SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การปลูกดอกทานตะวัน
ดอกทานตะวัน เป็นพืชฤดูเดียวมีระบบรากแก้วลึก ส่วนราก
แขนงจะเจริญอยู่ในระดับ 30 เซนติเมตรจากผิวดิน มีลาต้นทรงสูง ใบใหญ่
เกิดสลับกันบนลาต้น มีการแตกแขนงของลาต้น สามารถให้ดอกได้
ดอกทานตะวันแต่เดิมเป็นพันธุ์ที่ใช้ปลูกต้องอาศัยแมลงช่วยผสม
เกสร จึงทาให้ติดเมล็ดยาก ปัจจุบันมีพันธุ์ลูกผสม (แปซิฟิค 33, 44, 55,
29 และ77) เป็นพันธุ์ที่ติดเมล็ดได้ดี ไม่ต้องอาศัยแมลงช่วยผสมเกสร
ทานตะวันเป็นพืชที่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพของเขตร้อนได้ดี และทน
ต่อสภาพแห้งแล้งและร้อนได้เป็นอย่างลักษณะพันธุ์ของทานตะวันลูกผสม
มีอัตราการงอกสูงกว่า 80% เป็นทานตะวันพันธุ์ลูกผสม เก็บเกี่ยวได้ภายใน
95-120 วัน ให้ผลผลิต 250-400 กิโลกรัม/ไร่ เส้นผ่าศูนย์กลางจานดอก
16-20 เซนติเมตร สามารถทนต่อความแห้งแล้งได้ดีเยี่ยม เพราะมีระบบ
รากลึกกว่า 3 เมตร (คุณสมบัติดังกล่าว ขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์)
ฤดูปลูกการปลูกดอกทานตะวัน
การปลูกทานตะวันควรปลูกปลายฤดูฝน ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ คือ
ในพื้นที่ที่เป็นดินร่วนเหนียวสีดา
ควรปลูกระหว่างเดือน กันยายน-พฤศจิกายน และในพื้นที่ที่เป็นดิน
ร่วนหรือดินร่วนทราย ควรปลูกระหว่างเดือน ปลายสิงหาคม–ตุลาคม ใน
กรณีพื้นที่ที่สามารถให้น้าได้ สามารถปลูกในฤดูแล้งได้อีกครั้งหนึ่ง โดยปลูก
ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
การเตรียมดินสาหรับปลูกดอกทานตะวัน
การเตรียมดินมีวัตถุประสงค์เพื่อทาให้ผิวดินร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้
สะดวก และสามารถเก็บรักษาความชื้นได้ดีรวมทั้งเป็นการกาจัดวัชพืชใน
ขั้นต้นอีกด้วย
การไถเตรียมดิน ควรทาเมื่อดินมีความชื้นเพียงพอ ก่อนไถควรดาย
หญ้าให้เตียน หว่านปุ๋ยคอกอัตรา 1.5 กิโลกรัม/ไร่ แล้วทาการไถดะให้ลึก
ที่สุด หลังจากนั้นจึงทาการไถแปรให้พื้นที่เรียบสม่าเสมอตลอดแปลง ถ้า
แปลงเป็นที่ลุ่มน้าขังควรทาร่องระบายน้ารอบแปลง
วิธีการปลูกการปลูกดอกทานตะวัน
การปลูกทานตะวันให้ได้ผลดี ควรใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดี และมี
เปอร์เซ็นต์ความงอกสูง เพื่อให้ได้ต้นทานตะวันที่แข็งแรงสมบูรณ์และ
มีจานวนต้นต่อไร่ที่เหมาะสม โดยปลูกทานตะวันขณะที่มีความชื้นใน
ดินพอดี หยอดเมล็ดพันธุ์หลุมละ 2-3 เมล็ด ระยะระหว่างหลุม40
เซนติเมตร ระยะระหว่างร่องหรือแถว75 เซนติเมตร กลบดินหนา
ประมาณ 3-5 เซนติเมตร ให้แน่นพอสมควร หลังจากปลูกได้แล้ว 5-
10 วัน ให้ตรวจดูความงอก จานวนต้นต่อไร่ รวมทั้งการปลูกซ่อม
หลังจากนั้น 5-8 วัน ทาการถอนแยกให้เหลือ 1 ต้น/หลุม โดยเลือก
ถอนต้นที่มีขนาดเล็กหรือผิดปกติกว่าต้นอื่น การปลูกในระยะดังกล่าว
จะใช้เมล็ดพันธุ์ทานตะวันเพียง 0.8 กิโลกรัม/ไร่ และจะได้ต้น
ทานตะวันประมาณ 6,400-8,500 ต้น/ไร่
การใส่ปุ๋ยสาหรับดอกทานตะวัน
