SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม
     ความสัมพันธ์ระหว่าง
      ความต่างศักย์ไฟฟ้า
      กระแสไฟฟ้า และ
     ความต้านทานไฟฟ้า
                           1
ความสัมพันธ์ระหว่าง
 ความต่างศักย์ไฟฟ้า
 กระแสไฟฟ้า และ
ความต้านทานไฟฟ้า
                      2
ความต่างศักย์ไฟฟ้า
       ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า
ระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า เช่นเดียวกับ
ความแตกต่างของระดับน้าระหว่างจุด 2 จุด
                      ้
        การที่วงจรไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้นั้นจะต้องมีความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าจึงมี
ความสัมพันธ์กับแรงดันไฟฟ้า โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วเซลล์
เป็นแรงดันไฟฟ้าทีสามารถดันให้กระแสไฟฟ้าไหลจากขัวบวกผ่านความ
                  ่                               ้
ต้านทานภายนอกไปสูขวลบของเซลล์ในวงจรไฟฟ้า
                      ่ ั้                                      3
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ
โวลต์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ V




                   รูปแสดงโวลต์มเิ ตอร์           4
การต่อโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า
        1. ในการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าใช้
เครืองมือที่เรียกว่า โวลต์มเิ ตอร์
     ่
ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย            V
        2. วิธใช้โวลต์มเิ ตอร์ให้ต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า
                ี
ซึ่งเป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว เริมจากแบตเตอรีโ่ ดยต่อขั้วบวก
                                ่
ของแบตเตอรี่เข้ากับขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์และขั้วข้างหนึงของ
                                                       ่
หลอดไฟ ต่อขั้วลบของแบตเตอรีเ่ ข้ากับขั้วลบในโวลต์มิเตอร์
และขั้วทีเ่ หลือของหลอดไฟ
                                                              5
6
ความต่างศักย์เปรียบเทียบได้กับการเอียงของ
ปลายท่อน้้า ถ้าท่อน้้าวางตัวอยู่เกือบเท่ากับแนว
ระดับน้้าจะไหลได้เพียงเล็กน้อย แต่ถ้าปลายท่ออยู่
ในระดับต่้ากว่าส่วนต้นของท่อน้้า อัตราการไหลของ
น้้าจะเพิ่มขึ้นในขณะที่ความแตกต่างของระดับความสูง
เป็นสาเหตุท้าให้น้าไหลมากขึ้น การเพิ่มความต่าง
ศักย์ก็เป็นสาเหตุที่ ท้าให้กระแสไฟฟ้าไหลได้มากขึ้น
                                                 7
8
โวลต์มิเตอร์ทดต้องมีความต้านทานมาก ซึ่งจะวัดค่าความต่าง
                     ี่ ี
ศักย์ไฟฟ้าได้ถูกต้องมากกว่าโวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานน้อย
        ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีความแตกต่างกัน เช่น ถ่านไฟฉาย
1 ก้อนมีความต่างศักย์ไฟฟ้า 1.5 โวลต์ แบตเตอรีรถยนต์มีความ
                                                     ่
ต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของวงจร
ไฟฟ้าในบ้านเท่ากับ 220 โวลต์

