารสนเทศ การระบุตําแหน่งและที่เกี่ยวข้อง เช่น Search engines, index, maps เป็นต้น และCollecting tool สําหรับ การสะสม รวบรวมสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง Downloading, saving, bookmaking เป็นต้น นํามาซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools)
  • 12. By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในความจํา ระยะสั้น ซึ่งในการสร้างความรู้นั้นผู้เรียนจะต้องดึงความรู้และประสบการณ์ต่างๆมา ใช้ในการสร้างความหมายของตนเอง เครื่องมือสร้างความรู้มี 3 ชนิดคือ 1. Organizing tool : ใช้ในการจัดกลุ่มสารสนเทศอย่างเป็นหมวดหมู่ การเชื่อมโยง ความคิดยอด : Mind mapping, flow chart 2. Integrating tool : ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับแนวความคิดของ ผู้เรียนตัวอย่าง: Mapping tools, Simulations 3. Generating tool : ใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่ สมองคิด จิตนาการคงไม่เพียงพอที่จะทําให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เครื่องมือนี้ มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายเช่น Lego, Micro world เป็นต้น
  • 13. • แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1. Synchronous communication tools - สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น: Chat, MSN เป็นต้น 2. Asynchronous communication tools - สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น Web board, e-mail By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยน แนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการ เรียนรู้และสังคมของผู้เรียน
  • 14. By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ภารกิจที่ 3 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน การจัดการเรียนรู้ ตามสาระการ เรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 15. • การใช้บทเรียนช่วยสอน จะใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดและนําเสนอเนื้อหาการ เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยคอมพิวเตอร์จะสามารถแสดงผล คําตอบ การเสริมแรง เฉลยแบบ ทันทีทันใด By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู
  • 16. • ใช้โปรแกรม Microsoft Powerpoint ช่วยในการ จัดรูปแบบการนําเสนอเพื่อ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน มากขึ้น By G.จอมปลวก บทที่5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย