SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 19
เครื่องจักรความร้อน
 เครื่องยนต์ความร้อนทางานเป็นวัฏจักร โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เครื่องยนต์ดูดกลืนพลังงานความร้อนจากแหล่งให้ความร้อนอุณหภูมิสูง
2. เครื่องยนต์ทางาน
3. เครื่องยนต์คายพลังงานความร้อนที่แหล่งระบายความร้อนอุณหภูมิต่า
 จากภาพ
 ประสิทธิภาพทางความร้อน
 เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรซึ่งทางานเป็นวัฏจักรโดยรับความร้อนจากแหล่งอุณหภูมิเดี่ยวแล้วเปลี่ยนเป็นงานทั้งหมด
1. เครื่องจักรความร้อนดูดกลืนความร้อน 360 จูล และทางานต่อ 1 รอบได้25 จูล จงหา
ก. ประสิทธิภาพของเครื่องจักร
ข. ความร้อนที่ปล่อยออกมาใน 1 รอบ
2. ความร้อนที่ดูดกลืนโดยเครื่องจักรความร้อนมีค่าเป็น 3 เท่าของงานที่ทาจงหา
ก. ประสิทธิภาพทางความร้อน
ข. อัตราส่วนของความร้อนที่ปล่อยออกต่อความร้อนที่ดูดกลืน
กระบวนการผันกลับได้และกระบวนการผันกลับไม่ได้ (Reversible and irreversible processes)
กระบวนการผันกลับได้เป็นกระบวนการที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ทั้งระบบและสิ่งแวดล้อมสามารถกลับเข้าสู่สถานะเดิมได้ส่วนกระบวนการที่ไม่
เป็นไปตามหลักการดังกล่าวเรียกว่า กระบวนการผันกลับไม่ได้แต่กระบวนการที่แท้จริงในธรรมชาติจะเป็นกระบวนการผันกลับไม่ได้
ปั๊มความร้อนและเครื่องทาความเย็น
 ปั้มความความร้อนเป็นเครื่องกลที่ทาหน้าที่ส่งผ่านพลังงานความร้อนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ส่วนเครื่องทา
ความเย็นทางานคล้ายกับเครื่องสูบความร้อน โดยภายในจะเย็นลงจากการดูดพลังงานความร้อนจากภายในออกไประบายหรือถ่ายเทที่ภายนอก
 จากภาพ
 สัมประสิทธิ์การทางาน
- ปั้มความร้อน
T-
T
c
h
hT

