SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
                       ปี การศึกษา 2555


                ชื่อโครงงาน หนูชื่ออาเซียน



                     ชื่อผู้ทาโครงงาน
   น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์        เลขที่ 19 ห้อง 6/14
   น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23
           ั                                   ห้อง 6/14
   น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ              เลขที่ 30 ห้อง 6/14

   ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์

    ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555




         โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
       สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
                     ้
ก
                                                 คานา
         โครงงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 รหัสวิชา ง33201 โดย
มีครู ประจาวิชาและครู ที่ปรึ กษาโครงงานคือคุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โครงงานเล่มนี้เป็ นโครงงาน
ประเภทโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา หรื อ Educational Media Development ซึ่งนาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ
ประชาคมอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
         อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
AsianNations หรื อ ASEAN) มีวตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจอันดีต่อกัน
                             ั
ระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความ
                                                             ่
เจริ ญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของประชาชนบนพื้นฐาน
                                                                    ่
ของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก ดังนั้นจึงเป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาว
ไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า”อาเซียน”อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะเยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่
                 ั
ประเทศชาติต่อไป ทางผูจดทาจึงเห็นว่าการที่จะสอนให้เด็กเข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจ
                     ้ั
ในการนาเสนอ โดยผ่านตัวการ์ตูน
 ทั้งนี้หากโครงงานเล่มนี้มีความผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย
                                                                    ้



                                                                         น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์
                                                                         น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ
                                                                                 ั
                                                                         น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ
                                                                          ผู้จดทา
                                                                              ั
ข
                               สารบัญ
                                        หน้ า
คานา                                     ก
สารบัญ                                   ข
บทที่ 1 บทนา                             1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง              4
บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน             27
บทที่ 4 ผลการศึกษา                      29
บทที่ 5 สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ            30
ภาคผนวก                                 31
บรรณานุกรม                              33
1
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)              หนูชื่ออาเซียน
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)           My name’s Asean
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (         Educational Media Development)
ผู้จดทาโครงงาน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/14
    ั
                        น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19
                        น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23
                                ั
                        น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ เลขที่ 30
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555

                                             บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
        อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
AsianNations หรื อ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วง
                                                                                                  ั
สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจ
อันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง
                                                                        ่
สร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของ
                                                                                  ่
ประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก อาเซียนได้ต้งเป้ า
                                                                              ั
เป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ น
ศูนย์กลาง มีสงคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ นอยูที่ดีและมีการพัฒนาในทุก
             ั                                                         ่
ด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริ มการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน รวมทั้ง
                                                                            ่
ส่งเสริ มอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมสังคม

 ดังนั้นจึงเป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาวไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า
                                                           ั                ”อาเซียน”อย่างจริ งจัง
โดยเฉพาะเยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่ประเทศชาติต่อไป ทางผูจดทาจึงเห็นว่าการที่จะสอนให้เด็ก
                                                                 ้ั
เข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอ โดยผ่านตัวการ์ตูน

        ในปัจจุบนการ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็ นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบน ที่มีการ
                ั                                                                        ั
ฉายทางโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสาหรับเด็กที่มีการใช้สตว์หรื อ
                                                                                     ั
2

สิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ นายแพทย์ ประเสริ ฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึง
การ์ตูนว่า "หน้ าที่หนึ่งของการ์ ตูน คือกระตุกความคิดของเยาวชน ไม่ต้องสอน"

วัตถุประสงค์
1.สร้างสื่อการเรี ยนรู้ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
                        ้
2.ศึกษาการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
3.ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างสื่อการเรี ยนรู้
4.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนชาวไทยโดยทัวไปสนใจเรื่ องประชาคมอาเซียน
                                         ่

ขอบเขตของโครงงาน
       การจัดทาโครงงานการ์ตูน “หนูชื่ออาเซียน” เป็ นการสร้างสื่อโดยกล่าวถึงอาเซียนหรื อสมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ความรู้แก่บุคคลทัวไปที่สนใจ โดยเฉพาะวัยรุ่ นวัยเรี ยน
                                                             ่

หลักการและทฤษฎี
 การที่จะสอนให้เด็กเข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอ โดยผ่านตัว
การ์ตูน ดังที่นายแพทย์ ประเสริ ฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึงการ์ตูนว่า "หน้าที่หนึ่งของการ์ตูน คือกระตุก
ความคิดของเยาวชน ไม่ตองสอน"
                     ้

วิธีดาเนินงาน
         แนวทางการดาเนินงาน
                เขียนเป็ นลาดับขั้นตอนในการปฏิบติงานั
         ขั้นตอนการดาเนินงาน
                1.ปรึ กษา อภิปรายและเลือกเรื่ องที่ตองการจะศึกษา
                                                      ้
                2.ศึกษาข้อมูล
                3.แต่งเนื้อเรื่ อง สร้างตัวการ์ตูน
                4.นาภาพมาเรี ยงในสไลด์
                5.พากเสียงและนาเสียงมาใส่ในสไลด์
3
           เครื่องมือที่ใช้
  1.                  คอมพิวเตอร์
  2.เครื่ องบันทึกเสียง
                    3.ดินสอ/ยางลบ/กระดาษ
 งบประมาณ
  ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น
           สถานที่ดาเนินงาน
  โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยและบ้าน

ประโยชน์ ที่คาดว่าได้ รับ
1. บุคคลทัวไปเข้าใจและสนใจเรื่ องอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากยิงขึ้น
           ่                                                                               ่
2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้หลากหลาย
3. เพิ่มทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้กบตัวเอง
                                              ั
4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4

                                          บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                              ่

ขั้นตอนการสร้ าง การ์ ตูนเคลือนไหว่
         1. IDEA - ความคิด แนวคิด
                    ขั้นตอนแรกในการทาคือ คิด คิดว่าจะทาเรื่ องอะไร ทายังไง จบยังไง น่าสนใจยังไง ขนาดที่
จะทา ขั้นตอนนี้ยงไม่ตองสนใจเทคนิกในการสร้าง เพียงแค่ระดมความคิดต่างๆเอามารวมกัน แต่อาจจะไม่
                    ั ้
จาเป็ นต้องเขียนทุกอย่าง เขียนแค่ตว หลักๆ ใว้
                                        ั
         2.1 STORY - เนือเรื่อง
                             ้
                    หลังจากได้แนวความคิดตอนนี้ก็มาเขียนเนื้อเรื่ อง โดยเอาแนวคิดหลักๆมาขยายความ ใน
การเขียนเนื้อเรื่ องตอนนี้ก็เหมือนกับเขียนนิยาย คือไม่ใช่มีแต่เนื้อเรื่ อง ต้องมีบทพูดด้วยเช่นกัน ไล่เป็ นฉากๆ
บทๆ ไป ขั้นตอนนี้ เอกสารจะเป็ น แค่ ตัวอักษรเท่านัน        ้
         2.2 STORY BOARD - สตอรี่บอร์ ด
                    นาเนื้อเรื่ องที่ทาการเรี ยบเรี ยง มาให้ทีมงานอ่านกัน เพื่อเอาไปเขียนสตอรี่ บอร์ด, คนที่เขียน
สตอรี่ บอร์ดไม่จาเป็ นต้องมีแค่คนเดียว แบ่งงานเป็ น ฉากๆไป. ขั้นตอนนี้น้ น คือการนาเอาเนื้อเรื่ องมาวาด
                                                                                 ั
เป็ นภาพ มาเรี ยงต่อกันเป็ นฉากๆ แล้วเอามาแปะใว้บนที่บอร์ด(ถึงเรี ยกว่า สตอรี่ บอร์ด). แล้วเอามาเขียนมา
แก้กนเพิ่มมุมมองฉากใหน แก้มุมใหน ขั้นตอนนี้จะสาคัญ
      ั
5
        3 AUDIO and SOUND - เสียง
                เมื่อเอาสตอรี่ บอร์ดมาเรี ยงกันเป็ นหนังอย่าง แล้วเอามาอัดเสียง ไม่ว่าจะเสียงพากค์ เสียง
เอฟเฟค เสียงฉากหลัง ทาให้หมด. มันจะเป็ นการง่ายมาก หากเราทาเสียงแล้ว มาวาดให้ตรงกับเสียง มากกว่า
ทาเสียงให้ตรงกับภาพ.




        4. ANIMATE - วาดรูปเคลือนใหว
                               ่
                 เมื่อได้เสียงเราก็นาเสียงมาดูความยาว ตามช่วงเวลา เพื่อนามาวาด. ขั้นตอนนี้ตองอาศัย
                                                                                           ้
ความ อดทน กับ ความมุ่งมัน ในการทาเพราะเรื่ องที่มความยาว ครึ่ งชัวโมง ก็ตองวาด 3000 รู ป
                        ่                        ี               ่       ้
โดยประมาณ. ทั้งนี้ในการวาดในขั้นนี้ ต้องอาศัยการศึกษาและเทคนิกต่างๆ ไม่ว่าจะตัดเส้น ลงสี หรื อ การ
เคลื่อนใหวของสถานที่และตัวละคร.
        5. EDIT - แก้ไข
                 หลังจากวาดอนิเมชันแล้ว ตัวหนังยังแยกกันเป็ นส่วนๆ ในขั้นตอนนี้จะนามาต่อรวมกัน
                                  ่
เพื่อเป็ นหนังใหญ่. แล้วต้องนามาดูกนเพื่อ พิจารณาว่า ทั้งเนื้อเรื่ องดูลงตัวมั้ย ต้อง ตัดฉากใหนออก. ใน
                                   ั
ขั้นตอนนี้มีหนังอนิเมชันไม่นอย ที่ตองตัดออกไป 3-4 ฉาก เพื่อความลงตัว ให้เหมาะสม.
                       ่    ้      ้

        6. FINAL OUTPUT - การผลิดขั้นสุ ดท้ าย
                 เมื่อหนังทั้งเรื่ องเสร็ จเป็ นอันที่เรี ยบร้อยแล้วนั้น ก็สู่การนาไปแสดงหรื อเผยแพร่ . ตรงนี้
ขึ้นอยูกบผูจดทาว่าจะเอาไปทาอะไร(ที่คิดใว้ในขั้นตอนที่ 1 แนวคิด) ส่วนมากคือการนางานไปเสนอตาม
       ่ ั ้ั
บริ ษท ต่างๆเพื่อ นาไป เผยแพร่ หรื อ นาไปผลิต ก็ตามแต่ นโยบายของผูจดทา.
     ั                                                            ้ั
6

                             สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้




        สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of South East Asian Nations) หรื อ
อาเซียน (ASEAN) เป็ นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิก
ทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรู ไน พม่า ฟิ ลิปปิ นส์มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และ
อินโดนีเซีย อาเซียนมีพ้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 จีดีพี
                       ื
ของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็ นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็ นลาดับที่ 9 ของโลกเรี ยงตาม
จีดีพี อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการ

        อาเซียนมีจุดเริ่ มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย
และฟิ ลิปปิ นส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุ งเทพอาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐ
สมาชิกเริ่ มต้น 5 ประเทศ โดยมีวตถุประสงค์เพื่อความร่ วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การ
                               ั
พัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมันคงในภูมิภาค และ
                                                                       ่
เปิ ดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติหลังจาก พ.ศ. 2527 เป็ นต้นมา อาเซียนมีรัฐ
สมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่ง
                                     ั
ทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิงขึ้น เขตการค้าเสรี อาเซียนได้เริ่ มประกาศใช้ต้งแต่ตนปี
                                          ่                                              ั ้
พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็ นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียน
7

ด้านการเมืองและความมันคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี
                     ่
พ.ศ. 2558

