SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
สรุปความรู เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา
         คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic wave) คือ คลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่โดยไมอาศัยตัวกลาง โดยอาศัย
การเหนี่ยวนํากันระหวางสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทิศของสนามทั้งสองตั้งฉากกัน
และตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ ดังรูป
                                สนามไฟฟา
                                                                   สนามแมเหล็ก



                                                                                                          ทิศการเคลื่อนที่



               จากการศึกษายังพบวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ตางๆ มีลักษณะเฉพาะตัว จึงมีชื่อเรียกตางกัน เมื่อ
เรี ย งลํ า ดั บ จากความถี่ ต่ํ า ไปความถี่ สู ง จะได ดั ง นี้ คลื่ น วิ ท ยุ ไมโครเวฟ รั ง สี อิ น ฟราเรด แสงที่ ต ามองเห็ น รั ง สี
อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ และรังสีแกมมา คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชวงที่มีความถี่ที่ตอเนื่องกัน รวมเรียกวา สเปกตรัม
คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic spectrum)
                 สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา หมายถึง คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความตอเนื่องกันตั้งแตความถี่ต่ําสุด ถึง
ความถี่สูงสุด จะพบวาสเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีชื่อเรียกตางๆกันตามแหลงกําเนิดและวิธีการตรวจวัด แตมี
คุณสมบัติที่เหมือนกัน คือ
                    1. คุณสมบัติการสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน และมีสมบัติเปนโพราไรเซชัน
                    2. มีความเร็วเทากับความเร็วแสง คือ 3 x 108 m/s
                    3. มีพลังงานสงผานไปพรอมๆกับคลื่น ซึ่งพลังงานนี้จะขึ้นอยูกับความถี่ และความยาวคลื่นโดย
พิจารณาในรูปพลังงานโฟตอน

คลื่นวิทยุ (Radio wave)

       เปนคลื่นที่มีความถี่อยูในชวง 104 – 109 เฮิตรซ ความยาวคลื่นประมาณ 10-1 - 103 เมตร สามารถแบงลักษณะ
ของการใชงานซึ่งแบงออกเปน 2 ระบบ คือ
            1.1 ระบบ AM (Amplitude Modulation)

                                           +


           คลื่นพาหะความถี่สูง                    สัญญาณเสียง                          คลื่น AM
                            สงคลื่นโดยการเปลี่ยนแปลงแอมปลิจูด ของคลื่นพาหะตามสัญญาณของคลื่นที่สงออกไปดัง
           รูป มีความถี่อยูในชวง 530 - 1600 กิโลเฮิตรซ และกําหนดชวงความกวางของความถี่เพื่อปองกันการรบกวน
           ของสถานีใกลเคียงไวเปน 10 กิโลเฮิตรซ
                                                                 -1-
1.2 ระบบ FM (Frequency Modulation)
                                        +


        คลื่นพาหะความถี่สง ู            สัญญาณเสียง                         คลื่น FM
            คลื่น FM หมายถึง คลื่นที่สงโดยเปลี่ยนความถี่ของคลื่นพาหะตามสัญญาณของคลื่นที่ตองการสงออกไปมี
ความถี่อยูในชวง 88 – 108 MHz และกําหนดชองกวางของแถบความถี่ไว 150 KHZ

การสงคลื่นวิทยุ

           สําหรับคลื่นวิทยุ AM จะสะทอนที่ช้ันบรรยากาศไอโอโนสเฟยรซึ่งเปนชั้นที่มีประจุไฟฟาอิสระอยูจํานวน
มาก ดังนั้นคลื่นวิทยุ AM จึงเดินทางได 2 แบบ คือ
                    1. คลื่นดิน เคลื่อนที่ไปตามแนวรอบโดยตรงมีรัศมี 80 กิโลเมตร
                   2. คลื่นฟา เปนคลื่นที่สะทอนยังชั้นไอโอโนสเฟยร ดังนั้นจึงเดินทางไปไดไกลและสามารถออม
สิ่งกีดขวางขนาดใหญ เชน ภูเขา หรือตึกได แตจะถูกรบกวนงายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาแหลงอื่น
           สําหรับคลื่นวิทยุ FM มีความถี่สูงกวาและจะทะลุทะลวงผานชั้นไอโอโนสเฟยรจึงไมสามรถใชคลื่นฟาได
คลื่นวิทยุ FM จึงเดินทางไดระยะใกลแตจะถูกรบกวนไดยากเนื่องจากคลื่นมีความถี่สูง ในการทําเสาอากาศสําหรับสง
คลื่น FM ถาจะทําใหคลื่นที่สงออกไปไมถูกรบกวนไดงาย ความสูงของเสาอากาศจะตองมีคาเปนครึ่งหนึ่งของความ
ยาวคลื่น

คลื่นโทรทัศน และ ไมโครเวฟ

            คลื่นโทรทัศนและคลื่นไมโครเวฟมีความถี่อยูในชวง 108 – 1012 Hz คลื่นนี้จะไมสะทอนที่ชั้นไอโอโนส
เฟยรและจะทะลุผานชั้นบรรยากาศ ในการสงคลื่นโทรทัศนไปเปนระยะทางไกลๆจะตองใชสถานีถายทอดไปเปน
ระยะๆ เพื่อรับคลื่นโทรทัศนที่เคลื่อนที่จากสถานีสงมาในแนวเสนตรงแลวขยายใหสัญญาณแรงขึ้นกอนที่จะสงไปยัง
สถานีที่อยูถัดไป เพราะสัญญาณเดินทางเปนเสนตรง และสัญญาณจะไปไดไกลสุดประมาณ 80 กิโลเมตร เทานั้น
            คลื่นโทรทัศนมีความยาวคลื่นสั้นจึงไมสามารถเลี้ยวเบนออมผานสิ่งกีดขวางใหญๆได เมื่อคลื่นโทรทัศนถูก
รบกวน ทั้งนี้เนื่องจากคลื่นสะทอนจากรถยนตหรือเครื่องบินเกิดการแทรกสอดกับคลื่นที่สงมาจากสถานีแลวเขา
เครื่องรับพรอมกัน
            เนื่ อ งจากไมโครเวฟสะท อ นจากผิว โลหะได ดี จึ ง มี ก ารนํ า สมบั ติ นี้ ไ ปใช เ ป น ประโยชน ใ นการตรวจหา
ตําแหนงของยานอวกาศ ซึ่งอุปกรณดังกลาวเรียกวา เรดาร
 รังสีอินฟราเรด
            คุณสมบัติ
                    - คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ 1011 - 1014 เฮริตซ หรือความยาวคลื่นตั้งแตประมาณ 10-3 – 10-6 เมตร
เรียกวา รังสีใตแดง
                    - วัตถุรอนจะแผรงสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นสั้นกวา 10-4 เมตรออกมา
                                        ั
                    - ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุษยสามารถรับรังสีอนฟราเรดได
                                                                             ิ
                    - ฟลมถายรูปบางชนิดสามารถถายรูปไดโดยอาศัยรังสีอินฟราเรด
                    - สิ่งมีชีวิตจะแผรงสีอินฟราเรดออกมาตลอกเวลา
                                       ั

                                                          -2-
- รังสีอินฟราเรดเปนตัวนําคําสั่งจากอุปกรณควบคุมไปยังเครื่องรับ ที่เรียกวา รีโมทคอนโทรล หรือ
การควบคุมระยะไกล สําหรับควบคุมการทํางานของเครื่องรับโทรทัศน เชน การปด – เปด การเปลี่ยนสถานี
       ประโยชน
            - ใชในทางการทหารนําไปใชเกี่ยวกับการคบวคุมใหอาวุธนําวิถีเคลื่อนที่ไปยังเปาไดอยางถูกตอง
            - ใชในวงการแพทย เชน การฆาเชื้อโรค กายภาพบําบัด การตรวจวินจฉัยโรคิ
            - ใชในวงการอุตสาหกรรม เชน การผลิตรถยนต การอบสีรถ
       แหลงกําเนิดของรังสีอินฟราเรด ไดจากแหลงกําเนิดความรอนทุกชนิด

คลื่นแสง

         คลื่นแสงมีความถี่ประมาณ 104 Hz ความยาวคลื่นอยูในชวง 4 x 10-7 – 7 x 10-7 m และคลื่นแสงเปนคลื่นที่ตา
มองเห็น วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆจะเปลงแสงได เชน ไสหลอดไฟฟา ดวงอาทิตย
         เครื่องกําเนิดเลเซอรเปนแหลงกําเนิดแสงอาพันธที่ใหแสงได โดยไมอาศัยความรอน เชน วงการแพทยใช
เลเซอรในการผาตัดนัยนตา