- เครื่องทาความเย็น
ch
c
TT
T


 เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรที่ทางานเป็นวัฏจักรด้วยกระบวนการที่รับความร้อนจากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่าแล้วถ่ายเทความร้อน
ดังกล่าวให้แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง
1.เครื่องทาความเย็นมีสัมประสิทธิ์ของการทางานเท่ากับ 5 ถ้าเครื่องทาความเย็นดูดกลืนความร้อน 120 จูล จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่าในแต่ละ
รอบจงหา
ก. งานที่ทาในแต่ละรอบ
ข. ความร้อนที่ปล่อยออกมายังแหล่งอุณหภูมิสูง
เครื่องจักรคาร์โนต์
 เขาได้แสดงให้เห็นว่าเครื่องยนต์ความร้อนที่ทางานตามอุดมคติเป็นวัฏจักรผันกลับได้หรือเรียกว่าวัฏจักรคาร์โนต์(carnot cycle)
 ได้ตั้งเป็นทฤษฎีขึ้นเรียกว่า ทฤษฎีคาร์โนต์(Carnot’s theorem) ซึ่งกล่าวว่า ไม่มีเครื่องจักรความร้อนจริงใดที่ทางานอยู่ระหว่างแหล่งอุณหภูมิคู่
เดียวกันแล้วสามารถมีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องจักรคาร์โนต์เพราะว่าเครื่องจักรจริงไม่ได้ทางานภายใต้วัฎจักผันกลับได้
 วัฏจักรคาร์โนต์ทางานด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ 2 ช่วง และกระบวนการอุณหภูมิคงที่ 2 ช่วง โดยกระบวนการทั้งหมดเป็นกระบวนการผัน
กลับได้ดังนี้
ก. กระบวนการจาก AB ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการอุณหภูมิคงที่ Th โดยก๊าซสัมผัสกับแหล่งความร้อนอุณหภูมิ Th ระหว่างก๊าซขยายตัวจะ
ดูดกลืนพลังงานความร้อน Qh จากแหล่งความร้อนและก๊าซทางานได้เท่ากับ WAB โดยการดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่
ข. กระบวนการจาก BC ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ คือไม่มีพลังงานความร้อนเข้าสู่หรือออกจากระบบระหว่างก๊าซขยายตัว
อุณหภูมิจะลดลงจาก Th เป็น TC และก๊าซทางานได้เท่ากับ WBC โดยการดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นเช่นเดียวกัน
ค. กระบวนการ CD ก๊าซถูกอัดด้วยกระบวนการอุณหภูมิคงที่ TC ระหว่างก๊าซถูกอัดจะคายพลังงานความร้อน QC ให้แหล่งความร้อน โดยการ
ทางานจากภายนอกให้กับก๊าซเท่ากับ WCD
ง. ขั้นตอนสุดท้ายจาก DA ก๊าซถูกอัดด้วยกระบวนการความร้อนคงที่อีกครั้ง จึงไม่มีพลังงานความร้อนเข้าสู่หรือออกจากระบบระหว่างก๊าซถูกอัด
อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจาก TC เป็น Th และต้องทางานให้กับก๊าซจากตัวกระทาภายนอกเท่ากับ WDA
 สูตร
1. ประสิทธิภาพของเครื่องจักร Carnot คือ 30 % เครื่องจักรดูดกลืนความร้อน 800 จูลต่อรอบ จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิสูงที่ 500 K จงหา
ก. ความร้อนที่ปล่อยออกมาต่อรอบ
ข. อุณหภูมิของแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า
2. เครื่องจักรความร้อนทางานใน Carnot cycle ระหว่างอุณหภูมิ 80 และ 350 องศาเซลเซียส ซึ่งเครื่องจักรดูดกลืนความร้อน 20000 จูล ต่อรอบ
จากแหล่งความร้อนสูง ช่วงเวลาของแต่ละวัฎจักรใช้เวลา 1 วินาที จงหา
ก. กาลังผลิตสูงสุดของเครื่องจักรนี้
ข. ปริมาณความร้อนที่ปล่อยออกมาต่อหนึ่งวัฎจักร
เครื่องยนต์สันดาปภายใน (Internal combustion engines)
เครื่องยนต์ก๊าซโซลีน (เบนซิน) ที่ใช้ในรถยนต์หรือใช้ในงานอื่น ๆ เป็นตัวอย่างหนึ่งของเครื่องยนต์ความร้อน แสดงการทางานของ
เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนชนิดหนึ่ง โดยการทางานจะมี 5 ขั้นตอนที่เกิดต่อเนื่องกันในแต่ละวัฏจักร ดังนี้
ก. ข. ค. ง. จ.
เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบ 4 จังหวะ ที่ทางานต่อเนื่องเป็น 5 ขั้นตอน ก. ดูด ข. อัด ค. จุดระเบิด ง. กาลัง จ. คาย ตามรูปอธิบายกระบวนการที่
เกิดขึ้นได้ดังนี้
ก. จังหวะดูด (intake stroke) เป็นจังหวะที่วาวล์ท่อไอดีเปิดและลูกสูบกาลังเคลื่อนที่ลงทาให้เกิดที่ว่างในกระบอกสูบ เพื่อดูดอากาศที่ผสม
กับไอของก๊าซโซลีนจากคาร์บูเรเตอร์ (carburator) ผ่านเข้ามาทางท่อไอดีซึ่งเปิดอยู่เข้าสู่กระบอกสูบ ทาให้ปริมาตรของกระบอกสูบเพิ่มจากค่าต่าสุด
V (ขณะลูกสูบอยู่สูงสุด) เป็นค่าสูงสุด rV (ขณะลูกสูบอยู่ต่าสุด)
ข. จังหวะอัด (compression stroke) ในจังหวะนี้วาวล์ท่อไอดีจะปิด ไอของก๊าซที่ผสมกับอากาศแล้วจะถูกอัดประมาณได้ว่าเป็น
กระบวนการความร้อนคงที่ โดยลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นจนกระบอกสูบมีปริมาตรเท่ากับ V อีกครั้ง
ค. การจุดระเบิด (ignition) ช่วงที่ก๊าซถูกอัดจนมีปริมาตรเป็น V จะเกิดการจุดระเบิดขึ้นโดยหัวเทียน
ง. จังหวะกาลัง (power stroke) หลังจากการจุดระเบิดแล้วทาให้ก๊าซร้อนขึ้นและขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่จนมีปริมาตรเป็น
rV ในช่วงเกิดกระบวนการดังกล่าวก๊าซไปดันลูกสูบให้เคลื่อนที่ลงและทางานได้
จ. จังหวะคาย (exhaust stroke) จังหวะนี้วาวล์ท่อไอเสียจะเปิดลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นพร้อมกับคายส่วนผสมของก๊าซที่เผาไหม้แล้วออกจาก
กระบอกสูบ เมื่อสิ้นสุดจังหวะนี้ถือว่าเครื่องยนต์ทางานครบ 1 รอบ และพร้อมที่จะเริ่มจังหวะดูดในวัฏจักรใหม่ต่อไป