สมาคมอาสาและปฏิญญากรุงเทพ

         สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจุดเริ่ มต้นนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดย
ประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (ASA, Association of South East Asia)
ขึ้นเพื่อการร่ วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ตองหยุดชะงักลง
                                                                                  ้
เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย จนเมื่อทั้งสองประเทศฟื้ นฟู
ความสัมพันธ์ระหว่างกัน จึงได้มีการแสวงหาลูทางจัดตั้งองค์การความร่ วมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค
                                         ่
"สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" และถนัด คอมันตร์รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการ
ต่างประเทศของไทยสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญากรุ งเทพที่พระราชวัง
สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ
ประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อาดัม มาลิกแห่งอินโดนีเซีย, นาร์ซิโซ รามอสแห่งฟิ ลิปปิ นส์, อับดุล
ราซัคแห่งมาเลเซีย, เอส. ราชารัตนัมแห่งสิงคโปร์ และถนัด คอมันตร์แห่งไทย ซึ่งถือว่าเป็ นบิดาผูก่อตั้ง
                                                                                            ้
องค์กร

         ความประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มอาเซียนขึ้นมาเกิดจากความต้องการสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อที่
ผูปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุ่งความสนใจไปที่การสร้างประเทศ ความกังวลต่อการแพร่ ขยาย
  ้
ของคอมมิวนิสต์ร่วมกัน ความศรัทธาหรื อความเชื่อถือต่อมหาอานาจภายนอกที่เสื่อมถอยลงในช่วงพุทธ
ทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุ่มอาเซียนมี
วัตถุประสงค์แตกต่างจากสหภาพยุโรป เพราะกลุ่มอาเซียนถูกสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนความเป็ นชาตินิยม




                        อาคารสานักงานเลขานุการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย
8




██ ประเทศสมาชิกอาเซียน
██ ผู้สังเกตการณ์ อาเซียน
██ ประเทศที่ขอสมัครเข้ าเป็ นสมาชิกอาเซียน
██ อาเซียนบวกสาม
███ การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
█████ การประชุมอาเซียนว่ าด้ วยความร่ วมมือด้ านการเมืองและความมันคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
                                                                 ่
(ASEAN Regional Forum)

การขยายตัว

        ในปี พ.ศ. 2519 ปาปัวนิวกินีได้รับสถานะผูสงเกตการณ์และตลอดช่วงพุทธทศวรรษ 2510 กลุ่ม
                                                ้ั
ประเทศสมาชิกได้มีการจัดตั้งโครงการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอย่างจริ งจัง หลังจากผลของการประชุมที่
จังหวัดบาหลีในปี พ.ศ. 2519 แต่ว่าความร่ วมมือดังกล่าวได้รับผลกระทบกระเทือนอย่างหนักในช่วงพุทธ
ทศวรรษ 2520 ก่อนจะได้รับการฟื้ นฟูเมื่อปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากไทยเสนอให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี ข้ ึน
ต่อมา บรู ไนได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเป็ นประเทศที่หก เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 หลังบรู ไนประกาศเอก
ราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม เพียงสัปดาห์เดียว

        ต่อมา เวียดนามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่เจ็ด ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538[12] ไม่นานหลัง
จากนั้น ลาวและพม่าได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่แปดและเก้าตามลาดับ ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.
2540[1 ส่วนกัมพูชาประสงค์จะเข้าร่ วมเป็ นสมาชิก แต่ถกเลื่อนออกไปจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
                                                    ู
ภายในประเทศ จนกระทังในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 กัมพูชาได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่สิบ
                   ่
หลังจากรัฐบาลกัมพูชามีความมันคงแล้ว
                            ่
9

        ในช่วงพุทธทศวรรษ 2530 สมาชิกอาเซียนได้มีประสบการณ์ท้งในด้านการมีประเทศสมาชิกเพิ่ม
                                                            ั
มากขึ้น รวมไปถึงความพยายามในการรวบรวมกลุ่มประเทศให้เป็ นหนึ่งเดียวไปอีกขึ้นหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2533
มาเลเซียได้เสนอให้มีความร่ วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก ซึ่งประกอบด้วยประเทศกลุ่มสมาชิก
อาเซียน สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้โดยมีเจตนาเพื่อถ่วงดุลอิทธิพลของสหรัฐอเมริ กาซึ่ง
เพิ่มพูนมากขึ้นในความร่ วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) และภูมิภาคเอเชียโดยรวมแต่ว่า
ข้อเสนอดังกล่าวถูกยกเลิกไป เพราะได้รับการคัดค้านอย่างหนักจากญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริ กาแม้ว่าจะประสบ
ความล้มเหลวในด้านดังกล่าว แต่กลุ่มสมาชิกก็ยงสามารถดาเนินการในการรวมกลุ่มประเทศให้เป็ นหนึ่ง
                                           ั
เดียวกันต่อไปได้

        ใน พ.ศ. 2535 มีการลงนามใช้แผนอัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่ากัน (Common Effective
Preferential Tariff) โดยมีวตถุประสงค์เพื่อเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็ น
                           ั                 ่
ฐานการผลิตที่สาคัญเพื่อป้ อนสินค้าสู่ตลาดโลก โดยอาศัยการเปิ ดเสรี ดานการค้าและการลดภาษีและ
                                                                   ้
อุปสรรคข้อกีดขวางทางการค้าที่มิใช่ภาษี รวมทั้งการปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษีศุลกากรเพื่อเอื้ออานวยต่อ
การค้าเสรี โดยกฎหมายดังกล่าวเป็ นโครงร่ างสาหรับเขตการค้าเสรี อาเซียน หลังจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน
ในเอเชีย ในปี พ.ศ. 2540 ข้อเสนอของมาเลเซียถูกหยิบยกขึ้นมาอีกครั้งในจังหวัดเชียงใหม่ หรื อที่รู้จกกัน
                                                                                                ั
ว่า การริ เริ่ มเชียงใหม่ ซึ่งเป็ นการรวมกลุ่มระหว่างกลุ่มสมาคมอาเซียนและประเทศในเอเชียอีกสามประเทศ
คือ จีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้

        นอกเหนือจากความร่ วมมือช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกแล้ว อาเซียนยังมี
วัตถุประสงค์ในการธารงรักษาสันติภาพและความมันคงในภูมิภาค ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 มีการลง
                                           ่
นามสนธิสญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็ น
        ั
เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์สนธิสญญาฉบับดังกล่าวเริ่ มมีผลใช้บงคับเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็ น
                           ั                            ั
การห้ามอาวุธนิวเคลียร์ทุกประเภทในภูมิภาค

        หลังจากปฏิญญาว่าด้วยความร่ วมมือในอาเซียน ฉบับที่สอง (อังกฤษ: Bali Concord II) ในปี พ.ศ.
2546กลุ่มประเทศอาเซียนได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยทฤษฎีสนติภาพประชาธิปไตย ซึ่งหมายความว่า
                                                     ั
ประเทศสมาชิกทุกประเทศมีความเชื่อว่ากระบวนการตามหลักการประชาธิปไตยจะทาให้เกิดสันติภาพและ
10

เสถียรภาพในภูมิภาค นอกจากนั้น ประเทศอื่นที่มิได้ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบนต่างก็เห็น
                                                                                ั
ว่าระบอบประชาธิปไตยเป็ นระบอบการปกครองที่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ ควรใฝ่ หา

        ผูนาของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะอย่างยิง มหาเธร์ โมฮัมหมัดแห่งมาเลเซีย ตระหนักถึงความ
          ้                                ่
จาเป็ นในการรวมกลุ่มประเทศกันอย่างจริ งจัง โดยเริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2540 อาเซียนได้เริ่ มตั้งก่อตั้งองค์การหลาย
แห่งในความพยายามที่จะบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว อาเซียนบวกสามเป็ นองค์การแรกที่ถกก่อตั้งขึ้น โดยมี
                                                                            ู
วัตถุประสงค์เพื่อกระชับความสัมพันธ์กบจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ตามด้วยการประชุมเอเชียตะวันออก ซึ่งมี
                                    ั
อีกสามประเทศที่เข้าร่ วมด้วย คืออินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ กลุ่มดังกล่าวมีแผนการที่เป็ นรากฐาน
ของประชาคมเอเชียตะวันออกในอนาคต ซึ่งร่ างขึ้นตามอย่างของประชาคมยุโรปซึ่งปัจจุบนสิ้นสภาพไป
                                                                              ั
แล้ว หลังจากนั้น ได้มีการจัดตั้งกลุ่มผูทรงคุณวุฒิอาเซียนขึ้น เพื่อศึกษาผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้านลบ
                                       ้
ของนโยบายดังกล่าว รวมไปถึงความเป็ นไปได้ในการร่ างกฎบัตรอาเซียนในอนาคต

        ในปี พ.ศ. 2549 กลุ่มอาเซียนได้รับสถานภาพผูสงเกตการณ์สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ซึ่งกลุ่ม
                                                  ้ั
อาเซียนได้มอบสถานภาพ "หุนส่วนการอภิปราย" ให้แก่สหประชาชาติเป็ นการตอบแทน นอกเหนือจากนั้น
                        ้
ในวันที่ 23 กรกฎาคมปี นั้นเอง โจเซ รามุส-ออร์ตา นายกรัฐมนตรี แห่งติมอร์ตะวันออก ได้ลงนามในความ
ต้องการในการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกของกลุ่มอาเซียนอย่างเป็ นทางการ และคาดหวังว่าการได้รับสถานภาพผู้
สังเกตการณ์เป็ นเวลาห้าปี ก่อนที่จะได้รับสถานภาพเป็ นประเทศสมาชิกอย่างสมบูรณ์

        ในปี พ.ศ. 2550 กลุ่มอาเซียนได้เฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 40 ปี การก่อตั้งกลุ่มอาเซียน และ
ครบรอบ 30 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตกับสหรัฐอเมริ กา[26] ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2550 กลุ่มอาเซียน
ตั้งเป้ าที่จะบรรลุขอตกลงการค้าเสรี ทุกฉบับกับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
                    ้
ภายในปี พ.ศ. 2556 ไปพร้อมกับการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558ในเดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็ นกฎข้อบังคับในการ
ดูแลความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน และยกระดับกลุ่มอาเซียนให้เป็ นองค์การระหว่าง
ประเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เขตการค้าเสรี จีน-อาเซียนมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553
นับเป็ นเขตการค้าเสรี ที่มีประชากรมากที่สุดในโลกและมีมลค่าจีดีพีคิดเป็ นอันดับที่ 3 ของโลก
                                                      ู

        วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 มีการลงนามความตกลงการค้าเสรี ระหว่างภูมิภาคอาเซียน 10
ประเทศ กับนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย มีการประเมินว่าความตกลงการค้าเสรี น้ ีจะเพิ่มจีดีพีใน 12 ประเทศ
11

ขึ้นมากกว่า 48 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ระหว่าง พ.ศ. 2543-2563ต้นปี พ.ศ. 2554 ติมอร์ตะวันออกวางแผนจะยืน
                                                                                              ่
จดหมายขอสมัครเข้าเป็ นสมาชิกแก่สานักเลขาธิการอาเซียนในอินโดนีเซีย เป็ นประเทศสมาชิกลาดับที่สิบ
เอ็ดของอาเซียนระหว่างการประชุมสุดยอดในกรุ งจาการ์ตา อินโดนีเซียแสดงท่าทีตอนรับติมอร์ตะวันออก
                                                                         ้
อย่างอบอุ่น