รังสีอัลตราไวโอเลต

                        - ความถี่อยูในชวง 1015 - 1018 Hz ความยาวคลื่น 3.8 x 10-7 – 10-11 m
                        - รังสีนี้เปนตัวการที่ทําใหเกิดประจุอิสระ และไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร
                        - ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสง
                        - สามารถทะลุผานวัตถุบางๆบางชนิดได เชน เสื้อผา แผนพลาสติก
                        - ทําลายเซลลเล็กๆบางอยางได
                  ประโยชนของรังสีอัลตราไวโอเลต
                        - ใชในการพิสูจนเอกสาร ตรวจสอบลายเซ็น
                        - ชวยรางกายสังเคราะหวิตามินดี
                        - ใชตรวจสอบคุณภาพอาหารวาเสียหรือไม
                        - ใชตรวจสอบสารเคมี
                  โทษจากรังสีอัลตราไวโอเลต
                        - เปนอันตรายตอผิวหนังและตาคน เมื่อรับมามากๆอาจเปนมะเร็งผิวหนังได
                        - รังสีอัลตราไวโอเลตที่มาจากดวงอาทิตยจะถูกสกัดกั้นใหเปนสวนใหญจากบรรยากาศชั้นสตราโตส
เฟ ย ร ซึ่ ง มี ก า ซโอโซนเป น องค ป ระกอบอยู แต ป จ จุ บั น โอโซนในบรรยากาศมี จํ า นวนลดลงมากจึ ง ทํ า ให รั ง สี
อัลตราไวโอเลตแผลงมายังผิวโลก

รังสีเอกซ

                - มีความถี่อยูในชวง 1016 – 1022 Hz ความยาวคลื่นอยูระหวาง 10-8 – 10-13 m
             แหลงกําเนิดรังสีเอกซ คือ ดวงอาทิตย หลอดรังสีเอกซ เครื่องรับโทรทัศน
             คุณสมบัติของรังสีเอกซ
                - มีอํานาจในการทะลุทะลวงสูง
                - ไมเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก

                                                           -3-
- ทําใหกาซหรืออากาศรอบๆแตกตัวเปนไอออนได
                - ทําปฏิกิริยากับแผนฟลมถายรูปเหมือนกับแสง
             ประโยชนของรังสีเอกซ
                - ใชในวงการแพทย ตรวจวินิจฉัยโรค ตลอดจนการรักษาโรคมะเร็ง
                - ใชในวงการอุตสาหกรรม และการกอสรางเพื่อตรวจสอบรูรั่วหรือรอยราวตางๆ
                - ใชตรวจสอบสิ่งแปลกปลอม อาวุธในกระเปาหรือหีบหอตางๆ
                - ใชตรวจสอบวัตถุโบราณวามีอายุยาวนานเทาไร
             โทษของรังสีเอกซ
                - เมื่อรางกายรับเขาไปมากจะทําใหเซลลตาย หรือเสื่อมคุณภาพ
                - อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งได
                - อาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในยีนมีผลตอกรรมพันธ

รังสีแกมมา

             - มีความถี่อยูในชวง 3 x 1018 – 1022 Hz ความยาวคลื่น 10-10 – 10-14 m
      แหลงกําเนิดของรังสีแกมมา
             - เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี
             - รังสีคอสมิกที่มาจากนอกโลกจะมีรังสีแกมมาอยูดวย
      คุณสมบัติของรังสีแกมมา
             - ไมเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก
             - ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสง
             - ทําปฏิกิรยากับฟลมถายรูปและฟลมที่ไมไวตอแสง
                         ิ
      ประโยชนของรังสีแกมมา
             - ใชในวงการแพทยรักษาโรคมะเร็ง
             - ใชในวงการเกษตรศึกษาโรคพืชตางๆ การดูดซึมแรธาตุตางๆของรากพืช
      โทษของรังสีแกมมา ทําลายเซลลรางกาย เนื้อเยื่อตาง อาจทําใหเกิดมะเร็งได




                                                    -4-

More Related Content

What's hot

คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
สุริยุปราคา
สุริยุปราคาสุริยุปราคา
สุริยุปราคาNatcha Ninrat
 
สำเนา 15.1.pptx
สำเนา 15.1.pptxสำเนา 15.1.pptx
สำเนา 15.1.pptxssuser9905b0
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)Physics Lek
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้สุทน ดอนไพร
 

What's hot (20)

คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
สุริยุปราคา
สุริยุปราคาสุริยุปราคา
สุริยุปราคา
 
สำเนา 15.1.pptx
สำเนา 15.1.pptxสำเนา 15.1.pptx
สำเนา 15.1.pptx
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
วิทยาศาสตร์ ป.6 ไฟฟ้าน่ารู้
 

Viewers also liked

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
ประภา
ประภาประภา
ประภาprapa2537
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)jitima
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีnatthaporn1111
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีNanmoer Tunteng
 

Viewers also liked (20)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
Bk
BkBk
Bk
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
chemical equilibrium
chemical equilibriumchemical equilibrium
chemical equilibrium
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Similar to Em wave

9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMDechatorn Devaphalin
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมPakawan Sonna
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406Krittapas Rodsom
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 

Similar to Em wave (20)

9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Rs
RsRs
Rs
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
Atmosphere1
Atmosphere1Atmosphere1
Atmosphere1
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Problem1364
Problem1364Problem1364
Problem1364
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกTaweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพTaweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายTaweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีTaweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 

Em wave

  • 1. สรุปความรู เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic wave) คือ คลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่โดยไมอาศัยตัวกลาง โดยอาศัย การเหนี่ยวนํากันระหวางสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทิศของสนามทั้งสองตั้งฉากกัน และตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ ดังรูป สนามไฟฟา สนามแมเหล็ก ทิศการเคลื่อนที่ จากการศึกษายังพบวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ตางๆ มีลักษณะเฉพาะตัว จึงมีชื่อเรียกตางกัน เมื่อ เรี ย งลํ า ดั บ จากความถี่ ต่ํ า ไปความถี่ สู ง จะได ดั ง นี้ คลื่ น วิ ท ยุ ไมโครเวฟ รั ง สี อิ น ฟราเรด แสงที่ ต ามองเห็ น รั ง สี อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ และรังสีแกมมา คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชวงที่มีความถี่ที่ตอเนื่องกัน รวมเรียกวา สเปกตรัม คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic spectrum) สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา หมายถึง คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความตอเนื่องกันตั้งแตความถี่ต่ําสุด ถึง ความถี่สูงสุด จะพบวาสเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีชื่อเรียกตางๆกันตามแหลงกําเนิดและวิธีการตรวจวัด แตมี คุณสมบัติที่เหมือนกัน คือ 