 กราฟระหว่างความดันกับปริมาตรแทนกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนแบบอุดมคติ รูปแบบนี้เรียกว่า วัฏจักรออต
โต (Otto cycle)
rV
V
A
Qc
D
VO
B
O
CP
Qh
กระบวนการความร้อนคงที่
ตามรูป อธิบายกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ดังนี้
1. จาก OA เป็นจังหวะดูด อากาศถูกดูดเข้ากระบอกสูบที่ความดันบรรยากาศ ทาให้ปริมาตรของกระบอกสูบเพิ่มจาก V เป็น rV
2. จาก AB เป็นจังหวะอัด โดยอากาศที่ผสมกับไอของก๊าซโซลีนจะถูกอัดด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ ทาให้ปริมาตรลดลงจาก rV เป็น V ส่วน
อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจาก TA เป็น TB ถือว่ามีการทางานให้กับก๊าซเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นกราฟ AB
3. จาก BC อากาศที่ผสมกับไอของก๊าซโซลีนเกิดการเผาไหม้ทาให้เกิดความร้อนขึ้น จึงถือว่ามีการเพิ่มพลังงานความร้อน Qh ให้กับก๊าซในช่วงนี้
ความดันและอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยปริมาตรคงที่ จึงถือว่าไม่มีการทางานให้กับก๊าซ
4. จาก CD จังหวะนี้ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ทาให้ปริมาตรของก๊าซเปลี่ยนจาก V เป็น rV ทาให้อุณหภูมิลดลงจาก TC เป็น TD
และก๊าซทางานได้เท่ากับพื้นที่ใต้เส้นกราฟ CD เรียกจังหวะนี้ว่าจะหวะกาลัง
5. จาก DA ก๊าซจะคายพลังงานความร้อน Qc ออกไป ทาให้ความดันลดลงแต่ปริมาตรยังคงที่ จึงไม่มีการทางานในช่วงนี้
6. จาก AO จังหวะคายเป็นกระบวนการช่วงสุดท้าย ก๊าซที่เหลือจะถูกปล่อย (คายออก) สู่ความดันบรรยากาศ ทาให้ปริมาตรลดลงจาก rV เป็น V
และพร้อมที่จะเริ่มวัฏจักรใหม่ต่อไป
เครื่องยนต์ดีเซล (diesel engine)
เครื่องยนต์ชนิดนี้มีอากาศกับไอของน้ามันโซลาเป็นสารปฏิบัติงาน น้ามันดังกล่าวมีจุดเดือดสูง ส่วนแหล่งระบายความร้อนคือบรรยากาศ
ของสิ่งแวดล้อม การทางานของเครื่องยนต์ดีเซลคล้ายกับเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนที่กล่าวมาแล้ว สิ่งที่แตกต่างกันและสาคัญคือไม่ให้อากาศผสมกับน้ามัน
ก่อนอัด แต่จะอัดอากาศเพียงอย่างเดียวจนปริมาตรลดลงมากและร้อนจัดโดยไม่ระเบิด จากนั้นจึงฉีดฝอยน้ามันเข้าไปให้ได้จังหวะพอดีกับที่ลูกสูบจะ
เคลื่อนที่โดยก๊าซขยายตัวออกไป อากาศที่ถูกอัดจนร้อนจัดนั้นจะสันดาปกับไอน้ามันที่ระเหยขึ้นเองโดยไม่ต้องใช้ประกายไฟจากหัวเทียนมาจุด
ระเบิด ซึ่งสามารถอธิบาย
วัฏจักรดีเซล (diesel cycle) แบบอุดมคติโดยกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตรดังรูป ดังนี้
rV
V
A
Qc
D
VO
B
O
CP
Qh
กระบวนการความร้อนคงที่
1. จาก OA เป็นการดูดอากาศจากภายนอกเข้าสู่กระบอกสูบ
2. จาก AB อากาศจะถูกอัดทาให้ปริมาตรเปลี่ยนจาก rV เป็น V ด้วยกระบวนการความร้อนคงที่จนอากาศร้อนจัด
3. จาก BC จะเป็นการระเบิดโดยการฉีดฝอยน้ามันดีเซลเข้าสู่กระบอกสูบ ทาให้ได้รับพลังงานความร้อน Qh ในขณะที่ความดันคงที่
4. จาก CD เป็นช่วงการทางานเนื่องจากการระเบิดและก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่
5. จาก DA อากาศที่ผ่านการสันดาปมาแล้วเย็นตัวลงโดยปริมาตรคงที่ คายพลังงานความร้อนออกไปเท่ากับ Qc
6. จาก AO เป็นการขับไอเสียออกโดยความดันคงที่ และพร้อมที่จะดูดอากาศเข้ามาในกระบอกสูบเพื่อเริ่มต้นวัฏจักรใหม่ต่อไป
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี
 เอนโทรปีที่เปลี่ยนแปลงไปจะเท่ากับพลังงานความร้อนที่ถ่ายเทออกไปในกระบวนการที่ผันกลับได้หารด้วยอุณหภูมิเป็นองศาสัมบูรณ์ดังนี้
dS = T
dQ
เอนโทรปีมีหน่วยเป็น  K
J
เคลวิน
จูล
 เมื่อระบบดูดกลืนพลังงานความร้อนเข้าสู่ระบบปริมาณ dQ จะเป็นบวกเป็นผลทาให้เอนโทรปีเพิ่มขึ้น แต่ถ้าระบบคายพลังงานความร้อนออกมา
dQ จะเป็นลบจึงทาให้เอนโทรปีลดลง
∫
{
เกิดและผันกลับไม่ได้
เกิดและผันกลับได้
ไม่สามารถเกิดได้
การหา
การหลอมเหลวและการกลายเป็นไอ
การเปลี่ยนอุณหภูมิ
1. จงกาหารเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของเงิน จานวน 1 โมล เมื่อถูกหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 961 0
C กาหนดให้ เลขมวลเท่ากับ 108 กรัม/โมล และ L =
8.9 kJ/kg
2. จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของน้าแข็ง 20 กรัม เป็นน้าที่ 25 องศาเซลเซียส กาหนดให้ L= 333000 J/K , c = 4180 J/kgK
ของผสม
1.เหล็ก 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 900 0
C ถูกทาให้เย็นโดยใส่ลงไปในน้า 4 กิโลกรัม อุณหภูมิ 10 0
C ถ้าสมมุติว่าไม่มีการสูญเสียความร้อนเลย จงหาการ
เปลี่ยนแปลงเอนโทรปี กาหนดให้ น้า
แก๊สเปลี่ยนสภาวะ
1.จงหาการลดลงของเอนโทรปีของก๊าซฮีเลียม 1 โมล ที่ถูกทาให้เย็นที่ 1 atm จากอุณหภูมิห้อง(293 K ) เป็น อุณหภูมิ 4 K ให้
ของฮีเลียมเท่ากับ
2.ก๊าซฮีเลียมจานวน 5 โมล อุณหภูมิ 27 0
C ปริมาตร 4.8 ลิตร ขยายตัวจนมีปริมาตร 9.6 ลิตร โดยการขยายตัวที่ความดันคงที่ จงหาการเปลี่ยนแปลง
เอนโทรปีที่เกิดขึ้น
3. ภาชนะ 2 ลิตร ซึ่งมีฉากกั้นแบ่งครึ่งตรงกลางดังรูป ถ้าก๊าซทั้งสองอยู่ที่อุณหภูมิห้องและความดัน 1 atm จากนั้นนาฉากกั้นออก จงหาการเพิ่มขึ้น
ของเอนโทรปี

