SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
= C programming By…iamch❀mmy =

บทที่ 7 Text Formatting

หน้า 1
= C programming By…iamch❀mmy =

บทที่ 7 Text Formatting
คาสั่ง printf() นอกจากจะใช้แสดงผลข้อความธรรมดา ๆ แล้ว ยังสามารถจัดรูปแบบให้กับ
ข้อความได้อีกด้วย ซึ่งชื่อเต็ม ๆ ของ printf ก็คือ print formatted
โค้ด

printf("2 + 2 = %d", 4);
printf("%d + %d = %d", 2, 3, 5);

ผลลัพธ์คือ

2+2=4
2+3=5

อาร์กิวเม็นท (Argument) ของคาสั่งใด ๆ คือสิ่งที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายวงเล็บเปิด และ
เครื่องหมายวงเล็บปิดของคาสั่งนั้น ๆ โดยอาร์กิวเม็นทอาจมีได้มากกว่าหนึ่งตัว ก็ได้ แล้ว
ใช้ , (comma) คั่นระหว่างอาร์กิวเม็นทแต่ละตัว

คาสั่ง printf() ที่ผ่าน ๆ มาในบทก่อนหน้า
มีเพียงอาร์กิวเม็นทเดียว
นั่นคือ...ข้อความที่ต้องการแสดงผลนั่นเอง
แต่คาสั่ง printf() ในตัวอย่างด้านบน มีหลายอาร์กิวเมนต์

บทที่ 7 Text Formatting

หน้า 2
= C programming By…iamch❀mmy =

ข้อความในคาสั่ง printf ด้านบน "2 + 2 = " แสดงผลออกมาตามปกติ มีเพียง %d
เท่านั้ น ที่ถูกเปลี่ ยนไปเป็น 4 คาสั่ ง printf จะนาอาร์กิว เม็นทด้านหลั ง มาแทนที่ %d ใน
อาร์กิวเม็นทแรกตามลาดับ
เครื่องหมาย % อยู่ซึ่งเราจะเรียกว่า Format Code ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดให้ข้อมูลที่อยู่ใน
ตาแหน่งหลังเครื่องหมาย , แสดงออกมา ทั้งนี้ต้องใช้ให้ถูกประเภทด้วยดังตารางต่อไปนี้

รหัสรูปแบบ
%c
%d
%f
%s

รูปแบบ
ตัวอักษร หรือ อักขระ 1 ตัว
เลขจานวนเต็มฐานสิบ
เลขทศนิยม หรือจานวนจริง
ข้อความ หรือสายอักขระ
(ตัวอักษรหลายตัวเรียงต่อกัน)

:::แสดงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยเท่านั้นนะ

ตัวอย่าง
a
475
475.23
ABCD

ทีนลองนาไปใช้กัน :::
ี้

ตัวอย่าง การใช้รหัสรูปแบบ

บทที่ 7 Text Formatting

หน้า 3
= C programming By…iamch❀mmy =

ในภาษาซี การแสดงตัวอักษร หรือชุดอักษร
จะต้องดาเนินการดังนี้
ตัวอักษร หรืออักขระ 1 ตัว(Character)
เราจะใช้เครื่องหมาย ' (Single qoute) คร่อม
ชุดตัวอักษร หรือสายอักขระ (String)
เราจะใช้เครื่องหมาย " (Double qoute) คร่อม
ส่วนตัวเลข สามารถใช้ได้เลย ไม่ต้องมีตัวคร่อม

คาอธิบายโปรแกรม
บรรทัดที่ 5 printf ("Characters: %cn", 'a');
%7d หมายความว่าแสดงตัวอักษร 1 ตัว ที่อยู่หลังเครื่องหมาย , และอยู่ในเครื่องหมาย '
ในตัวอย่างนี้คือ ตัวอักษร a
บรรทัดที่ 7 printf ("Preceding with blanks: %7d n", 1977);
%7d หมายความว่าแสดงเลขฐานสิบ โดยมีความกว้างอย่างน้อย 7 ตัวอักษร หากเลขนั้นมี
จานวนหลักน้อยกว่า 7 หลัก โปรแกรมจะใส่ช่องว่างด้านหน้าเลขนั้นจนครบ 7 หลัก
บรรทัดที่ 8 printf ("Preceding with zeros: %07d n", 1977);
%07d หมายความว่าแสดงเลขฐานสิบ โดยมีจานวนหลักอย่างน้อย 7 หลัก หากเลขนั้นมี
จานวนหลักน้อยกว่า 7 หลัก โปรแกรมจะใส่เลขศูนย์ด้านหน้าเลขนั้นจบครบ 7 หลัก
บรรทัดที่ 9 printf ("Floats: %4.2f n", 3.1416);
%4.2f หมายความว่า แสดงเลขจานวนจริง โดยแสดงตาแหน่งทศนิยมเพียง 2 หลักและ
แสดงรวมได้ 4 ตัวอักษรหรือ 4 หลัก ในตัวอย่างนี้คือ 3.1416 จึงแสดงเพียง 3.14 (นับรวมจุดด้วย
เป็น 4 ตัวอักษร)