1. คุณสมบัติการสะทอน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน และมีสมบัติเปนโพราไรเซชัน 2. มีความเร็วเทากับความเร็วแสง คือ 3 x 108 m/s 3. มีพลังงานสงผานไปพรอมๆกับคลื่น ซึ่งพลังงานนี้จะขึ้นอยูกับความถี่ และความยาวคลื่นโดย พิจารณาในรูปพลังงานโฟตอน คลื่นวิทยุ (Radio wave) เปนคลื่นที่มีความถี่อยูในชวง 104 – 109 เฮิตรซ ความยาวคลื่นประมาณ 10-1 - 103 เมตร สามารถแบงลักษณะ ของการใชงานซึ่งแบงออกเปน 2 ระบบ คือ 1.1 ระบบ AM (Amplitude Modulation) + คลื่นพาหะความถี่สูง สัญญาณเสียง คลื่น AM สงคลื่นโดยการเปลี่ยนแปลงแอมปลิจูด ของคลื่นพาหะตามสัญญาณของคลื่นที่สงออกไปดัง รูป มีความถี่อยูในชวง 530 - 1600 กิโลเฮิตรซ และกําหนดชวงความกวางของความถี่เพื่อปองกันการรบกวน ของสถานีใกลเคียงไวเปน 10 กิโลเฮิตรซ -1-
  • 2. 1.2 ระบบ FM (Frequency Modulation) + คลื่นพาหะความถี่สง ู สัญญาณเสียง คลื่น FM คลื่น FM หมายถึง คลื่นที่สงโดยเปลี่ยนความถี่ของคลื่นพาหะตามสัญญาณของคลื่นที่ตองการสงออกไปมี ความถี่อยูในชวง 88 – 108 MHz และกําหนดชองกวางของแถบความถี่ไว 150 KHZ การสงคลื่นวิทยุ สําหรับคลื่นวิทยุ AM จะสะทอนที่ช้ันบรรยากาศไอโอโนสเฟยรซึ่งเปนชั้นที่มีประจุไฟฟาอิสระอยูจํานวน มาก ดังนั้นคลื่นวิทยุ AM จึงเดินทางได 2 แบบ คือ 1. คลื่นดิน เคลื่อนที่ไปตามแนวรอบโดยตรงมีรัศมี 80 กิโลเมตร 2. คลื่นฟา เปนคลื่นที่สะทอนยังชั้นไอโอโนสเฟยร ดังนั้นจึงเดินทางไปไดไกลและสามารถออม สิ่งกีดขวางขนาดใหญ เชน ภูเขา หรือตึกได แตจะถูกรบกวนงายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟาแหลงอื่น สําหรับคลื่นวิทยุ FM มีความถี่สูงกวาและจะทะลุทะลวงผานชั้นไอโอโนสเฟยรจึงไมสามรถใชคลื่นฟาได คลื่นวิทยุ FM จึงเดินทางไดระยะใกลแตจะถูกรบกวนไดยากเนื่องจากคลื่นมีความถี่สูง ในการทําเสาอากาศสําหรับสง คลื่น FM ถาจะทําใหคลื่นที่สงออกไปไมถูกรบกวนไดงาย ความสูงของเสาอากาศจะตองมีคาเปนครึ่งหนึ่งของความ ยาวคลื่น คลื่นโทรทัศน และ ไมโครเวฟ คลื่นโทรทัศนและคลื่นไมโครเวฟมีความถี่อยูในชวง 108 – 1012 Hz คลื่นนี้จะไมสะทอนที่ชั้นไอโอโนส เฟยรและจะทะลุผานชั้นบรรยากาศ ในการสงคลื่นโทรทัศนไปเปนระยะทางไกลๆจะตองใชสถานีถายทอดไปเปน ระยะๆ เพื่อรับคลื่นโทรทัศนที่เคลื่อนที่จากสถานีสงมาในแนวเสนตรงแลวขยายใหสัญญาณแรงขึ้นกอนที่จะสงไปยัง สถานีที่อยูถัดไป เพราะสัญญาณเดินทางเปนเสนตรง และสัญญาณจะไปไดไกลสุดประมาณ 80 กิโลเมตร เทานั้น คลื่นโทรทัศนมีความยาวคลื่นสั้นจึงไมสามารถเลี้ยวเบนออมผานสิ่งกีดขวางใหญๆได เมื่อคลื่นโทรทัศนถูก รบกวน ทั้งนี้เนื่องจากคลื่นสะทอนจากรถยนตหรือเครื่องบินเกิดการแทรกสอดกับคลื่นที่สงมาจากสถานีแลวเขา เครื่องรับพรอมกัน เนื่ อ งจากไมโครเวฟสะท อ นจากผิว โลหะได ดี จึ ง มี ก ารนํ า สมบั ติ นี้ ไ ปใช เ ป น ประโยชน ใ นการตรวจหา ตําแหนงของยานอวกาศ ซึ่งอุปกรณดังกลาวเรียกวา เรดาร รังสีอินฟราเรด คุณสมบัติ - คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ 1011 - 1014 เฮริตซ หรือความยาวคลื่นตั้งแตประมาณ 10-3 – 10-6 เมตร เรียกวา รังสีใตแดง - วัตถุรอนจะแผรงสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นสั้นกวา 10-4 เมตรออกมา  ั - ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุษยสามารถรับรังสีอนฟราเรดได ิ - ฟลมถายรูปบางชนิดสามารถถายรูปไดโดยอาศัยรังสีอินฟราเรด - สิ่งมีชีวิตจะแผรงสีอินฟราเรดออกมาตลอกเวลา ั -2-