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)Physics Lek
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพัน พัน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงานความร้อน
พลังงานความร้อนพลังงานความร้อน
พลังงานความร้อน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนthanakit553
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนthanakit553
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 

Viewers also liked (20)

2.เวกเตอร์ เส้นตรง ระนาบ
2.เวกเตอร์ เส้นตรง ระนาบ2.เวกเตอร์ เส้นตรง ระนาบ
2.เวกเตอร์ เส้นตรง ระนาบ
 
เฉลย แบบฝึกหัดบทที่ 1
เฉลย แบบฝึกหัดบทที่ 1เฉลย แบบฝึกหัดบทที่ 1
เฉลย แบบฝึกหัดบทที่ 1
 
คะแนน Math for ปี 57
คะแนน Math for ปี 57คะแนน Math for ปี 57
คะแนน Math for ปี 57
 
Solution mathfor 6
Solution mathfor 6Solution mathfor 6
Solution mathfor 6
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
เตรียมสอบ
เตรียมสอบเตรียมสอบ
เตรียมสอบ
 
write Graph เพิ่มเติม
write Graph เพิ่มเติม write Graph เพิ่มเติม
write Graph เพิ่มเติม
 
Math for science 4
Math for science 4Math for science 4
Math for science 4
 
แทนค่าตรีโกณ
แทนค่าตรีโกณแทนค่าตรีโกณ
แทนค่าตรีโกณ
 
331 372
331 372331 372
331 372
 
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟโจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Sol math for science 1
Sol math for science 1Sol math for science 1
Sol math for science 1
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
 
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนเรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เรื่องที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 

More from เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์

แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัส
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัสแบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัส
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัสเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

More from เซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์ (20)

Phy1 ปี 57
Phy1 ปี 57 Phy1 ปี 57
Phy1 ปี 57
 
คะแนน Cal1 ปี 57
คะแนน Cal1 ปี 57 คะแนน Cal1 ปี 57
คะแนน Cal1 ปี 57
 
เอกสารเพิ่มเติม Cal for 2ปลายภาค
เอกสารเพิ่มเติม Cal for 2ปลายภาคเอกสารเพิ่มเติม Cal for 2ปลายภาค
เอกสารเพิ่มเติม Cal for 2ปลายภาค
 