ภูมศาสตร์
   ิ




                           ธรณี สัณฐานของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

        ในปัจจุบน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยประเทศสมาชิกจานวน 10
                ั
ประเทศ คิดเป็ นพื้นที่ประมาณ 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 560 ล้านคน (ข้อมูลในปี
พ.ศ. 2549) ยอดเขาที่สูงสุดในภูมิภาค คือ ยอดเขาข่ากาโบราซีในพม่า ซึ่งมีความสูง 5,881 เมตร และมีอาณา
เขตติดต่อกับจีน อินเดีย บังกลาเทศ

        ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น อุณหภูมิอยูระหว่าง 27-36 °Cพืช
                                                                           ่
พรรณธรรมชาติเป็ นป่ าฝนเขตร้อน ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับที่สองของโลก ป่ าดงดิบ ป่ าเบญจพรรณ ป่ า
สน ป่ าหาดทรายชายทะเล ป่ าไม้ปลูก มีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ คือ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง สับปะรด
ยางพารา ปาล์มน้ ามันและพริ กไทย

วัตถุประสงค์

        จากสนธิสญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการสรุ ปแนวทางของ
                ั
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้จานวนหกข้อ ดังนี้
12

1.ให้ความเคารพแก่เอกราช อานาจอธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ของชาติ
สมาชิกทั้งหมด
2.รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุ กรานดินแดนและการบังคับขู่
เข็ญ จะไม่เข้าไปยุงเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐสมาชิกอื่น ๆ
                  ่
3.ยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน หรื อแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ ประณามหรื อไม่ยอมรับการ
คุกคามหรื อการใช้กาลัง
4.ให้ความร่ วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ

การประชุมสุ ดยอดอาเซียน




              ป้ ายประกาศในกรุ งจาการ์ ตาต้ อนรั บผู้เข้ าร่ วมประชุมสุดยอดอาเซียนครั้ งที่ 18

        ประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนได้จดการประชุมขึ้น เรี ยกว่า การประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งประมุข
                                    ั
ของรัฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิกจะมาอภิปรายและแก้ไขประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ รวมไปถึงการ
จัดการประชุมร่ วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิกเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

        การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกจัดขึ้นที่จงหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2519 จาก
                                                 ั
ผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่สาม ณ กรุ งมะนิลา ในปี พ.ศ. 2530 สรุ ปว่าผูนาประเทศสมาชิกกลุ่ม
                                                                              ้
อาเซียนควรจะจัดการประชุมขึ้นทุกห้าปี อย่างไรก็ตาม ผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งต่อมาที่
13

ประเทศสิงคโปร์ ในปี พ.ศ. 2535 ได้เสนอให้จดการประชุมให้บ่อยขึ้น และได้ขอสรุ ปว่าจะมีการจัดการ
                                         ั                            ้
ประชุมสุดยอดขึ้นทุกสามปี แทนต่อมา ในปี พ.ศ. 2544 ผูนาสมาชิกประเทศกลุ่มอาเซียนได้เสนอให้จดการ
                                                   ้                                    ั
ประชุมขึ้นทุกปี เพื่อแก้ไขประเด็นปัญหาด่วนที่ส่งผลกระทบในพื้นที่ ประเทศสมาชิกจะได้รับเลือกให้เป็ น
เจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขึ้นเรี ยงตามตัวอักษร ยกเว้นประเทศพม่า ซึ่งถูกยกเลิกการเป็ นเจ้าภาพการ
ประชุมในปี พ.ศ. 2549 เนื่องจากปัญหาทางด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีแรงกดดันจากสหรัฐอเมริ กาและสหภาพ
ยุโรปมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547

การประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างเป็ นทางการ

ครั้งที่ วันที่                                ประเทศเจ้าภาพ           สถานที่จดการประชุม
                                                                               ั

1        23-24 กุมภาพันธ์ 2519                       อินโดนีเซีย       บาหลี

2        4-5 สิงหาคม 2520                            มาเลเซีย          กัวลาลัมเปอร์

3        14-15 ธันวาคม 2530                          ฟิ ลิปปิ นส์      มะนิลา

4        27-29 มกราคม 2535                           สิงคโปร์          สิงคโปร์

5        14-15 ธันวาคม 2538                          ไทย               กรุ งเทพมหานคร

6        15-16 ธันวาคม 2541                          เวียดนาม          ฮานอย

7        5-6 พฤศจิกายน 2544                          บรู ไน            บันดาร์เสรี เบกาวัน

8        4-5 พฤศจิกายน 2545                          กัมพูชา           พนมเปญ

9        7-8 ตุลาคม 2546                             อินโดนีเซีย       บาหลี

10       29-30 พฤศจิกายน 2547                        ลาว               เวียงจันทน์
11      12-14 ธันวาคม 2548                           มาเลเซีย        กัวลาลัมเปอร์

12      11-14 มกราคม 25501                           ฟิ ลิปปิ นส์2   เซบู

13      18-22 พฤศจิกายน 2550                         สิงคโปร์        สิงคโปร์

        27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2552                                ชะอา, หัวหิน
143                                                  ไทย
        10-11 เมษายน 2552                                            พัทยา

15      23-25 ตุลาคม 2552                            ไทย             ชะอา, หัวหิน

16      8-9 เมษายน 2553                              เวียดนาม        ฮานอย

17      28-30 ตุลาคม 2553                            เวียดนาม        ฮานอย

18      7-8 พฤษภาคม 2554                             อินโดนีเซีย     จาการ์ตา

19      17-19 พฤศจิกายน 2554                         อินโดนีเซีย     จาการ์ตา

20      3-4 เมษายน 2555                              กัมพูชา         พนมเปญ

1 การประชุมเลื่อนออกไปเป็ นวันที่ 10-14 ธันวาคม เนื่องจากภัยไต้ฝน
                                                                ุ่

2 พม่าไม่ได้รับอนุญาตให้เป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมเนื่องจากความกดดันอย่างหนักจากสหรัฐอเมริ กาและ
สหภาพยุโรป

3 การประชุมถูกเลื่อนออกไปสองครั้งเนื่องจากการชุมนุมประท้วงของกลุ่มต่อต้านรัฐบาล

4 อินโดนีเซียเสนอแลกเปลี่ยนกับบรู ไนอาจจะเป็ นเจ้าภาพเอเปค (และอาจมีการประชุม G20) ในปี 2013
15
ประเทศผูเ้ ข้าร่ วมประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก:
 อาเซียน
 อาเซียนบวกสาม
 สมาชิกเพิ่มเติม
 ผูสงเกตการณ์
   ้ั

ประชาคมเศรษฐกิจ

        กลุ่มอาเซียนได้ให้ความสาคัญกับความร่ วมมือในภูมิภาค อันประกอบด้วย "หลักสามประการ" ของ
ความมันคง สังคมวัฒนธรรมและการรวมตัวทางเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มกันในภูมิภาคได้ทาให้การรวมตัว
      ่
ทางเศรษฐกิจดาเนินไปอย่างรวดเร็ ว ซึ่งคาดว่าจะประสบความสาเร็ จในการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 ประชาคมเศรษฐกิจดังกล่าวจะมีประชากรรวมกัน 560 ล้านคน และมูลค่าการค้า
กว่า 1.4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

เขตการค้าเสรี

        รากฐานของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเริ่ มต้นมาจากเขตการค้าเสรี อาเซียนซึ่งเป็ นการลด
อัตราภาษีศุลกากรเพื่อให้สินค้าภายในอาเซียนเกิดการหมุนเวียน เขตการค้าเสรี อาเซียนเป็ นข้อตกลงโดย
สมาชิกกลุ่มอาเซียนซึ่งกังวลต่อผลิตภัณฑ์หตถกรรมท้องถิ่นของตน ได้รับการลงนามในสิงคโปร์เมื่อวันที่
                                        ั
28 มกราคม 2535 ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ บรู ไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
สิงคโปร์และไทย เวียดนาม (เข้าร่ วมในปี 2538) ลาว พม่า (เข้าร่ วมในปี 2540) และกัมพูชา (เข้าร่ วมในปี
2542)

เขตการลงทุนร่ วม

        เขตการลงทุนร่ วมมีวตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มการลงทุนหมุนเวียนภายในอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย
                           ั
หลักการดังต่อไปนี้ :

    1. เปิ ดให้อุตสาหกรรมทุกรู ปแบบเกิดการลงทุนและลดขั้นตอนตามกาหนดการ
    2. ทาสัญญากับผูลงทุนในกลุ่มอาเซียนที่เขามาลงทุนในทันที
                   ้
    3. กาจัดการกีดขวางทางการลงทุน
16
    4. ปรับปรุ งกระบวนการและระเบียบการลงทุนให้เกิดความคล่องตัว
    5. สร้างความโปร่ งใส
    6. ดาเนินการตามมาตรการอานวยความสะดวกในการลงทุน

        ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากเขตการลงทุนร่ วมจะเป็ นการกาจัดการกีดกันในกิจการเกษตรกรรม
    การประมง การป่ าไม้และการทาเหมืองแร่ ซึ่งคาดว่าจะสาเร็ จภายในปี พ.ศ. 2553 สาหรับประเทศ
    สมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็ นส่วนใหญ่ และคาดว่าจะสาเร็ จในปี พ.ศ. 2558 สาหรับประเทศกัมพูชา ลาว พม่า
    และเวียดนาม

การแลกเปลียนบริการ
          ่

        ข้อตกลงการวางกรอบเรื่ องการแลกเปลี่ยนบริ การเริ่ มต้นขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่
กรุ งเทพมหานครในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548ภายใต้กรอบข้อตกลงดังกล่าว รัฐสมาชิกของกลุ่มอาเซียนจะ
สามารถประสบความสาเร็ จในการเจรจาอย่างเสรี ในด้านการแลกเปลี่ยนบริ การ โดยมีเป้ าหมายเพื่อที่จะ
สนับสนุนให้มการแลกเปลี่ยนระหว่างกันมากขึ้น ผลของการเจรจาการแลกเปลี่ยนบริ การซึ่งได้เริ่ ม
            ี
ดาเนินการตามหมายกาหนดการเป็ นรายเฉพาะจะถูกรวมเข้ากับกรอบข้อตกลง ซึ่งหมายกาหนดการดังกล่าว
มักจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มการแลกเปลี่ยนบริ การ ในปัจจุบน พบว่ามีกลุ่มการแลกเปลี่ยนบริ การจานวนเจ็ดกลุ่ม
                                                    ั
ภายใต้กรอบข้อตกลงดังกล่าว

ตลาดการบินเดียว

        แนวคิดเรื่ องตลาดการบินเดียวเป็ นความคิดเห็นที่เสนอโดยกลุ่มงานขนส่งทางอากาศอาเซียน ได้รับ
การสนับสนุนในการประชุมการขนส่งอย่างเป็ นทางการของอาเซียน และได้รับการอนุมติโดย
                                                                         ั
รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคมนาคมของรัฐสมาชิก ซึ่งจะนาไปสู่การจัดระเบียบน่านฟ้ าเปิ ดในภูมิภาค
ภายในปี พ.ศ. 2558โดยตลาดการบินเดียวมีวตถุประสงค์เพื่อเปิ ดการคมนาคมทางอากาศระหว่างรัฐสมาชิก
                                      ั
เป็ นไปอย่างเสรี ซึ่งสร้างประโยชน์ให้กบกลุ่มอาเซียนจากการเติบโตของการเดินทางทางอากาศในปัจจุบน
                                      ั                                                     ั
และยังเป็ นการเพิ่มการท่องเที่ยว การค้า การลงทุนและการบริ การให้กบรัฐสมาชิกทั้งหมด เริ่ มตั้งแต่วนที่ 1
                                                                 ั                               ั
ธันวาคม พ.ศ. 2551 ข้อจากัดเสรี ภาพทางอากาศที่สามและที่สี่ระหว่างเมืองหลวงของรัฐสมาชิกสาหรับ
บริ การสายการบินจะถูกยกเลิกในขณะที่หลังจากวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 จะมีเสรี ภาพบริ การการบินใน
17

ภูมิภาคและภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 จะมีการเปิ ดเสรี เสรี ภาพทางอากาศข้อที่หาระหว่างเมืองหลวง
                                                                                 ้
ทั้งหมด

ข้ อตกลงการค้าเสรีกบประเทศนอกกลุ่มอาเซียน
                   ั

          อาเซียนได้เปิ ดการค้าเสรี กบประเทศภายนอกหลายประเทศ ทั้งจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
                                     ั
นิวซีแลนด์ และล่าสุด อินเดียข้อตกลงการค้าเสรี กบประเทศจีนได้สร้างเขตการค้าเสรี จีน -อาเซียน ใน
                                               ั
ปัจจุบน อาเซียนนั้นกาลังเจรจากับสหภาพยุโรปในการที่จะทาการค้าเสรี ดวยกัน ผลดีของข้อตกลงนั้น คือ
      ั                                                           ้
การเปิ ดโอกาสการค้าของอาเซียน ให้มีศกยภาพและขยายตัวมากขึ้น รวมไปถึงการลงทุนจากต่างชาติดวย
                                    ั                                                  ้
ไต้หวันยังแสดงความสนใจที่จะทาข้อตกลงกับอาเซียน แต่ได้รับการคัดค้านทางการทูตจากประเทศจีน

ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ




ปัจจุบนประเทศในอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีขอมูลของแต่ละประเทศดังนี้
      ั                                       ้
18




1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
            เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน
            ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน
            ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
            นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริ สต์ 10%
            ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์



ข้อควรรู้
- ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรู ไนฯ มีระยะเวลาอยูในบรู ไนฯได้
                                                                                  ่
2 สัปดาห์
- ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเป็ นสีของพระมหากษัตริ ย ์
- การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรี จะไม่ยนมือให้บุรุษจับ
                                         ื่
- การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรื อสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หวแม่มือชี้แทน
                                                          ั
-จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผอื่น
                               ู้
-สตรี เวลานังจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผูชายและไม่ส่งเสียงหรื อหัวเราะดัง
            ่                      ้
19




2.กัมพูชา (Cambodia)
            เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ
            ภาษา : ภาษาเขมร เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน
            ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2%
            นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็ นหลัก
            ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ

ข้อควรรู้
- เมื่อเดินทางถึงท่าอากาศยานกรุ งพนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ม Visa on Arrival พร้อมยืนรู ปถ่ายและ
                                                                               ่
ค่าธรรมเนียม 20 ดอลลาร์สหรัฐ
- ผูที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยูทาธุรกิจเป็ นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้ องกันโรค
    ้                                    ่
ไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี
20




3.อินโดนีเซีย (Indonesia)
 เ          มืองหลวง : จาการ์ตา
            ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็ นภาษาราชการ
            ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยูบน
                                                                                               ่
เกาะชวา
            นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริ สต์ 10%
            ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็ นประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร

ข้อควรรู้
- ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ หรื อรับประทานอาหารคนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ
- ไม่จบศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก
      ั
- การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรู ปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การนาเข้าและครอบครอง
ยาเสพติดมีโทษถึงประหารชีวิต
- บทลงโทษรุ นแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรื อนา
พืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
21




4.ลาว (Laos)
            เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์
            ภาษา : ภาษาลาว เป็ นภาษาราชการ
            ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า
            นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16%
            ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน)

ข้อควรรู้
-ลาว มีตวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้
        ั
คล่องมาก
-ลาวขับรถทางขวา
22




5.มาเลเซีย (Malaysia)
            เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์
            ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน
            ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
            นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%, คริ สต์ 11%
            ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา

ข้อควรรู้
-ผูที่นบถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร
   ้ ั
งานแต่งงานและงานศพ
-มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพนธุในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40
                                              ั ์
ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็ นชาวจีนร้อยละ10 เป็ นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็ นชนพื้นเมืองบนเกาะ
บอร์เนียว
23




6.พม่า (Myanmar)
         เมืองหลวง : เนปี ดอ (Naypyidaw)
         ภาษา : ภาษาพม่า เป็ นภาษาราชการ
         ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระ
เหรี่ ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
         นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริ สต์ 5% อิสลาม 3.8%
         ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการ
พัฒนาแห่งรัฐ




7.ฟิ ลิปปิ นส์ (Philippines)
         เมืองหลวง : กรุ งมะนิลา
         ภาษา : ภาษาฟิ ลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีน
แต้จิ๋ว ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษาประจาชาติคือ ภาษาตากาล็อก
         ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
24

            นับถือศาสนา : คริ สต์โรมันคาทอลิก 83% คริ สต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5%
            ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็ นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร

ข้อควรรู้
-การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิ ลิปปิ นส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่ วมกับฝ่ ายฟิ ลิปปิ นส์จาเป็ นต้องมี
การศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็ น
ต้น




8.สิงคโปร์ (Singapore)
            เมืองหลวง : สิงคโปร์
            ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริ มให้พดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง
                                                                             ู
และให้ใช้องกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวิตประจาวัน
          ั
            ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1%
            นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริ สต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นบถือศาสนา 25%
                                                                                 ั
            ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็ น
ประมุข และนายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร

ข้อควรรู้
- หน่วยราชการเปิ ดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และ
วันเสาร์ เปิ ดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น.
25

-การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ ขายบริ การผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุ นแรง
-การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปื นและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุ นแรงถึงขั้นประหารชีวิต




9.เวียดนาม (Vietnam)
            เมืองหลวง : กรุ งฮานอย
            ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็ นภาษาราชการ
            ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10%
            นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริ สต์ 15%
            ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ นพรรคการเมืองเดียว

ข้อควรรู้
- หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริ การสาธารณสุข เปิ ดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30
น. ตั้งแต่วนจันทร์ – ศุกร์
           ั
- เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ
- หากนาเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้งให้ศุลกากรเวียดนามทราบ
การนาเงินตราออกประเทศมากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งชาติหรื อ
ธนาคารกลางในท้องถินก่อน มิเช่นนั้นจะถูกยึดเงิน
                  ่
- บทลงโทษของเวียดนามในคดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
26




10.ประเทศไทย (Thailand)
       เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร
       ภาษา : ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ
       ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็ นส่วนใหญ่
       นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4%
       ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                                   ์
27
                                                      บทที่ 3
                                               ขั้นตอนการดาเนินงาน
          เครื่องมือที่ใช้
          - คอมพิวเตอร์
          - เครื่ องบันทึกเสียง
          - ดินสอ/ยางลบ/กระดาษ
          เครื่องมือที่ใช้ ในการพัฒนา
          - PhotoScape
          - Movie Maker
          - paint

          ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
                                                                                                        ผู้รับ
                                                                                                        ผิด
    ที่              ขั้นตอน                                         สัปดาห์ ที่
                                                                                                        ชอบ
                                        1 2 3 4 5 6 7 8 9 10           11      12   13 14 15 16   17

1             คิดหัวข้อโครงงาน                                                                         ทุกคน

2             ศึกษาและค้นคว้า                                                                          ทุกคน
              ข้อมูล
3             จัดทาโครงร่ างงาน                                                                        ทุกคน

4             ปฏิบติการสร้าง
                  ั                                                                                    ทุกคน
              โครงงาน
5             ปรับปรุ งทดสอบ                                                                           ทุกคน

6             การทาเอกสารรายงาน                                                                        ทุกคน

7             ประเมินผลงาน                                                                             ทุกคน

8             นาเสนอโครงงาน                                                                            ทุกคน
28
ผลที่คาดว่าได้ รับ
1. บุคคลทัวไปเข้าใจและสนใจเรื่ องอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากยิงขึ้น
           ่                                                                               ่
2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้หลากหลาย
3. เพิ่มทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้กบตัวเอง
                                              ั
4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สถานที่ดาเนินการ
        โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่และบ้านของผูจดทา
                                                    ้ั

กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกียวข้ อง
                          ่
        วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
29
                                     บทที่ 4 ผลการศึกษา
        จากการศึกษาพบว่า วิธีการนาเสนองาน,การสอน,การอธิบาย เพื่อสร้างความเข้าใจและความ
น่าสนใจที่ได้ผลที่ดีสุดคือการนาเสนอ,การสอน,การอธิบาย โดยผ่านตัวการ์ตูน ซึ่งจะเห็นได้จากในปัจจุบน
                                                                                               ั
การ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็ นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบน ที่มีการฉายทาง
                                                                        ั
โทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น ในโครงงานเล่มนี้นาเสนอเรื่ องอาเซียนหรื อ สมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) ได้ใช้วิธีการนาเสนอ
ด้วยตัวการ์ตูนและภาพเพื่อผูที่ศึกษาจะได้เกิดจินตนาการร่ วมไปกับความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งเรื่ องที่ได้จทาเป็ น
                           ้                                                                       ั
โครงงานนี้เป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาวไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า”อาเซียน”อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะ
                                                          ั
เยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่ประเทศชาติต่อไป
30
                                   บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ
 การสร้างการ์ตูนหรื ออนิเมชันนั้น ควรมีโปรมแกรมและเทคนิคหลายขั้นตอนเพื่อที่จะได้สร้างความ
                              ่
น่าสนใจน่าดูมากยิงขึ้น โปรแกรมพื้นฐานที่เหมาะแก่การสร้างการ์ตูนอนิเมชัน ได้แก่ Photoshop , Image
                   ่                                                        ่
Ready , Macromedia Fash เป็ นต้น ทั้งนี้จะมีแค่โปรแกรมไม่ได้จะต้องอาศัยเทคนิคในการสร้างตัวการ์ตูน
ด้วย ตัวอย่างเช่น ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame คือการกาหนดการเปลี่ยนแปลงของอ็อบเจ็กต์ที่
แตกต่างกันในทุกๆคียเ์ ฟรม เหมาะสาหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีความซับซ้อนมากๆ แต่ขอเสียของ  ้
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม คือไฟล์ภาพจะมีขนาดใหญ่กว่าแบบ Tween , ภาพเคลื่อนไหว
แบบTween เป็ นการสร้างภาพเคลื่อนไหวจากเฟรมเริ่ มต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งโปรแกรมจะสร้างการ
เปลี่ยนแปลงระหว่างเฟรมให้โดยอัตโนมัติ นันคือการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะมีการสร้างเฟรม
                                           ่
เพียง 2 เฟรม คือเฟรมเริ่ มต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งคุณสมบัติน้ ีเองที่ทาให้การสร้างภาพ เคลื่อนไหวแบบ
Tween มีขนาดไฟล์ที่เล็กกว่าการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame , Shape Tween เป็ นการสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนแปลงรู ปทรงของอ็อบเจ็กต์ จากรู ปทรงหนึ่งไปเป็ น
อีกรู ปทรงหนึ่งโดยสามารถกาหนด ทิศทาง ตาแหน่ง ขนาด และสีของการเปลี่ยนแปลงได้ตามต้องการ
นอกจากนี้ยงต้องใช้เทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหว เช่น การนาภาพเคลื่อนไหวชนิด Motion และ Shape
            ั
Tween มารวมกันการใช้เทคนิค Mask Layer การสร้างเทคนิคพิเศษให้กบภาพเลื่อนไหว หรื อภาพนิ่งที่
                                                             ั
เรี ยกว่า "Mask" หรื อการทาหน้ากาก เป็ นต้น ดังนั้นไม่ว่าการสร้างงานใดๆก็แล้วแต่ควรศึกษาในเรื่ องที่
เกี่ยวข้องออย่างละเอียดถี่ถวน ทั้งจะต้องรู้และเข้าใจเป็ นอย่างดีดวย เพื่อผลงานที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ
                           ้                                     ้
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน

More Related Content

What's hot

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสChu Ching
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนWithyou shop
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3Servamp Ash
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านMo Taengmo
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54RMUTT
 

What's hot (20)

โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
Final com 929
Final com 929Final com 929
Final com 929
 
Projectcom608029
Projectcom608029Projectcom608029
Projectcom608029
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 7 54
 

Similar to โครงงานหนูชื่ออาเซียน

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmelody_fai
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาJar 'zzJuratip
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSine Hrcn
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเมmaykai
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1AseansTradition55
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19Phichittra18
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19Phichittra18
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 

Similar to โครงงานหนูชื่ออาเซียน (20)

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การทำงาน อาเม อาเม
การทำงาน  อาเม  อาเมการทำงาน  อาเม  อาเม
การทำงาน อาเม อาเม
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
2557 project 18,19
2557 project  18,192557 project  18,19
2557 project 18,19
 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 

More from Jar 'zzJuratip

ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้Jar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทJar 'zzJuratip
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 

More from Jar 'zzJuratip (12)

Pat7.1
Pat7.1Pat7.1
Pat7.1
 
Pat7.3
Pat7.3Pat7.3
Pat7.3
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
อังกฤษ 50
อังกฤษ 50อังกฤษ 50
อังกฤษ 50
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
วิทย์ 50
วิทย์ 50วิทย์ 50
วิทย์ 50
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
คณิต 50
คณิต 50คณิต 50
คณิต 50
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
ใบงานที่ 10 เรื่อง คิดวิเคราะห์สร้างทางเลือก และเกณฑ์ที่ใช้
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่  5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 