บทที่ 7 Text Formatting

หน้า 4
= C programming By…iamch❀mmy =

บรรทัดที่ 10 printf ("Characters: %sn", 'a');
%s หมายความว่าแสดงข้อความ ที่อยู่หลังเครื่องหมาย , และอยู่ในเครื่องหมาย " ใน
ตัวอย่างนี้คือ ข้อความ 123 in this text is a String not a number
เพือน ๆ ลองนาโค้ดโปรแกรมในตัวอย่าง
่

ไปใช้ในโปรแกรม Dev-C++ ดูนะ
เมือเข้าใจแล้วก็เข้าไปทาแบบฝึกหัดเลย
่

คาศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ประจาบทที่ 7
ที่

คาศัพท์

คาอ่าน

ความหมายที่เกี่ยวข้องกับภาษาซี

1

argument

อาร์กิวเม็นท

ค่าหรือจานวนที่ใส่ในคาสั่ง

2

blank

แบลงค

ช่องว่าง ที่ว่าง

3

comma

คอมมะ

เครื่องหมาย ,

4

float

โฟลท

ประเภทของตัวแปร
เก็บค่าตัวเลขที่มีทศนิยม

5

format

ฟอร์แมท

รูปแบบ

++ จบบทที่ 7 ++

บทที่ 7 Text Formatting

หน้า 5

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpimon Aom
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาsupatra178
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานChittraporn Phalao
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาskiats
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรมpennapa34
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 3
แบบทดสอบหน่วยที่ 3แบบทดสอบหน่วยที่ 3
แบบทดสอบหน่วยที่ 3kruvisart
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกThanon Paktanadechanon
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมbpatra
 

What's hot (20)

บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
Know3 2
Know3 2Know3 2
Know3 2
 
ฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น breakฟังก์ชั่น break
ฟังก์ชั่น break
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switchฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switch
 
05 Loops
05  Loops05  Loops
05 Loops
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรมบทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรม
บทที่3คำสั่งควบคุมโปรแกรม
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 3
แบบทดสอบหน่วยที่ 3แบบทดสอบหน่วยที่ 3
แบบทดสอบหน่วยที่ 3
 
ฟังก์ชั่น If หลายทางเลือก
ฟังก์ชั่น If หลายทางเลือกฟังก์ชั่น If หลายทางเลือก
ฟังก์ชั่น If หลายทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
รหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo codeรหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo code
 
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียวฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
ฟังก์ชั่น If ทางเลือกเดียว
 

Viewers also liked

การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาChommy Rainy Day
 

Viewers also liked (7)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Coup d'état
Coup d'étatCoup d'état
Coup d'état
 
Smedu award
Smedu awardSmedu award
Smedu award
 
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Similar to Unit7

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกาBeam Suna
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณีBeam Suna
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1hamctr
 
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลkorn27122540
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานKanchana Theugcharoon
 

Similar to Unit7 (20)

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
Learn 2
Learn 2Learn 2
Learn 2
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
12
1212
12
 
207
207207
207
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูลการแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
4 1
4 14 1
4 1
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 

More from Chommy Rainy Day (17)

Covid Diary
Covid DiaryCovid Diary
Covid Diary
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
ความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจ
 
รวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่องรวม 7 เรื่อง
รวม 7 เรื่อง
 
6.2 st
6.2 st6.2 st
6.2 st
 
Flochart 33
Flochart 33Flochart 33
Flochart 33
 
Flochart 22
Flochart 22Flochart 22
Flochart 22
 
Boxx
BoxxBoxx
Boxx
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
About
AboutAbout
About
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
1381741909 622573
1381741909 6225731381741909 622573
1381741909 622573
 
About
AboutAbout
About
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
 
Pm61885(0)
Pm61885(0)Pm61885(0)
Pm61885(0)
 