4.1โปรเจกไทล์
4.1โปรเจกไทล์4.1โปรเจกไทล์
4.1โปรเจกไทล์
 
4.อินทิกรัลไม่ตรงแบบ
4.อินทิกรัลไม่ตรงแบบ4.อินทิกรัลไม่ตรงแบบ
4.อินทิกรัลไม่ตรงแบบ
 
3.ประยุกต์อินทิกรัล
3.ประยุกต์อินทิกรัล3.ประยุกต์อินทิกรัล
3.ประยุกต์อินทิกรัล
 
ตรรกยะและเปลี่ยนเป็นตรรกยะ
ตรรกยะและเปลี่ยนเป็นตรรกยะตรรกยะและเปลี่ยนเป็นตรรกยะ
ตรรกยะและเปลี่ยนเป็นตรรกยะ
 
Sol q2
Sol q2Sol q2
Sol q2
 
By part
By partBy part
By part
 
เปลี่ยนตัวแปร
เปลี่ยนตัวแปรเปลี่ยนตัวแปร
เปลี่ยนตัวแปร
 
คะแนนฟิสิกส์ 2 ปี 56
คะแนนฟิสิกส์ 2 ปี 56คะแนนฟิสิกส์ 2 ปี 56
คะแนนฟิสิกส์ 2 ปี 56
 
3.หลักมูล
3.หลักมูล3.หลักมูล
3.หลักมูล
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรงแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1
 
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัส
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัสแบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัส
แบบฝึกหัด 2.1 ความชันและสมการเส้นสัมผัส
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
2.ผลบวก
2.ผลบวก2.ผลบวก
2.ผลบวก
 