โครงงานหนูชื่ออาเซียน

  • 1. รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน หนูชื่ออาเซียน ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19 ห้อง 6/14 น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23 ั ห้อง 6/14 น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ เลขที่ 30 ห้อง 6/14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้
  • 2. คานา โครงงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 รหัสวิชา ง33201 โดย มีครู ประจาวิชาและครู ที่ปรึ กษาโครงงานคือคุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โครงงานเล่มนี้เป็ นโครงงาน ประเภทโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา หรื อ Educational Media Development ซึ่งนาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) มีวตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจอันดีต่อกัน ั ระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความ ่ เจริ ญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของประชาชนบนพื้นฐาน ่ ของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก ดังนั้นจึงเป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาว ไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า”อาเซียน”อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะเยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่ ั ประเทศชาติต่อไป ทางผูจดทาจึงเห็นว่าการที่จะสอนให้เด็กเข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจ ้ั ในการนาเสนอ โดยผ่านตัวการ์ตูน ทั้งนี้หากโครงงานเล่มนี้มีความผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ ั น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ ผู้จดทา ั
  • 3. สารบัญ หน้ า คานา ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน 27 บทที่ 4 ผลการศึกษา 29 บทที่ 5 สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ 30 ภาคผนวก 31 บรรณานุกรม 33
  • 4. 1 ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) หนูชื่ออาเซียน ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) My name’s Asean ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( Educational Media Development) ผู้จดทาโครงงาน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/14 ั น.ส.ณิ นทิรา ตันตยานุสรณ์ เลขที่ 19 น.ส.สุลกขณา แสงอรุ ณ เลขที่ 23 ั น.ส.จุฬาทิพย์ แสงบุญ เลขที่ 30 ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรี ยนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2555 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ อาเซียน หรื อ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุ งเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วง ั สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริ มความเข้าใจ อันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธารงไว้ซ่ึงสันติภาพเสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง ่ สร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมการกินดีอยูดีของ ่ ประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก อาเซียนได้ต้งเป้ า ั เป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2558 โดยมุ่งหวังเป็ นประชาคมที่มีประชาชนเป็ น ศูนย์กลาง มีสงคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ นอยูที่ดีและมีการพัฒนาในทุก ั ่ ด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริ มการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน รวมทั้ง ่ ส่งเสริ มอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็ นประชาคมสังคม ดังนั้นจึงเป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาวไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า ั ”อาเซียน”อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะเยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่ประเทศชาติต่อไป ทางผูจดทาจึงเห็นว่าการที่จะสอนให้เด็ก ้ั เข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอ โดยผ่านตัวการ์ตูน ในปัจจุบนการ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็ นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบน ที่มีการ ั ั ฉายทางโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสาหรับเด็กที่มีการใช้สตว์หรื อ ั
  • 5. 2 สิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ นายแพทย์ ประเสริ ฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึง การ์ตูนว่า "หน้ าที่หนึ่งของการ์ ตูน คือกระตุกความคิดของเยาวชน ไม่ต้องสอน" วัตถุประสงค์ 1.สร้างสื่อการเรี ยนรู้ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ้ 2.ศึกษาการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 3.ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างสื่อการเรี ยนรู้ 4.เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนชาวไทยโดยทัวไปสนใจเรื่ องประชาคมอาเซียน ่ ขอบเขตของโครงงาน การจัดทาโครงงานการ์ตูน “หนูชื่ออาเซียน” เป็ นการสร้างสื่อโดยกล่าวถึงอาเซียนหรื อสมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ความรู้แก่บุคคลทัวไปที่สนใจ โดยเฉพาะวัยรุ่ นวัยเรี ยน ่ หลักการและทฤษฎี การที่จะสอนให้เด็กเข้าใจในเรื่ องใดๆนั้นต้องสร้างความน่าสนใจในการนาเสนอ โดยผ่านตัว การ์ตูน ดังที่นายแพทย์ ประเสริ ฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึงการ์ตูนว่า "หน้าที่หนึ่งของการ์ตูน คือกระตุก ความคิดของเยาวชน ไม่ตองสอน" ้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เขียนเป็ นลาดับขั้นตอนในการปฏิบติงานั ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.ปรึ กษา อภิปรายและเลือกเรื่ องที่ตองการจะศึกษา ้ 2.ศึกษาข้อมูล 3.แต่งเนื้อเรื่ อง สร้างตัวการ์ตูน 4.นาภาพมาเรี ยงในสไลด์ 5.พากเสียงและนาเสียงมาใส่ในสไลด์
  • 6. 3 เครื่องมือที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2.เครื่ องบันทึกเสียง 3.ดินสอ/ยางลบ/กระดาษ งบประมาณ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น สถานที่ดาเนินงาน โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยและบ้าน ประโยชน์ ที่คาดว่าได้ รับ 1. บุคคลทัวไปเข้าใจและสนใจเรื่ องอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากยิงขึ้น ่ ่ 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้หลากหลาย 3. เพิ่มทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้กบตัวเอง ั 4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 7. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ขั้นตอนการสร้ าง การ์ ตูนเคลือนไหว่ 1. IDEA - ความคิด แนวคิด ขั้นตอนแรกในการทาคือ คิด คิดว่าจะทาเรื่ องอะไร ทายังไง จบยังไง น่าสนใจยังไง ขนาดที่ จะทา ขั้นตอนนี้ยงไม่ตองสนใจเทคนิกในการสร้าง เพียงแค่ระดมความคิดต่างๆเอามารวมกัน แต่อาจจะไม่ ั ้ จาเป็ นต้องเขียนทุกอย่าง เขียนแค่ตว หลักๆ ใว้ ั 2.1 STORY - เนือเรื่อง ้ หลังจากได้แนวความคิดตอนนี้ก็มาเขียนเนื้อเรื่ อง โดยเอาแนวคิดหลักๆมาขยายความ ใน การเขียนเนื้อเรื่ องตอนนี้ก็เหมือนกับเขียนนิยาย คือไม่ใช่มีแต่เนื้อเรื่ อง ต้องมีบทพูดด้วยเช่นกัน ไล่เป็ นฉากๆ บทๆ ไป ขั้นตอนนี้ เอกสารจะเป็ น แค่ ตัวอักษรเท่านัน ้ 2.2 STORY BOARD - สตอรี่บอร์ ด นาเนื้อเรื่ องที่ทาการเรี ยบเรี ยง มาให้ทีมงานอ่านกัน เพื่อเอาไปเขียนสตอรี่ บอร์ด, คนที่เขียน สตอรี่ บอร์ดไม่จาเป็ นต้องมีแค่คนเดียว แบ่งงานเป็ น ฉากๆไป. ขั้นตอนนี้น้ น คือการนาเอาเนื้อเรื่ องมาวาด ั เป็ นภาพ มาเรี ยงต่อกันเป็ นฉากๆ แล้วเอามาแปะใว้บนที่บอร์ด(ถึงเรี ยกว่า สตอรี่ บอร์ด). แล้วเอามาเขียนมา แก้กนเพิ่มมุมมองฉากใหน แก้มุมใหน ขั้นตอนนี้จะสาคัญ ั
  • 8. 5 3 AUDIO and SOUND - เสียง เมื่อเอาสตอรี่ บอร์ดมาเรี ยงกันเป็ นหนังอย่าง แล้วเอามาอัดเสียง ไม่ว่าจะเสียงพากค์ เสียง เอฟเฟค เสียงฉากหลัง ทาให้หมด. มันจะเป็ นการง่ายมาก หากเราทาเสียงแล้ว มาวาดให้ตรงกับเสียง มากกว่า ทาเสียงให้ตรงกับภาพ. 4. ANIMATE - วาดรูปเคลือนใหว ่ เมื่อได้เสียงเราก็นาเสียงมาดูความยาว ตามช่วงเวลา เพื่อนามาวาด. ขั้นตอนนี้ตองอาศัย ้ ความ อดทน กับ ความมุ่งมัน ในการทาเพราะเรื่ องที่มความยาว ครึ่ งชัวโมง ก็ตองวาด 3000 รู ป ่ ี ่ ้ โดยประมาณ. ทั้งนี้ในการวาดในขั้นนี้ ต้องอาศัยการศึกษาและเทคนิกต่างๆ ไม่ว่าจะตัดเส้น ลงสี หรื อ การ เคลื่อนใหวของสถานที่และตัวละคร. 5. EDIT - แก้ไข หลังจากวาดอนิเมชันแล้ว ตัวหนังยังแยกกันเป็ นส่วนๆ ในขั้นตอนนี้จะนามาต่อรวมกัน ่ เพื่อเป็ นหนังใหญ่. แล้วต้องนามาดูกนเพื่อ พิจารณาว่า ทั้งเนื้อเรื่ องดูลงตัวมั้ย ต้อง ตัดฉากใหนออก. ใน ั ขั้นตอนนี้มีหนังอนิเมชันไม่นอย ที่ตองตัดออกไป 3-4 ฉาก เพื่อความลงตัว ให้เหมาะสม. ่ ้ ้ 6. FINAL OUTPUT - การผลิดขั้นสุ ดท้ าย เมื่อหนังทั้งเรื่ องเสร็ จเป็ นอันที่เรี ยบร้อยแล้วนั้น ก็สู่การนาไปแสดงหรื อเผยแพร่ . ตรงนี้ ขึ้นอยูกบผูจดทาว่าจะเอาไปทาอะไร(ที่คิดใว้ในขั้นตอนที่ 1 แนวคิด) ส่วนมากคือการนางานไปเสนอตาม ่ ั ้ั บริ ษท ต่างๆเพื่อ นาไป เผยแพร่ หรื อ นาไปผลิต ก็ตามแต่ นโยบายของผูจดทา. ั ้ั
  • 9. 6 สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of South East Asian Nations) หรื อ อาเซียน (ASEAN) เป็ นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิก ทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรู ไน พม่า ฟิ ลิปปิ นส์มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และ อินโดนีเซีย อาเซียนมีพ้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 จีดีพี ื ของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็ นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็ นลาดับที่ 9 ของโลกเรี ยงตาม จีดีพี อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการ อาเซียนมีจุดเริ่ มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุ งเทพอาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐ สมาชิกเริ่ มต้น 5 ประเทศ โดยมีวตถุประสงค์เพื่อความร่ วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การ ั พัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมันคงในภูมิภาค และ ่ เปิ ดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติหลังจาก พ.ศ. 2527 เป็ นต้นมา อาเซียนมีรัฐ สมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่ง ั ทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิงขึ้น เขตการค้าเสรี อาเซียนได้เริ่ มประกาศใช้ต้งแต่ตนปี ่ ั ้ พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็ นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียน
  • 10. 7 ด้านการเมืองและความมันคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี ่ พ.ศ. 2558 สมาคมอาสาและปฏิญญากรุงเทพ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจุดเริ่ มต้นนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดย ประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (ASA, Association of South East Asia) ขึ้นเพื่อการร่ วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ตองหยุดชะงักลง ้ เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย จนเมื่อทั้งสองประเทศฟื้ นฟู ความสัมพันธ์ระหว่างกัน จึงได้มีการแสวงหาลูทางจัดตั้งองค์การความร่ วมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค ่ "สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" และถนัด คอมันตร์รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศของไทยสมัยรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญากรุ งเทพที่พระราชวัง สราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อาดัม มาลิกแห่งอินโดนีเซีย, นาร์ซิโซ รามอสแห่งฟิ ลิปปิ นส์, อับดุล ราซัคแห่งมาเลเซีย, เอส. ราชารัตนัมแห่งสิงคโปร์ และถนัด คอมันตร์แห่งไทย ซึ่งถือว่าเป็ นบิดาผูก่อตั้ง ้ องค์กร ความประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มอาเซียนขึ้นมาเกิดจากความต้องการสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อที่ ผูปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุ่งความสนใจไปที่การสร้างประเทศ ความกังวลต่อการแพร่ ขยาย ้ ของคอมมิวนิสต์ร่วมกัน ความศรัทธาหรื อความเชื่อถือต่อมหาอานาจภายนอกที่เสื่อมถอยลงในช่วงพุทธ ทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความต้องการการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุ่มอาเซียนมี วัตถุประสงค์แตกต่างจากสหภาพยุโรป เพราะกลุ่มอาเซียนถูกสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนความเป็ นชาตินิยม อาคารสานักงานเลขานุการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย
  • 11. 8 ██ ประเทศสมาชิกอาเซียน ██ ผู้สังเกตการณ์ อาเซียน ██ ประเทศที่ขอสมัครเข้ าเป็ นสมาชิกอาเซียน ██ อาเซียนบวกสาม ███ การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก █████ การประชุมอาเซียนว่ าด้ วยความร่ วมมือด้ านการเมืองและความมันคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ่ (ASEAN Regional Forum) การขยายตัว ในปี พ.ศ. 2519 ปาปัวนิวกินีได้รับสถานะผูสงเกตการณ์และตลอดช่วงพุทธทศวรรษ 2510 กลุ่ม ้ั ประเทศสมาชิกได้มีการจัดตั้งโครงการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจอย่างจริ งจัง หลังจากผลของการประชุมที่ จังหวัดบาหลีในปี พ.ศ. 2519 แต่ว่าความร่ วมมือดังกล่าวได้รับผลกระทบกระเทือนอย่างหนักในช่วงพุทธ ทศวรรษ 2520 ก่อนจะได้รับการฟื้ นฟูเมื่อปี พ.ศ. 2534 เนื่องจากไทยเสนอให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี ข้ ึน ต่อมา บรู ไนได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเป็ นประเทศที่หก เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 หลังบรู ไนประกาศเอก ราชเมื่อวันที่ 1 มกราคม เพียงสัปดาห์เดียว ต่อมา เวียดนามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่เจ็ด ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538[12] ไม่นานหลัง จากนั้น ลาวและพม่าได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่แปดและเก้าตามลาดับ ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540[1 ส่วนกัมพูชาประสงค์จะเข้าร่ วมเป็ นสมาชิก แต่ถกเลื่อนออกไปจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ู ภายในประเทศ จนกระทังในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 กัมพูชาได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกประเทศที่สิบ ่ หลังจากรัฐบาลกัมพูชามีความมันคงแล้ว ่