St h
St hSt h
St h
 

Unit7

  • 1. = C programming By…iamch❀mmy = บทที่ 7 Text Formatting หน้า 1
  • 2. = C programming By…iamch❀mmy = บทที่ 7 Text Formatting คาสั่ง printf() นอกจากจะใช้แสดงผลข้อความธรรมดา ๆ แล้ว ยังสามารถจัดรูปแบบให้กับ ข้อความได้อีกด้วย ซึ่งชื่อเต็ม ๆ ของ printf ก็คือ print formatted โค้ด printf("2 + 2 = %d", 4); printf("%d + %d = %d", 2, 3, 5); ผลลัพธ์คือ 2+2=4 2+3=5 อาร์กิวเม็นท (Argument) ของคาสั่งใด ๆ คือสิ่งที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายวงเล็บเปิด และ เครื่องหมายวงเล็บปิดของคาสั่งนั้น ๆ โดยอาร์กิวเม็นทอาจมีได้มากกว่าหนึ่งตัว ก็ได้ แล้ว ใช้ , (comma) คั่นระหว่างอาร์กิวเม็นทแต่ละตัว คาสั่ง printf() ที่ผ่าน ๆ มาในบทก่อนหน้า มีเพียงอาร์กิวเม็นทเดียว นั่นคือ...ข้อความที่ต้องการแสดงผลนั่นเอง แต่คาสั่ง printf() ในตัวอย่างด้านบน มีหลายอาร์กิวเมนต์ บทที่ 7 Text Formatting หน้า 2
  • 3. = C programming By…iamch❀mmy = ข้อความในคาสั่ง printf ด้านบน "2 + 2 = " แสดงผลออกมาตามปกติ มีเพียง %d เท่านั้ น ที่ถูกเปลี่ ยนไปเป็น 4 คาสั่ ง printf จะนาอาร์กิว เม็นทด้านหลั ง มาแทนที่ %d ใน อาร์กิวเม็นทแรกตามลาดับ เครื่องหมาย % อยู่ซึ่งเราจะเรียกว่า Format Code ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดให้ข้อมูลที่อยู่ใน ตาแหน่งหลังเครื่องหมาย , แสดงออกมา ทั้งนี้ต้องใช้ให้ถูกประเภทด้วยดังตารางต่อไปนี้ รหัสรูปแบบ %c %d %f %s รูปแบบ ตัวอักษร หรือ อักขระ 1 ตัว เลขจานวนเต็มฐานสิบ เลขทศนิยม หรือจานวนจริง ข้อความ หรือสายอักขระ (ตัวอักษรหลายตัวเรียงต่อกัน) :::แสดงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยเท่านั้นนะ ตัวอย่าง a 475 475.23 ABCD ทีนลองนาไปใช้กัน ::: ี้ ตัวอย่าง การใช้รหัสรูปแบบ บทที่ 7 Text Formatting หน้า 3
  • 4. = C programming By…iamch❀mmy = ในภาษาซี การแสดงตัวอักษร หรือชุดอักษร จะต้องดาเนินการดังนี้ ตัวอักษร หรืออักขระ 1 ตัว(Character) เราจะใช้เครื่องหมาย ' (Single qoute) คร่อม ชุดตัวอักษร หรือสายอักขระ (String) เราจะใช้เครื่องหมาย " (Double qoute) คร่อม ส่วนตัวเลข สามารถใช้ได้เลย ไม่ต้องมีตัวคร่อม คาอธิบายโปรแกรม บรรทัดที่ 5 printf ("Characters: %cn", 'a'); %7d หมายความว่าแสดงตัวอักษร 1 ตัว ที่อยู่หลังเครื่องหมาย , และอยู่ในเครื่องหมาย ' ในตัวอย่างนี้คือ ตัวอักษร a บรรทัดที่ 7 printf ("Preceding with blanks: %7d n", 1977); %7d หมายความว่าแสดงเลขฐานสิบ โดยมีความกว้างอย่างน้อย 7 ตัวอักษร หากเลขนั้นมี จานวนหลักน้อยกว่า 7 หลัก โปรแกรมจะใส่ช่องว่างด้านหน้าเลขนั้นจนครบ 7 หลัก บรรทัดที่ 8 printf ("Preceding with zeros: %07d n", 1977); %07d หมายความว่าแสดงเลขฐานสิบ โดยมีจานวนหลักอย่างน้อย 7 หลัก หากเลขนั้นมี จานวนหลักน้อยกว่า 7 หลัก โปรแกรมจะใส่เลขศูนย์ด้านหน้าเลขนั้นจบครบ 7 หลัก บรรทัดที่ 9 printf ("Floats: %4.2f n", 3.1416); %4.2f หมายความว่า แสดงเลขจานวนจริง โดยแสดงตาแหน่งทศนิยมเพียง 2 หลักและ แสดงรวมได้ 4 ตัวอักษรหรือ 4 หลัก ในตัวอย่างนี้คือ 3.1416 จึงแสดงเพียง 3.14 (นับรวมจุดด้วย เป็น 4 ตัวอักษร) บทที่ 7 Text Formatting หน้า 4
  • 5. = C programming By…iamch❀mmy = บรรทัดที่ 10 printf ("Characters: %sn", 'a'); %s หมายความว่าแสดงข้อความ ที่อยู่หลังเครื่องหมาย , และอยู่ในเครื่องหมาย " ใน ตัวอย่างนี้คือ ข้อความ 123 in this text is a String not a number เพือน ๆ ลองนาโค้ดโปรแกรมในตัวอย่าง ่ ไปใช้ในโปรแกรม Dev-C++ ดูนะ เมือเข้าใจแล้วก็เข้าไปทาแบบฝึกหัดเลย ่ คาศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ประจาบทที่ 7 ที่ คาศัพท์ คาอ่าน ความหมายที่เกี่ยวข้องกับภาษาซี 1 argument อาร์กิวเม็นท ค่าหรือจานวนที่ใส่ในคาสั่ง 2 blank แบลงค ช่องว่าง ที่ว่าง 3 comma คอมมะ เครื่องหมาย , 4 float โฟลท ประเภทของตัวแปร เก็บค่าตัวเลขที่มีทศนิยม 5 format ฟอร์แมท รูปแบบ ++ จบบทที่ 7 ++ บทที่ 7 Text Formatting หน้า 5