1.ปริพันธ์พื้นฐาน
1.ปริพันธ์พื้นฐาน1.ปริพันธ์พื้นฐาน
1.ปริพันธ์พื้นฐาน
 
10.เสียง
10.เสียง10.เสียง
10.เสียง
 

บทที่ 19 phy1

  • 1. บทที่ 19 เครื่องจักรความร้อน  เครื่องยนต์ความร้อนทางานเป็นวัฏจักร โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เครื่องยนต์ดูดกลืนพลังงานความร้อนจากแหล่งให้ความร้อนอุณหภูมิสูง 2. เครื่องยนต์ทางาน 3. เครื่องยนต์คายพลังงานความร้อนที่แหล่งระบายความร้อนอุณหภูมิต่า  จากภาพ  ประสิทธิภาพทางความร้อน  เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรซึ่งทางานเป็นวัฏจักรโดยรับความร้อนจากแหล่งอุณหภูมิเดี่ยวแล้วเปลี่ยนเป็นงานทั้งหมด 1. เครื่องจักรความร้อนดูดกลืนความร้อน 360 จูล และทางานต่อ 1 รอบได้25 จูล จงหา ก. ประสิทธิภาพของเครื่องจักร ข. ความร้อนที่ปล่อยออกมาใน 1 รอบ
  • 2. 2. ความร้อนที่ดูดกลืนโดยเครื่องจักรความร้อนมีค่าเป็น 3 เท่าของงานที่ทาจงหา ก. ประสิทธิภาพทางความร้อน ข. อัตราส่วนของความร้อนที่ปล่อยออกต่อความร้อนที่ดูดกลืน กระบวนการผันกลับได้และกระบวนการผันกลับไม่ได้ (Reversible and irreversible processes) กระบวนการผันกลับได้เป็นกระบวนการที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ทั้งระบบและสิ่งแวดล้อมสามารถกลับเข้าสู่สถานะเดิมได้ส่วนกระบวนการที่ไม่ เป็นไปตามหลักการดังกล่าวเรียกว่า กระบวนการผันกลับไม่ได้แต่กระบวนการที่แท้จริงในธรรมชาติจะเป็นกระบวนการผันกลับไม่ได้ ปั๊มความร้อนและเครื่องทาความเย็น  ปั้มความความร้อนเป็นเครื่องกลที่ทาหน้าที่ส่งผ่านพลังงานความร้อนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ส่วนเครื่องทา ความเย็นทางานคล้ายกับเครื่องสูบความร้อน โดยภายในจะเย็นลงจากการดูดพลังงานความร้อนจากภายในออกไประบายหรือถ่ายเทที่ภายนอก  จากภาพ  สัมประสิทธิ์การทางาน - ปั้มความร้อน T- T c h hT  - เครื่องทาความเย็น ch c TT T    เป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างเครื่องจักรที่ทางานเป็นวัฏจักรด้วยกระบวนการที่รับความร้อนจากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่าแล้วถ่ายเทความร้อน ดังกล่าวให้แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง
  • 3. 1.เครื่องทาความเย็นมีสัมประสิทธิ์ของการทางานเท่ากับ 5 ถ้าเครื่องทาความเย็นดูดกลืนความร้อน 120 จูล จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่าในแต่ละ รอบจงหา ก. งานที่ทาในแต่ละรอบ ข. ความร้อนที่ปล่อยออกมายังแหล่งอุณหภูมิสูง เครื่องจักรคาร์โนต์  เขาได้แสดงให้เห็นว่าเครื่องยนต์ความร้อนที่ทางานตามอุดมคติเป็นวัฏจักรผันกลับได้หรือเรียกว่าวัฏจักรคาร์โนต์(carnot cycle)  ได้ตั้งเป็นทฤษฎีขึ้นเรียกว่า ทฤษฎีคาร์โนต์(Carnot’s theorem) ซึ่งกล่าวว่า ไม่มีเครื่องจักรความร้อนจริงใดที่ทางานอยู่ระหว่างแหล่งอุณหภูมิคู่ เดียวกันแล้วสามารถมีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องจักรคาร์โนต์เพราะว่าเครื่องจักรจริงไม่ได้ทางานภายใต้วัฎจักผันกลับได้  วัฏจักรคาร์โนต์ทางานด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ 2 ช่วง และกระบวนการอุณหภูมิคงที่ 2 ช่วง โดยกระบวนการทั้งหมดเป็นกระบวนการผัน กลับได้ดังนี้ ก. กระบวนการจาก AB ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการอุณหภูมิคงที่ Th โดยก๊าซสัมผัสกับแหล่งความร้อนอุณหภูมิ Th ระหว่างก๊าซขยายตัวจะ ดูดกลืนพลังงานความร้อน Qh จากแหล่งความร้อนและก๊าซทางานได้เท่ากับ WAB โดยการดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ ข. กระบวนการจาก BC ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ คือไม่มีพลังงานความร้อนเข้าสู่หรือออกจากระบบระหว่างก๊าซขยายตัว อุณหภูมิจะลดลงจาก Th เป็น TC และก๊าซทางานได้เท่ากับ WBC โดยการดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นเช่นเดียวกัน ค. กระบวนการ CD ก๊าซถูกอัดด้วยกระบวนการอุณหภูมิคงที่ TC ระหว่างก๊าซถูกอัดจะคายพลังงานความร้อน QC ให้แหล่งความร้อน โดยการ ทางานจากภายนอกให้กับก๊าซเท่ากับ WCD ง. ขั้นตอนสุดท้ายจาก DA ก๊าซถูกอัดด้วยกระบวนการความร้อนคงที่อีกครั้ง จึงไม่มีพลังงานความร้อนเข้าสู่หรือออกจากระบบระหว่างก๊าซถูกอัด อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจาก TC เป็น Th และต้องทางานให้กับก๊าซจากตัวกระทาภายนอกเท่ากับ WDA