  • 12. 9 ในช่วงพุทธทศวรรษ 2530 สมาชิกอาเซียนได้มีประสบการณ์ท้งในด้านการมีประเทศสมาชิกเพิ่ม ั มากขึ้น รวมไปถึงความพยายามในการรวบรวมกลุ่มประเทศให้เป็ นหนึ่งเดียวไปอีกขึ้นหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2533 มาเลเซียได้เสนอให้มีความร่ วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก ซึ่งประกอบด้วยประเทศกลุ่มสมาชิก อาเซียน สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้โดยมีเจตนาเพื่อถ่วงดุลอิทธิพลของสหรัฐอเมริ กาซึ่ง เพิ่มพูนมากขึ้นในความร่ วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) และภูมิภาคเอเชียโดยรวมแต่ว่า ข้อเสนอดังกล่าวถูกยกเลิกไป เพราะได้รับการคัดค้านอย่างหนักจากญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริ กาแม้ว่าจะประสบ ความล้มเหลวในด้านดังกล่าว แต่กลุ่มสมาชิกก็ยงสามารถดาเนินการในการรวมกลุ่มประเทศให้เป็ นหนึ่ง ั เดียวกันต่อไปได้ ใน พ.ศ. 2535 มีการลงนามใช้แผนอัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่ากัน (Common Effective Preferential Tariff) โดยมีวตถุประสงค์เพื่อเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในฐานะที่เป็ น ั ่ ฐานการผลิตที่สาคัญเพื่อป้ อนสินค้าสู่ตลาดโลก โดยอาศัยการเปิ ดเสรี ดานการค้าและการลดภาษีและ ้ อุปสรรคข้อกีดขวางทางการค้าที่มิใช่ภาษี รวมทั้งการปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษีศุลกากรเพื่อเอื้ออานวยต่อ การค้าเสรี โดยกฎหมายดังกล่าวเป็ นโครงร่ างสาหรับเขตการค้าเสรี อาเซียน หลังจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน ในเอเชีย ในปี พ.ศ. 2540 ข้อเสนอของมาเลเซียถูกหยิบยกขึ้นมาอีกครั้งในจังหวัดเชียงใหม่ หรื อที่รู้จกกัน ั ว่า การริ เริ่ มเชียงใหม่ ซึ่งเป็ นการรวมกลุ่มระหว่างกลุ่มสมาคมอาเซียนและประเทศในเอเชียอีกสามประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ นอกเหนือจากความร่ วมมือช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกแล้ว อาเซียนยังมี วัตถุประสงค์ในการธารงรักษาสันติภาพและความมันคงในภูมิภาค ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 มีการลง ่ นามสนธิสญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็ น ั เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์สนธิสญญาฉบับดังกล่าวเริ่ มมีผลใช้บงคับเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็ น ั ั การห้ามอาวุธนิวเคลียร์ทุกประเภทในภูมิภาค หลังจากปฏิญญาว่าด้วยความร่ วมมือในอาเซียน ฉบับที่สอง (อังกฤษ: Bali Concord II) ในปี พ.ศ. 2546กลุ่มประเทศอาเซียนได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยทฤษฎีสนติภาพประชาธิปไตย ซึ่งหมายความว่า ั ประเทศสมาชิกทุกประเทศมีความเชื่อว่ากระบวนการตามหลักการประชาธิปไตยจะทาให้เกิดสันติภาพและ
  • 13. 10 เสถียรภาพในภูมิภาค นอกจากนั้น ประเทศอื่นที่มิได้ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบนต่างก็เห็น ั ว่าระบอบประชาธิปไตยเป็ นระบอบการปกครองที่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ ควรใฝ่ หา ผูนาของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะอย่างยิง มหาเธร์ โมฮัมหมัดแห่งมาเลเซีย ตระหนักถึงความ ้ ่ จาเป็ นในการรวมกลุ่มประเทศกันอย่างจริ งจัง โดยเริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2540 อาเซียนได้เริ่ มตั้งก่อตั้งองค์การหลาย แห่งในความพยายามที่จะบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว อาเซียนบวกสามเป็ นองค์การแรกที่ถกก่อตั้งขึ้น โดยมี ู วัตถุประสงค์เพื่อกระชับความสัมพันธ์กบจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ ตามด้วยการประชุมเอเชียตะวันออก ซึ่งมี ั อีกสามประเทศที่เข้าร่ วมด้วย คืออินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ กลุ่มดังกล่าวมีแผนการที่เป็ นรากฐาน ของประชาคมเอเชียตะวันออกในอนาคต ซึ่งร่ างขึ้นตามอย่างของประชาคมยุโรปซึ่งปัจจุบนสิ้นสภาพไป ั แล้ว หลังจากนั้น ได้มีการจัดตั้งกลุ่มผูทรงคุณวุฒิอาเซียนขึ้น เพื่อศึกษาผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้านลบ ้ ของนโยบายดังกล่าว รวมไปถึงความเป็ นไปได้ในการร่ างกฎบัตรอาเซียนในอนาคต ในปี พ.ศ. 2549 กลุ่มอาเซียนได้รับสถานภาพผูสงเกตการณ์สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ซึ่งกลุ่ม ้ั อาเซียนได้มอบสถานภาพ "หุนส่วนการอภิปราย" ให้แก่สหประชาชาติเป็ นการตอบแทน นอกเหนือจากนั้น ้ ในวันที่ 23 กรกฎาคมปี นั้นเอง โจเซ รามุส-ออร์ตา นายกรัฐมนตรี แห่งติมอร์ตะวันออก ได้ลงนามในความ ต้องการในการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกของกลุ่มอาเซียนอย่างเป็ นทางการ และคาดหวังว่าการได้รับสถานภาพผู้ สังเกตการณ์เป็ นเวลาห้าปี ก่อนที่จะได้รับสถานภาพเป็ นประเทศสมาชิกอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2550 กลุ่มอาเซียนได้เฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 40 ปี การก่อตั้งกลุ่มอาเซียน และ ครบรอบ 30 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตกับสหรัฐอเมริ กา[26] ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2550 กลุ่มอาเซียน ตั้งเป้ าที่จะบรรลุขอตกลงการค้าเสรี ทุกฉบับกับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ้ ภายในปี พ.ศ. 2556 ไปพร้อมกับการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2558ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็ นกฎข้อบังคับในการ ดูแลความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน และยกระดับกลุ่มอาเซียนให้เป็ นองค์การระหว่าง ประเทศอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เขตการค้าเสรี จีน-อาเซียนมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 นับเป็ นเขตการค้าเสรี ที่มีประชากรมากที่สุดในโลกและมีมลค่าจีดีพีคิดเป็ นอันดับที่ 3 ของโลก ู วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 มีการลงนามความตกลงการค้าเสรี ระหว่างภูมิภาคอาเซียน 10 ประเทศ กับนิวซีแลนด์และออสเตรเลีย มีการประเมินว่าความตกลงการค้าเสรี น้ ีจะเพิ่มจีดีพีใน 12 ประเทศ
  • 14. 11 ขึ้นมากกว่า 48 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ระหว่าง พ.ศ. 2543-2563ต้นปี พ.ศ. 2554 ติมอร์ตะวันออกวางแผนจะยืน ่ จดหมายขอสมัครเข้าเป็ นสมาชิกแก่สานักเลขาธิการอาเซียนในอินโดนีเซีย เป็ นประเทศสมาชิกลาดับที่สิบ เอ็ดของอาเซียนระหว่างการประชุมสุดยอดในกรุ งจาการ์ตา อินโดนีเซียแสดงท่าทีตอนรับติมอร์ตะวันออก ้ อย่างอบอุ่น ภูมศาสตร์ ิ ธรณี สัณฐานของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ในปัจจุบน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยประเทศสมาชิกจานวน 10 ั ประเทศ คิดเป็ นพื้นที่ประมาณ 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 560 ล้านคน (ข้อมูลในปี พ.ศ. 2549) ยอดเขาที่สูงสุดในภูมิภาค คือ ยอดเขาข่ากาโบราซีในพม่า ซึ่งมีความสูง 5,881 เมตร และมีอาณา เขตติดต่อกับจีน อินเดีย บังกลาเทศ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น อุณหภูมิอยูระหว่าง 27-36 °Cพืช ่ พรรณธรรมชาติเป็ นป่ าฝนเขตร้อน ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับที่สองของโลก ป่ าดงดิบ ป่ าเบญจพรรณ ป่ า สน ป่ าหาดทรายชายทะเล ป่ าไม้ปลูก มีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ คือ ข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ ามันและพริ กไทย วัตถุประสงค์ จากสนธิสญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการสรุ ปแนวทางของ ั สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไว้จานวนหกข้อ ดังนี้
  • 15. 12 1.ให้ความเคารพแก่เอกราช อานาจอธิปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ของชาติ สมาชิกทั้งหมด 2.รัฐสมาชิกแต่ละรัฐมีสิทธิที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุ กรานดินแดนและการบังคับขู่ เข็ญ จะไม่เข้าไปยุงเกี่ยวกับกิจการภายในของรัฐสมาชิกอื่น ๆ ่ 3.ยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน หรื อแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ ประณามหรื อไม่ยอมรับการ คุกคามหรื อการใช้กาลัง 4.ให้ความร่ วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ การประชุมสุ ดยอดอาเซียน ป้ ายประกาศในกรุ งจาการ์ ตาต้ อนรั บผู้เข้ าร่ วมประชุมสุดยอดอาเซียนครั้ งที่ 18 ประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนได้จดการประชุมขึ้น เรี ยกว่า การประชุมสุดยอดอาเซียน ซึ่งประมุข ั ของรัฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิกจะมาอภิปรายและแก้ไขประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ รวมไปถึงการ จัดการประชุมร่ วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิกเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกจัดขึ้นที่จงหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2519 จาก ั ผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่สาม ณ กรุ งมะนิลา ในปี พ.ศ. 2530 สรุ ปว่าผูนาประเทศสมาชิกกลุ่ม ้ อาเซียนควรจะจัดการประชุมขึ้นทุกห้าปี อย่างไรก็ตาม ผลของการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งต่อมาที่
  • 16. 13 ประเทศสิงคโปร์ ในปี พ.ศ. 2535 ได้เสนอให้จดการประชุมให้บ่อยขึ้น และได้ขอสรุ ปว่าจะมีการจัดการ ั ้ ประชุมสุดยอดขึ้นทุกสามปี แทนต่อมา ในปี พ.ศ. 2544 ผูนาสมาชิกประเทศกลุ่มอาเซียนได้เสนอให้จดการ ้ ั ประชุมขึ้นทุกปี เพื่อแก้ไขประเด็นปัญหาด่วนที่ส่งผลกระทบในพื้นที่ ประเทศสมาชิกจะได้รับเลือกให้เป็ น เจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขึ้นเรี ยงตามตัวอักษร ยกเว้นประเทศพม่า ซึ่งถูกยกเลิกการเป็ นเจ้าภาพการ ประชุมในปี พ.ศ. 2549 เนื่องจากปัญหาทางด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีแรงกดดันจากสหรัฐอเมริ กาและสหภาพ ยุโรปมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 การประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างเป็ นทางการ ครั้งที่ วันที่ ประเทศเจ้าภาพ สถานที่จดการประชุม ั 1 23-24 กุมภาพันธ์ 2519 อินโดนีเซีย บาหลี 2 4-5 สิงหาคม 2520 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 3 14-15 ธันวาคม 2530 ฟิ ลิปปิ นส์ มะนิลา 4 27-29 มกราคม 2535 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 5 14-15 ธันวาคม 2538 ไทย กรุ งเทพมหานคร 6 15-16 ธันวาคม 2541 เวียดนาม ฮานอย 7 5-6 พฤศจิกายน 2544 บรู ไน บันดาร์เสรี เบกาวัน 8 4-5 พฤศจิกายน 2545 กัมพูชา พนมเปญ 9 7-8 ตุลาคม 2546 อินโดนีเซีย บาหลี 10 29-30 พฤศจิกายน 2547 ลาว เวียงจันทน์
  • 17. 11 12-14 ธันวาคม 2548 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 12 11-14 มกราคม 25501 ฟิ ลิปปิ นส์2 เซบู 13 18-22 พฤศจิกายน 2550 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2552 ชะอา, หัวหิน 143 ไทย 10-11 เมษายน 2552 พัทยา 15 23-25 ตุลาคม 2552 ไทย ชะอา, หัวหิน 16 8-9 เมษายน 2553 เวียดนาม ฮานอย 17 28-30 ตุลาคม 2553 เวียดนาม ฮานอย 18 7-8 พฤษภาคม 2554 อินโดนีเซีย จาการ์ตา 19 17-19 พฤศจิกายน 2554 อินโดนีเซีย จาการ์ตา 20 3-4 เมษายน 2555 กัมพูชา พนมเปญ 1 การประชุมเลื่อนออกไปเป็ นวันที่ 10-14 ธันวาคม เนื่องจากภัยไต้ฝน ุ่ 2 พม่าไม่ได้รับอนุญาตให้เป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมเนื่องจากความกดดันอย่างหนักจากสหรัฐอเมริ กาและ สหภาพยุโรป 3 การประชุมถูกเลื่อนออกไปสองครั้งเนื่องจากการชุมนุมประท้วงของกลุ่มต่อต้านรัฐบาล 4 อินโดนีเซียเสนอแลกเปลี่ยนกับบรู ไนอาจจะเป็ นเจ้าภาพเอเปค (และอาจมีการประชุม G20) ในปี 2013
  • 18. 15 ประเทศผูเ้ ข้าร่ วมประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก: อาเซียน อาเซียนบวกสาม สมาชิกเพิ่มเติม ผูสงเกตการณ์ ้ั ประชาคมเศรษฐกิจ กลุ่มอาเซียนได้ให้ความสาคัญกับความร่ วมมือในภูมิภาค อันประกอบด้วย "หลักสามประการ" ของ ความมันคง สังคมวัฒนธรรมและการรวมตัวทางเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มกันในภูมิภาคได้ทาให้การรวมตัว ่ ทางเศรษฐกิจดาเนินไปอย่างรวดเร็ ว ซึ่งคาดว่าจะประสบความสาเร็ จในการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 ประชาคมเศรษฐกิจดังกล่าวจะมีประชากรรวมกัน 560 ล้านคน และมูลค่าการค้า กว่า 1.4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เขตการค้าเสรี รากฐานของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเริ่ มต้นมาจากเขตการค้าเสรี อาเซียนซึ่งเป็ นการลด อัตราภาษีศุลกากรเพื่อให้สินค้าภายในอาเซียนเกิดการหมุนเวียน เขตการค้าเสรี อาเซียนเป็ นข้อตกลงโดย สมาชิกกลุ่มอาเซียนซึ่งกังวลต่อผลิตภัณฑ์หตถกรรมท้องถิ่นของตน ได้รับการลงนามในสิงคโปร์เมื่อวันที่ ั 28 มกราคม 2535 ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ บรู ไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์และไทย เวียดนาม (เข้าร่ วมในปี 2538) ลาว พม่า (เข้าร่ วมในปี 2540) และกัมพูชา (เข้าร่ วมในปี 2542) เขตการลงทุนร่ วม เขตการลงทุนร่ วมมีวตถุประสงค์เพื่อส่งเสริ มการลงทุนหมุนเวียนภายในอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย ั หลักการดังต่อไปนี้ : 1. เปิ ดให้อุตสาหกรรมทุกรู ปแบบเกิดการลงทุนและลดขั้นตอนตามกาหนดการ 2. ทาสัญญากับผูลงทุนในกลุ่มอาเซียนที่เขามาลงทุนในทันที ้ 3. กาจัดการกีดขวางทางการลงทุน