ก่อนหยอดเมล็ดควรใส่ปุ๋ยรองพื้นสูตร 16-20-0 หรือ
25-7-7 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่ อาจจะใช้ผงบอแร็กซ์ หรือ
โบรอน อัตรา 2 กิโลกรัม/ไร่
ในพื้นที่ที่เป็นดินร่วนทรายโดยหว่านให้ทั่วแปลงหรือผสม
พร้อมปุ๋ยรองพื้น เมื่อทานตะวันอายุ 25-30 วัน ให้ทารุ่นพูน
โคนและกาจัดวัชพืชพร้อมทั้งใส่ปุ๋ยยูเรีย 46-0- ห่างจากโคนต้น
20 เซนติเมตร (ระวังอย่าให้สัมผัสโดนใบ) เสร็จแล้วกลบปุ๋ยพูน
โคนตามแถว
การกาจัดวัชพืชสาหรับดอกทานตะวัน
ให้ใช้ยาคุมหญ้าประเภทอลาคลอร์ เมตลาคลอร์ อัตรา 300-
400 ซีซี./ไร่ หรือ 7-8 ช้อนแกงต่อน้า 18-20 ลิตร (ในกรณีใช้ถัง
โยกหรือมือฉีด) ฉีดพ่นหลังหยอดเมล็ดก่อนที่เมล็ดจะงอกหรือใช้
แรงงานจากเครื่องจักร หรือคนทารุ่นตามความจาเป็น
ข้อควรระวัง!! ห้ามใช้ยาอาทราซีน.กับทานตะวันโดยเด็ดขาด
การเก็บเกี่ยวดอกทานตะวัน
เมื่อทานตะวันมีอายุได้ 95-120 วัน จานดอกจะเริ่มเปลี่ยนสี
เหลืองเป็นสีน้าตาล ให้เก็บเกี่ยวและตากแดดให้แห้ง 1-2 แดดก่อน
แล้วจึงนวดโดยใช้เครื่องนวดถั่วเหลืองหรือถั่วลิสง หรือใช้เครื่องสีข้าว
ฟ่างก็ได้แล้วแต่ความสะดวก ควรทาความสะอาดเมล็ดให้ดีและเก็บไว้
ในยุ้งฉางที่ป้องกันแดด กันฝน และแมลงศัตรูได้ ความชื้นของเมล็ดที่
จะเก็บไว้ควรไม่เกิน 10%
โรคและแมลงศัตรูทานตะวัน
ในประเทศไทยปัญหาโรคและแมลงศัตรูของทานตะวันพบน้อยแต่
บางครั้งอาจมีปัญหาต่างๆ ดังนี้
ปัญหาเรื่องเมล็ดเน่าเสียหาย เนื่องจากทานตะวันดอกค่อนข้างใหญ่ เมื่อ
เวลาเมล็ดแก่ จานดอกจะห้อยลง และด้านหลังของจานดอกเป็นแอ่งเหมือน
กระทะก้นแบน เมื่อมีฝนตก น้้าฝนจะขังอยู่ในที่ดังกล่าว ท้าให้เกิดการเน่าขึ้น
เป็นส่วนมากและเมล็ดเสียหาย ป้องกันโดยการปลูกทานตะวันปลายฤดูฝน
ตั้งแต่เดือนสิงหาคม-มกราคม โดยที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ในเดือนพฤศจิกายน,
ธันวาคม, มกราคม, กุมภาพันธ์ และมีนาคม และช่วงระยะเวลาเก็บเกี่ยวมีฝน
น้อยท้าให้ได้เมล็ดทานตะวันมีคุณภาพดี
อ้างอิง : http://alangcity.blogspot.com/2012/12/blog-
post_29.html
การปลูกดอกทานตะวั4

More Related Content

More from jinoom

โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)jinoom
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวjinoom
 
การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3jinoom
 
การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2jinoom
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองjinoom
 

More from jinoom (8)

โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
Ssas
SsasSsas
Ssas
 
การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3การปลูกดอกทานตะวั3
การปลูกดอกทานตะวั3
 
การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2การปลูกดอกทานตะวั2
การปลูกดอกทานตะวั2
 
P
PP
P
 
0phk
0phk0phk
0phk
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
 

การปลูกดอกทานตะวั4