  • 4.  สูตร 1. ประสิทธิภาพของเครื่องจักร Carnot คือ 30 % เครื่องจักรดูดกลืนความร้อน 800 จูลต่อรอบ จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิสูงที่ 500 K จงหา ก. ความร้อนที่ปล่อยออกมาต่อรอบ ข. อุณหภูมิของแหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า 2. เครื่องจักรความร้อนทางานใน Carnot cycle ระหว่างอุณหภูมิ 80 และ 350 องศาเซลเซียส ซึ่งเครื่องจักรดูดกลืนความร้อน 20000 จูล ต่อรอบ จากแหล่งความร้อนสูง ช่วงเวลาของแต่ละวัฎจักรใช้เวลา 1 วินาที จงหา ก. กาลังผลิตสูงสุดของเครื่องจักรนี้ ข. ปริมาณความร้อนที่ปล่อยออกมาต่อหนึ่งวัฎจักร เครื่องยนต์สันดาปภายใน (Internal combustion engines) เครื่องยนต์ก๊าซโซลีน (เบนซิน) ที่ใช้ในรถยนต์หรือใช้ในงานอื่น ๆ เป็นตัวอย่างหนึ่งของเครื่องยนต์ความร้อน แสดงการทางานของ เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนชนิดหนึ่ง โดยการทางานจะมี 5 ขั้นตอนที่เกิดต่อเนื่องกันในแต่ละวัฏจักร ดังนี้ ก. ข. ค. ง. จ. เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบ 4 จังหวะ ที่ทางานต่อเนื่องเป็น 5 ขั้นตอน ก. ดูด ข. อัด ค. จุดระเบิด ง. กาลัง จ. คาย ตามรูปอธิบายกระบวนการที่ เกิดขึ้นได้ดังนี้ ก. จังหวะดูด (intake stroke) เป็นจังหวะที่วาวล์ท่อไอดีเปิดและลูกสูบกาลังเคลื่อนที่ลงทาให้เกิดที่ว่างในกระบอกสูบ เพื่อดูดอากาศที่ผสม กับไอของก๊าซโซลีนจากคาร์บูเรเตอร์ (carburator) ผ่านเข้ามาทางท่อไอดีซึ่งเปิดอยู่เข้าสู่กระบอกสูบ ทาให้ปริมาตรของกระบอกสูบเพิ่มจากค่าต่าสุด V (ขณะลูกสูบอยู่สูงสุด) เป็นค่าสูงสุด rV (ขณะลูกสูบอยู่ต่าสุด) ข. จังหวะอัด (compression stroke) ในจังหวะนี้วาวล์ท่อไอดีจะปิด ไอของก๊าซที่ผสมกับอากาศแล้วจะถูกอัดประมาณได้ว่าเป็น กระบวนการความร้อนคงที่ โดยลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นจนกระบอกสูบมีปริมาตรเท่ากับ V อีกครั้ง ค. การจุดระเบิด (ignition) ช่วงที่ก๊าซถูกอัดจนมีปริมาตรเป็น V จะเกิดการจุดระเบิดขึ้นโดยหัวเทียน ง. จังหวะกาลัง (power stroke) หลังจากการจุดระเบิดแล้วทาให้ก๊าซร้อนขึ้นและขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่จนมีปริมาตรเป็น rV ในช่วงเกิดกระบวนการดังกล่าวก๊าซไปดันลูกสูบให้เคลื่อนที่ลงและทางานได้
  • 5. จ. จังหวะคาย (exhaust stroke) จังหวะนี้วาวล์ท่อไอเสียจะเปิดลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นพร้อมกับคายส่วนผสมของก๊าซที่เผาไหม้แล้วออกจาก กระบอกสูบ เมื่อสิ้นสุดจังหวะนี้ถือว่าเครื่องยนต์ทางานครบ 1 รอบ และพร้อมที่จะเริ่มจังหวะดูดในวัฏจักรใหม่ต่อไป  กราฟระหว่างความดันกับปริมาตรแทนกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนแบบอุดมคติ รูปแบบนี้เรียกว่า วัฏจักรออต โต (Otto cycle) rV V A Qc D VO B O CP Qh กระบวนการความร้อนคงที่ ตามรูป อธิบายกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ดังนี้ 1. จาก OA เป็นจังหวะดูด อากาศถูกดูดเข้ากระบอกสูบที่ความดันบรรยากาศ ทาให้ปริมาตรของกระบอกสูบเพิ่มจาก V เป็น rV 2. จาก AB เป็นจังหวะอัด โดยอากาศที่ผสมกับไอของก๊าซโซลีนจะถูกอัดด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ ทาให้ปริมาตรลดลงจาก rV เป็น V ส่วน อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นจาก TA เป็น TB ถือว่ามีการทางานให้กับก๊าซเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นกราฟ AB 3. จาก BC อากาศที่ผสมกับไอของก๊าซโซลีนเกิดการเผาไหม้ทาให้เกิดความร้อนขึ้น จึงถือว่ามีการเพิ่มพลังงานความร้อน Qh ให้กับก๊าซในช่วงนี้ ความดันและอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยปริมาตรคงที่ จึงถือว่าไม่มีการทางานให้กับก๊าซ 4. จาก CD จังหวะนี้ก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ทาให้ปริมาตรของก๊าซเปลี่ยนจาก V เป็น rV ทาให้อุณหภูมิลดลงจาก TC เป็น TD และก๊าซทางานได้เท่ากับพื้นที่ใต้เส้นกราฟ CD เรียกจังหวะนี้ว่าจะหวะกาลัง 5. จาก DA ก๊าซจะคายพลังงานความร้อน Qc ออกไป ทาให้ความดันลดลงแต่ปริมาตรยังคงที่ จึงไม่มีการทางานในช่วงนี้ 6. จาก AO จังหวะคายเป็นกระบวนการช่วงสุดท้าย ก๊าซที่เหลือจะถูกปล่อย (คายออก) สู่ความดันบรรยากาศ ทาให้ปริมาตรลดลงจาก rV เป็น V และพร้อมที่จะเริ่มวัฏจักรใหม่ต่อไป เครื่องยนต์ดีเซล (diesel engine) เครื่องยนต์ชนิดนี้มีอากาศกับไอของน้ามันโซลาเป็นสารปฏิบัติงาน น้ามันดังกล่าวมีจุดเดือดสูง ส่วนแหล่งระบายความร้อนคือบรรยากาศ ของสิ่งแวดล้อม การทางานของเครื่องยนต์ดีเซลคล้ายกับเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนที่กล่าวมาแล้ว สิ่งที่แตกต่างกันและสาคัญคือไม่ให้อากาศผสมกับน้ามัน ก่อนอัด แต่จะอัดอากาศเพียงอย่างเดียวจนปริมาตรลดลงมากและร้อนจัดโดยไม่ระเบิด จากนั้นจึงฉีดฝอยน้ามันเข้าไปให้ได้จังหวะพอดีกับที่ลูกสูบจะ เคลื่อนที่โดยก๊าซขยายตัวออกไป อากาศที่ถูกอัดจนร้อนจัดนั้นจะสันดาปกับไอน้ามันที่ระเหยขึ้นเองโดยไม่ต้องใช้ประกายไฟจากหัวเทียนมาจุด ระเบิด ซึ่งสามารถอธิบาย วัฏจักรดีเซล (diesel cycle) แบบอุดมคติโดยกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตรดังรูป ดังนี้
  • 6. rV V A Qc D VO B O CP Qh กระบวนการความร้อนคงที่ 1. จาก OA เป็นการดูดอากาศจากภายนอกเข้าสู่กระบอกสูบ 2. จาก AB อากาศจะถูกอัดทาให้ปริมาตรเปลี่ยนจาก rV เป็น V ด้วยกระบวนการความร้อนคงที่จนอากาศร้อนจัด 3. จาก BC จะเป็นการระเบิดโดยการฉีดฝอยน้ามันดีเซลเข้าสู่กระบอกสูบ ทาให้ได้รับพลังงานความร้อน Qh ในขณะที่ความดันคงที่ 4. จาก CD เป็นช่วงการทางานเนื่องจากการระเบิดและก๊าซขยายตัวด้วยกระบวนการความร้อนคงที่ 5. จาก DA อากาศที่ผ่านการสันดาปมาแล้วเย็นตัวลงโดยปริมาตรคงที่ คายพลังงานความร้อนออกไปเท่ากับ Qc 6. จาก AO เป็นการขับไอเสียออกโดยความดันคงที่ และพร้อมที่จะดูดอากาศเข้ามาในกระบอกสูบเพื่อเริ่มต้นวัฏจักรใหม่ต่อไป การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี  เอนโทรปีที่เปลี่ยนแปลงไปจะเท่ากับพลังงานความร้อนที่ถ่ายเทออกไปในกระบวนการที่ผันกลับได้หารด้วยอุณหภูมิเป็นองศาสัมบูรณ์ดังนี้ dS = T dQ เอนโทรปีมีหน่วยเป็น  K J เคลวิน จูล  เมื่อระบบดูดกลืนพลังงานความร้อนเข้าสู่ระบบปริมาณ dQ จะเป็นบวกเป็นผลทาให้เอนโทรปีเพิ่มขึ้น แต่ถ้าระบบคายพลังงานความร้อนออกมา dQ จะเป็นลบจึงทาให้เอนโทรปีลดลง ∫ { เกิดและผันกลับไม่ได้ เกิดและผันกลับได้ ไม่สามารถเกิดได้ การหา การหลอมเหลวและการกลายเป็นไอ
  • 7. การเปลี่ยนอุณหภูมิ 1. จงกาหารเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของเงิน จานวน 1 โมล เมื่อถูกหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 961 0 C กาหนดให้ เลขมวลเท่ากับ 108 กรัม/โมล และ L = 8.9 kJ/kg 2. จงหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีของน้าแข็ง 20 กรัม เป็นน้าที่ 25 องศาเซลเซียส กาหนดให้ L= 333000 J/K , c = 4180 J/kgK ของผสม 1.เหล็ก 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 900 0 C ถูกทาให้เย็นโดยใส่ลงไปในน้า 4 กิโลกรัม อุณหภูมิ 10 0 C ถ้าสมมุติว่าไม่มีการสูญเสียความร้อนเลย จงหาการ เปลี่ยนแปลงเอนโทรปี กาหนดให้ น้า แก๊สเปลี่ยนสภาวะ 1.จงหาการลดลงของเอนโทรปีของก๊าซฮีเลียม 1 โมล ที่ถูกทาให้เย็นที่ 1 atm จากอุณหภูมิห้อง(293 K ) เป็น อุณหภูมิ 4 K ให้ ของฮีเลียมเท่ากับ 2.ก๊าซฮีเลียมจานวน 5 โมล อุณหภูมิ 27 0 C ปริมาตร 4.8 ลิตร ขยายตัวจนมีปริมาตร 9.6 ลิตร โดยการขยายตัวที่ความดันคงที่ จงหาการเปลี่ยนแปลง เอนโทรปีที่เกิดขึ้น 3. ภาชนะ 2 ลิตร ซึ่งมีฉากกั้นแบ่งครึ่งตรงกลางดังรูป ถ้าก๊าซทั้งสองอยู่ที่อุณหภูมิห้องและความดัน 1 atm จากนั้นนาฉากกั้นออก จงหาการเพิ่มขึ้น ของเอนโทรปี