  • 19. 16 4. ปรับปรุ งกระบวนการและระเบียบการลงทุนให้เกิดความคล่องตัว 5. สร้างความโปร่ งใส 6. ดาเนินการตามมาตรการอานวยความสะดวกในการลงทุน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากเขตการลงทุนร่ วมจะเป็ นการกาจัดการกีดกันในกิจการเกษตรกรรม การประมง การป่ าไม้และการทาเหมืองแร่ ซึ่งคาดว่าจะสาเร็ จภายในปี พ.ศ. 2553 สาหรับประเทศ สมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็ นส่วนใหญ่ และคาดว่าจะสาเร็ จในปี พ.ศ. 2558 สาหรับประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม การแลกเปลียนบริการ ่ ข้อตกลงการวางกรอบเรื่ องการแลกเปลี่ยนบริ การเริ่ มต้นขึ้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ กรุ งเทพมหานครในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548ภายใต้กรอบข้อตกลงดังกล่าว รัฐสมาชิกของกลุ่มอาเซียนจะ สามารถประสบความสาเร็ จในการเจรจาอย่างเสรี ในด้านการแลกเปลี่ยนบริ การ โดยมีเป้ าหมายเพื่อที่จะ สนับสนุนให้มการแลกเปลี่ยนระหว่างกันมากขึ้น ผลของการเจรจาการแลกเปลี่ยนบริ การซึ่งได้เริ่ ม ี ดาเนินการตามหมายกาหนดการเป็ นรายเฉพาะจะถูกรวมเข้ากับกรอบข้อตกลง ซึ่งหมายกาหนดการดังกล่าว มักจะเกี่ยวข้องกับกลุ่มการแลกเปลี่ยนบริ การ ในปัจจุบน พบว่ามีกลุ่มการแลกเปลี่ยนบริ การจานวนเจ็ดกลุ่ม ั ภายใต้กรอบข้อตกลงดังกล่าว ตลาดการบินเดียว แนวคิดเรื่ องตลาดการบินเดียวเป็ นความคิดเห็นที่เสนอโดยกลุ่มงานขนส่งทางอากาศอาเซียน ได้รับ การสนับสนุนในการประชุมการขนส่งอย่างเป็ นทางการของอาเซียน และได้รับการอนุมติโดย ั รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคมนาคมของรัฐสมาชิก ซึ่งจะนาไปสู่การจัดระเบียบน่านฟ้ าเปิ ดในภูมิภาค ภายในปี พ.ศ. 2558โดยตลาดการบินเดียวมีวตถุประสงค์เพื่อเปิ ดการคมนาคมทางอากาศระหว่างรัฐสมาชิก ั เป็ นไปอย่างเสรี ซึ่งสร้างประโยชน์ให้กบกลุ่มอาเซียนจากการเติบโตของการเดินทางทางอากาศในปัจจุบน ั ั และยังเป็ นการเพิ่มการท่องเที่ยว การค้า การลงทุนและการบริ การให้กบรัฐสมาชิกทั้งหมด เริ่ มตั้งแต่วนที่ 1 ั ั ธันวาคม พ.ศ. 2551 ข้อจากัดเสรี ภาพทางอากาศที่สามและที่สี่ระหว่างเมืองหลวงของรัฐสมาชิกสาหรับ บริ การสายการบินจะถูกยกเลิกในขณะที่หลังจากวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 จะมีเสรี ภาพบริ การการบินใน
  • 20. 17 ภูมิภาคและภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 จะมีการเปิ ดเสรี เสรี ภาพทางอากาศข้อที่หาระหว่างเมืองหลวง ้ ทั้งหมด ข้ อตกลงการค้าเสรีกบประเทศนอกกลุ่มอาเซียน ั อาเซียนได้เปิ ดการค้าเสรี กบประเทศภายนอกหลายประเทศ ทั้งจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ั นิวซีแลนด์ และล่าสุด อินเดียข้อตกลงการค้าเสรี กบประเทศจีนได้สร้างเขตการค้าเสรี จีน -อาเซียน ใน ั ปัจจุบน อาเซียนนั้นกาลังเจรจากับสหภาพยุโรปในการที่จะทาการค้าเสรี ดวยกัน ผลดีของข้อตกลงนั้น คือ ั ้ การเปิ ดโอกาสการค้าของอาเซียน ให้มีศกยภาพและขยายตัวมากขึ้น รวมไปถึงการลงทุนจากต่างชาติดวย ั ้ ไต้หวันยังแสดงความสนใจที่จะทาข้อตกลงกับอาเซียน แต่ได้รับการคัดค้านทางการทูตจากประเทศจีน ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ปัจจุบนประเทศในอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีขอมูลของแต่ละประเทศดังนี้ ั ้
  • 21. 18 1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริ สต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ข้อควรรู้ - ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรู ไนฯ มีระยะเวลาอยูในบรู ไนฯได้ ่ 2 สัปดาห์ - ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเป็ นสีของพระมหากษัตริ ย ์ - การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรี จะไม่ยนมือให้บุรุษจับ ื่ - การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรื อสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หวแม่มือชี้แทน ั -จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผอื่น ู้ -สตรี เวลานังจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผูชายและไม่ส่งเสียงหรื อหัวเราะดัง ่ ้
  • 22. 19 2.กัมพูชา (Cambodia) เมืองหลวง : กรุ งพนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เวียดนามและจีน ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2% นับถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เป็ นหลัก ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตย์เป็ นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ข้อควรรู้ - เมื่อเดินทางถึงท่าอากาศยานกรุ งพนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ม Visa on Arrival พร้อมยืนรู ปถ่ายและ ่ ค่าธรรมเนียม 20 ดอลลาร์สหรัฐ - ผูที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยูทาธุรกิจเป็ นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้ องกันโรค ้ ่ ไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี
  • 23. 20 3.อินโดนีเซีย (Indonesia) เ มืองหลวง : จาการ์ตา ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชนพื้นเมืองหลายกลุ่ม มีภาษามากกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยูบน ่ เกาะชวา นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริ สต์ 10% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดีเป็ นประมุข และหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร ข้อควรรู้ - ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ หรื อรับประทานอาหารคนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ - ไม่จบศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก ั - การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรู ปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การนาเข้าและครอบครอง ยาเสพติดมีโทษถึงประหารชีวิต - บทลงโทษรุ นแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรื อนา พืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
  • 24. 21 4.ลาว (Laos) เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร์ ภาษา : ภาษาลาว เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วย ชาวลาวลุ่ม 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผ่า นับถือศาสนา : 75% นับถือพุทธ, นับถือผี 16% ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน) ข้อควรรู้ -ลาว มีตวอักษรคล้ายของไทย ทาให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้ ั คล่องมาก -ลาวขับรถทางขวา
  • 25. 22 5.มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง : กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10% นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%, คริ สต์ 11% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ข้อควรรู้ -ผูที่นบถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร ้ ั งานแต่งงานและงานศพ -มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพนธุในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ั ์ ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็ นชาวจีนร้อยละ10 เป็ นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็ นชนพื้นเมืองบนเกาะ บอร์เนียว
  • 26. 23 6.พม่า (Myanmar) เมืองหลวง : เนปี ดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่า เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เชื้อชาติหลักๆ 8 กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระ เหรี่ ยง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริ สต์ 5% อิสลาม 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการ พัฒนาแห่งรัฐ 7.ฟิ ลิปปิ นส์ (Philippines) เมืองหลวง : กรุ งมะนิลา ภาษา : ภาษาฟิ ลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ น สเปน, จีนฮกเกี้ยน, จีน แต้จิ๋ว ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษาประจาชาติคือ ภาษาตากาล็อก ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
  • 27. 24 นับถือศาสนา : คริ สต์โรมันคาทอลิก 83% คริ สต์นิกายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิปดีเป็ นประมุขและหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร ข้อควรรู้ -การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิ ลิปปิ นส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่ วมกับฝ่ ายฟิ ลิปปิ นส์จาเป็ นต้องมี การศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็ น ต้น 8.สิงคโปร์ (Singapore) เมืองหลวง : สิงคโปร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาคือจีนกลาง ส่งเสริ มให้พดได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง ู และให้ใช้องกฤษ เพื่อติดต่องานและชีวิตประจาวัน ั ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดีย 8.1% นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริ สต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นบถือศาสนา 25% ั ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิปดีเป็ น ประมุข และนายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าฝ่ ายบริ หาร ข้อควรรู้ - หน่วยราชการเปิ ดทาการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และ วันเสาร์ เปิ ดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น.
  • 28. 25 -การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ ขายบริ การผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุ นแรง -การลักลอบนายาเสพติด อาวุธปื นและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุ นแรงถึงขั้นประหารชีวิต 9.เวียดนาม (Vietnam) เมืองหลวง : กรุ งฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวเวียด 80%, เขมร 10% นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริ สต์ 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็ นพรรคการเมืองเดียว ข้อควรรู้ - หน่วยงานราชการ สานักงาน และองค์กรให้บริ การสาธารณสุข เปิ ดทาการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วนจันทร์ – ศุกร์ ั - เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทาการต่างๆ ของรัฐ - หากนาเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้งให้ศุลกากรเวียดนามทราบ การนาเงินตราออกประเทศมากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งชาติหรื อ ธนาคารกลางในท้องถินก่อน มิเช่นนั้นจะถูกยึดเงิน ่ - บทลงโทษของเวียดนามในคดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
  • 29. 26 10.ประเทศไทย (Thailand) เมืองหลวง : กรุ งเทพมหานคร ภาษา : ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเป็ นส่วนใหญ่ นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์
  • 30. 27 บทที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - เครื่ องบันทึกเสียง - ดินสอ/ยางลบ/กระดาษ เครื่องมือที่ใช้ ในการพัฒนา - PhotoScape - Movie Maker - paint ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ผู้รับ ผิด ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ ที่ ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ทุกคน 2 ศึกษาและค้นคว้า ทุกคน ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่ างงาน ทุกคน 4 ปฏิบติการสร้าง ั ทุกคน โครงงาน 5 ปรับปรุ งทดสอบ ทุกคน 6 การทาเอกสารรายงาน ทุกคน 7 ประเมินผลงาน ทุกคน 8 นาเสนอโครงงาน ทุกคน
  • 31. 28 ผลที่คาดว่าได้ รับ 1. บุคคลทัวไปเข้าใจและสนใจเรื่ องอาเซียนหรื อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากยิงขึ้น ่ ่ 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้หลากหลาย 3. เพิ่มทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้กบตัวเอง ั 4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด สถานที่ดาเนินการ โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่และบ้านของผูจดทา ้ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกียวข้ อง ่ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 32. 29 บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่า วิธีการนาเสนองาน,การสอน,การอธิบาย เพื่อสร้างความเข้าใจและความ น่าสนใจที่ได้ผลที่ดีสุดคือการนาเสนอ,การสอน,การอธิบาย โดยผ่านตัวการ์ตูน ซึ่งจะเห็นได้จากในปัจจุบน ั การ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็ นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบน ที่มีการฉายทาง ั โทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ในความหมายอื่น ในโครงงานเล่มนี้นาเสนอเรื่ องอาเซียนหรื อ สมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรื อ ASEAN) ได้ใช้วิธีการนาเสนอ ด้วยตัวการ์ตูนและภาพเพื่อผูที่ศึกษาจะได้เกิดจินตนาการร่ วมไปกับความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งเรื่ องที่ได้จทาเป็ น ้ ั โครงงานนี้เป็ นเรื่ องสาคัญมากที่ปวงชนชาวไทยต้องทาความรู้จกกับคาว่า”อาเซียน”อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะ ั เยาวชน เพื่อที่จะเป็ นรากฐานที่ดีแก่ประเทศชาติต่อไป
  • 33. 30 บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ การสร้างการ์ตูนหรื ออนิเมชันนั้น ควรมีโปรมแกรมและเทคนิคหลายขั้นตอนเพื่อที่จะได้สร้างความ ่ น่าสนใจน่าดูมากยิงขึ้น โปรแกรมพื้นฐานที่เหมาะแก่การสร้างการ์ตูนอนิเมชัน ได้แก่ Photoshop , Image ่ ่ Ready , Macromedia Fash เป็ นต้น ทั้งนี้จะมีแค่โปรแกรมไม่ได้จะต้องอาศัยเทคนิคในการสร้างตัวการ์ตูน ด้วย ตัวอย่างเช่น ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame คือการกาหนดการเปลี่ยนแปลงของอ็อบเจ็กต์ที่ แตกต่างกันในทุกๆคียเ์ ฟรม เหมาะสาหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวที่มีความซับซ้อนมากๆ แต่ขอเสียของ ้ การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม คือไฟล์ภาพจะมีขนาดใหญ่กว่าแบบ Tween , ภาพเคลื่อนไหว แบบTween เป็ นการสร้างภาพเคลื่อนไหวจากเฟรมเริ่ มต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งโปรแกรมจะสร้างการ เปลี่ยนแปลงระหว่างเฟรมให้โดยอัตโนมัติ นันคือการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะมีการสร้างเฟรม ่ เพียง 2 เฟรม คือเฟรมเริ่ มต้นและเฟรมสุดท้าย ซึ่งคุณสมบัติน้ ีเองที่ทาให้การสร้างภาพ เคลื่อนไหวแบบ Tween มีขนาดไฟล์ที่เล็กกว่าการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame , Shape Tween เป็ นการสร้าง ภาพเคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนแปลงรู ปทรงของอ็อบเจ็กต์ จากรู ปทรงหนึ่งไปเป็ น อีกรู ปทรงหนึ่งโดยสามารถกาหนด ทิศทาง ตาแหน่ง ขนาด และสีของการเปลี่ยนแปลงได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยงต้องใช้เทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหว เช่น การนาภาพเคลื่อนไหวชนิด Motion และ Shape ั Tween มารวมกันการใช้เทคนิค Mask Layer การสร้างเทคนิคพิเศษให้กบภาพเลื่อนไหว หรื อภาพนิ่งที่ ั เรี ยกว่า "Mask" หรื อการทาหน้ากาก เป็ นต้น ดังนั้นไม่ว่าการสร้างงานใดๆก็แล้วแต่ควรศึกษาในเรื่ องที่ เกี่ยวข้องออย่างละเอียดถี่ถวน ทั้งจะต้องรู้และเข้าใจเป็ นอย่างดีดวย เพื่อผลงานที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ ้ ้