  • 3. - รังสีอินฟราเรดเปนตัวนําคําสั่งจากอุปกรณควบคุมไปยังเครื่องรับ ที่เรียกวา รีโมทคอนโทรล หรือ การควบคุมระยะไกล สําหรับควบคุมการทํางานของเครื่องรับโทรทัศน เชน การปด – เปด การเปลี่ยนสถานี ประโยชน - ใชในทางการทหารนําไปใชเกี่ยวกับการคบวคุมใหอาวุธนําวิถีเคลื่อนที่ไปยังเปาไดอยางถูกตอง - ใชในวงการแพทย เชน การฆาเชื้อโรค กายภาพบําบัด การตรวจวินจฉัยโรคิ - ใชในวงการอุตสาหกรรม เชน การผลิตรถยนต การอบสีรถ แหลงกําเนิดของรังสีอินฟราเรด ไดจากแหลงกําเนิดความรอนทุกชนิด คลื่นแสง คลื่นแสงมีความถี่ประมาณ 104 Hz ความยาวคลื่นอยูในชวง 4 x 10-7 – 7 x 10-7 m และคลื่นแสงเปนคลื่นที่ตา มองเห็น วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆจะเปลงแสงได เชน ไสหลอดไฟฟา ดวงอาทิตย เครื่องกําเนิดเลเซอรเปนแหลงกําเนิดแสงอาพันธที่ใหแสงได โดยไมอาศัยความรอน เชน วงการแพทยใช เลเซอรในการผาตัดนัยนตา รังสีอัลตราไวโอเลต - ความถี่อยูในชวง 1015 - 1018 Hz ความยาวคลื่น 3.8 x 10-7 – 10-11 m - รังสีนี้เปนตัวการที่ทําใหเกิดประจุอิสระ และไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยร - ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสง - สามารถทะลุผานวัตถุบางๆบางชนิดได เชน เสื้อผา แผนพลาสติก - ทําลายเซลลเล็กๆบางอยางได ประโยชนของรังสีอัลตราไวโอเลต - ใชในการพิสูจนเอกสาร ตรวจสอบลายเซ็น - ชวยรางกายสังเคราะหวิตามินดี - ใชตรวจสอบคุณภาพอาหารวาเสียหรือไม - ใชตรวจสอบสารเคมี โทษจากรังสีอัลตราไวโอเลต - เปนอันตรายตอผิวหนังและตาคน เมื่อรับมามากๆอาจเปนมะเร็งผิวหนังได - รังสีอัลตราไวโอเลตที่มาจากดวงอาทิตยจะถูกสกัดกั้นใหเปนสวนใหญจากบรรยากาศชั้นสตราโตส เฟ ย ร ซึ่ ง มี ก า ซโอโซนเป น องค ป ระกอบอยู แต ป จ จุ บั น โอโซนในบรรยากาศมี จํ า นวนลดลงมากจึ ง ทํ า ให รั ง สี อัลตราไวโอเลตแผลงมายังผิวโลก รังสีเอกซ - มีความถี่อยูในชวง 1016 – 1022 Hz ความยาวคลื่นอยูระหวาง 10-8 – 10-13 m แหลงกําเนิดรังสีเอกซ คือ ดวงอาทิตย หลอดรังสีเอกซ เครื่องรับโทรทัศน คุณสมบัติของรังสีเอกซ - มีอํานาจในการทะลุทะลวงสูง - ไมเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก -3-
  • 4. - ทําใหกาซหรืออากาศรอบๆแตกตัวเปนไอออนได - ทําปฏิกิริยากับแผนฟลมถายรูปเหมือนกับแสง ประโยชนของรังสีเอกซ - ใชในวงการแพทย ตรวจวินิจฉัยโรค ตลอดจนการรักษาโรคมะเร็ง - ใชในวงการอุตสาหกรรม และการกอสรางเพื่อตรวจสอบรูรั่วหรือรอยราวตางๆ - ใชตรวจสอบสิ่งแปลกปลอม อาวุธในกระเปาหรือหีบหอตางๆ - ใชตรวจสอบวัตถุโบราณวามีอายุยาวนานเทาไร โทษของรังสีเอกซ - เมื่อรางกายรับเขาไปมากจะทําใหเซลลตาย หรือเสื่อมคุณภาพ - อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งได - อาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในยีนมีผลตอกรรมพันธ รังสีแกมมา - มีความถี่อยูในชวง 3 x 1018 – 1022 Hz ความยาวคลื่น 10-10 – 10-14 m แหลงกําเนิดของรังสีแกมมา - เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี - รังสีคอสมิกที่มาจากนอกโลกจะมีรังสีแกมมาอยูดวย คุณสมบัติของรังสีแกมมา - ไมเบี่ยงเบนในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก - ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสง - ทําปฏิกิรยากับฟลมถายรูปและฟลมที่ไมไวตอแสง ิ ประโยชนของรังสีแกมมา - ใชในวงการแพทยรักษาโรคมะเร็ง - ใชในวงการเกษตรศึกษาโรคพืชตางๆ การดูดซึมแรธาตุตางๆของรากพืช โทษของรังสีแกมมา ทําลายเซลลรางกาย เนื้อเยื่อตาง อาจทําใหเกิดมะเร็งได -4-