                โวลต์ เป็นหน่วยของความต่างศักย์ ซึ่งเป็นชื่อของ
      โวลตา เคานต์อาเลสซานโดร ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่เป็นครั้งแรก
      จึงได้รับการยกย่องให้น้าชื่อมาตั้งเป็นหน่วยวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
                                                                         9
กระแสไฟฟ้า
        กระแสไฟฟ้า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุ
ไฟฟ้า อาจเป็นประจุลบหรือประจุบวกเป็นกระแสต่อเนื่องกันไป
        เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้ากับแหล่งก้าเนิดไฟฟ้าจะ
มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าจากขั้วไฟฟ้าบวกไปยังขั้วไฟฟ้าลบ
การเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าท้าให้กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้มาก
ขึ้น
        1. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์
ในวงจรไฟฟ้าใช้สัญลักษณ์            A
กระแสไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นแอมแปร์ (A)                           10
2. วิธใช้แอมมิเตอร์ให้ต่อในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมโดย
               ี
การต่อเรียงกันไปจนครบวงจรไฟฟ้า เริมจากแบตเตอรี่
                                         ่
โดยต่อขั้วบวกของแบตเตอรีเ่ ข้ากับขั้วบวกของแอมมิเตอร์ และต่อ
ขั้วลบของแอมมิเตอร์เข้ากับข้างหนึ่งของขั้วหลอดไฟ แล้วต่อขัว
                                                          ้
ที่เหลือของหลอดไฟเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี่
        3. แอมมิเตอร์ที่ดีต้องมีค่าความต้านทานน้อย จึงจะวัด
ค่ากระแสไฟฟ้าได้ถกต้องมากกว่าแอมมิเตอร์ที่มความต้านทาน
                     ู                       ี
มาก
        4. เมื่อเพิมจ้านวนก้อนของถ่านไฟฉายค่าของ
                   ่
กระแสไฟฟ้าจะมากขึน หลอดไฟจึงสว่างมากขึ้น
                       ้                                  11
12
แอมมิเตอร์
          ปัจจุบันมีเครืองมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
                         ่
กระแสสลับ โดยการคล้องส่วนของมิเตอร์เข้าไว้กับสายไฟฟ้า
ซึ่งเรียกเครื่องมือนี้ว่า แคลมป์มิเตอร์ (clampmeter)
                                                                 13
ความต้านทานไฟฟ้า
      ความต้านทานไฟฟ้า เป็นสมบัติของตัวน้าไฟฟ้าทียอมให้
                                                 ่
กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้มากหรือน้อยต่างกัน ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านไป
ได้มากแสดงว่าตัวน้าไฟฟ้ามีความต้านทานน้อย ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่าน
ได้น้อยแสดงว่าตัวน้าไฟฟ้ามีความต้านทานมาก เปรียบเทียบได้กับ
ท่อน้้าขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ ท่อขนาดใหญ่จะให้น้าไหลผ่านได้
มากกว่าท่อขนาดเล็ก นั่นคือ ท่อขนาดใหญ่มีความต้านทานน้อยกว่า
ท่อขนาดเล็ก



                                                         14
ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ Ω
และสัญลักษณ์ของตัวต้านทาในวงจรไฟฟ้าคือ
    ความต้านทาน 1 โอห์ม คือ ความต้านทานไฟฟ้าของ
ตัวน้าเมื่อต่อปลายทั้งสองของตัวน้าเข้ากับความต่าง
ศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์มกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 1 แอมแปร์
                     ี
    ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานมีดังนี้
    1. ชนิดของลวดตัวน้า ตัวน้าต่างชนิดกันที่มีขนาด
เท่ากัน จะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน
                                                     15
2. ขนาดลวดตัวน้า ตัวน้าชนิดเดียวกันที่มีขนาดต่างกัน
จะมี ความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยตัวน้าที่มีขนาด
ใหญ่จะมีค่าความต้านทานน้อยกว่าตัวน้าที่มีขนาดเล็ก และ
เมื่อขดลวดตัวน้ามีขนาดเท่ากัน ตัวน้าที่สั้นกว่าจะมีค่าความ
ต้านทานน้อยกว่าตัวน้าที่ยาวกว่า
    3. อุณหภูมิกับความต้านทานไฟฟ้า
         3.1 ตัวน้าที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
ค่าความต้านทานไฟฟ้าของตัวน้าจะเพิ่มขึ้น เช่น เมื่ออุณหภูมิ
สูงขึ้น เงินและทองแดงจะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
                                                           16
3.2 ตัวน้าที่เป็นโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าของความ
ต้านทานของโลหะผสมจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มน้อยกว่าโลหะบริสุทธิ์
     3.3 ตัวน้าที่เป็นสารกึงตัวน้า เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความ
                           ่
ต้านทานไฟฟ้าของตัวน้าจะลดลง เช่น คาร์บอนและซิลิคอน
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลง

   รูปแสดงทองแดงซึ่งเป็นโลหะใช้ผลิต
ท่อน้้า ถังบรรจุความร้อน และลวดไฟฟ้า


                                                             17
ความน้าไฟฟ้า (conductance) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของ
ลวดตัวน้าแต่ละเส้นที่มีความสามารถในการน้าไฟฟ้าได้
แตกต่างกัน ความน้าไฟฟ้าจะเป็นส่วนกลับกับความต้านทาน
ไฟฟ้า โลหะที่น้าไฟฟ้าได้ดีจะมีความต้านทานไฟฟ้าไม่ดี เช่น
เงินน้าไฟฟ้าได้ดีที่สุด จึงมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย
   ความต้านทานไฟฟ้า (resistance) เป็นสมบัติเฉพาะตัว
ของสารที่ไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่าน มีหน่วยเป็นโอห์ม ความ
ต้านทานไฟฟ้าขึ้นอยู่กับชนิด ความยาว พื้นที่หน้าตัดของ
ตัวน้าไฟฟ้า และอุณหภูมิ
                                                     18
ตัวน้ายิ่งยวด (superconductor) เป็นตัวน้า
ไฟฟ้าที่มความต้านทานไฟฟ้าน้อยมาก จนถือว่า
          ี
ไม่มีความต้านทานไฟฟ้าเลย ซึ่งนักวิทยาศาสตร์
พบว่าเมื่อลดอุณหภูมิของตัวน้าไฟฟ้าบางชนิด
ค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลงด้วย ถ้าลด
อุณหภูมิถึงค่าหนึ่ง ตัวน้าไฟฟ้าบางชนิดจะมี
ความต้านทานน้อยลงอย่างมาก จึงเรียกตัวน้านี้
ว่า ตัวน้ายิ่งยวด
                                          19
เกอร์เก ซิโมน โอห์ม เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้
ทดลองศึกษาความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวน้าหลายๆ ชนิด
และตั้งเป็นกฎของโอห์ม โดยกล่าวไว้ว่า “เมื่ออุณหภูมิของตัวน้า
คงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของ
ตัวน้าต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าในตัวน้าจะคงที่ และเท่ากับ
ความต้านทานไฟฟ้าของตัวน้านั้น”                             20
เมื่อ   V แทน ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
        I แทน กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
        R แทน ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)
              ซึ่งเป็นค่าคงที่

จากกฎของโอห์มเขียนความสัมพันธ์ของ V, I และ R ได้ดงนี้
                                                 ั

                  V
                     R หรือ V  IR
                  I
                                                        21
การต่อความต้านทานในวงจรไฟฟ้ามี 3 แบบคือ
   1. การต่อแบบอนุกรม เป็นการต่อเรียงเป็นเส้น
   เดียวกัน ผลที่เกิดขึ้นในวงจร เป็นดังนี้




                                                22
1.1 ความต้านทานรวมภายในวงจรหาได้จาก
    Rรวม = R1 + R2 + R3+....Rn
1.2 กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวมี
    ค่าเท่ากัน
1.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกของความ
    ต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว
1.4 ถ้าสายไฟที่ต่อตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาด จะ
    ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร
                                                  23
2. การต่อแบบขนาน เป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว
กัน ผลที่ได้จากการต่อตัวต้านทานแบบขนานใน
วงจรไฟฟ้าเป็นดังนี้




                                           24
2.1 ความต้านทานรวมภายในวงจรหาได้จาก
    l  1  1  1  ...  1
  Rรวม R1 R 2 R 3        Rn
2.2 กระแสไฟฟ้ารวมทั้งหมดจะเท่ากับผลบวกของ
   กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว
2.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วทั้งสองของตัว
   ต้านทานแต่ละตัวจะเท่ากันหมด
2.4 ถ้าสายไฟที่ต่อตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาดจะไม่มี
   ผลกระทบต่อวงจร และยังมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร
                                                      25
3. การต่อแบบผสม เป็นการต่อแบบอนุกรมและ
แบบขนานรวมอยู่ในวงจรไฟฟ้าเดียวกัน ต้อง
แยกคิดทีละตอน ไม่มีสูตรค้านวณโดยเฉพาะ




                                     26
ตัวอย่าง ตามรูปจงหาความต้านทานรวมและความต่างศักย์ทคร่อม
                                                     ี่
ระหว่าง R2 เมื่อก้าหนด R1 , R2 และ R3 มีค่า 2 , 4 และ 6
โอห์มตามล้าดับ และ E มีค่า 24 โวลต์




  วิธีท้า        Rรวม   = R1 + R 2 + R 3
            แทนค่า      = 2+4+6
                        = 12 โอห์ม                        27
ตัวอย่าง จงหาความต้านทานรวมของวงจร
                            l       l   l   1
                วิธีทำ              
                           R รวม R1 R 2 R 3
                 แทนค่า      l 111
                           R รวม 8 8 4
                                 1 1 2 4
                                   
                                 8 8 8 8
                                   8
                        R รวม 
                                   4
                                2Ω
                                                28
ตัวอย่าง จากรูปจงหาความต้านทานรวมของวงจร กระแสรวม
กระแสที่ผ่านความต้านทานแต่ละตัว
                วิธทา
                   ี้
                ขั้นตอนที่ 1 หาความต้านทานส่วนที่ต่อแบบขนาน
                             l           l        1
                                             
                           R12           R1       R2
                             l           l 1
                                         
                           R12           6 3
                                     l 2  3
                                      
                                     6 6  6
                              6
                        R12 
                              3
                             2Ω
                                                              29
ขั้นตอนที่ 2 หาความต้านทานรวม ซึ่งเสมือนว่า
วงจรต่ออนุกรม ดังรูป




                 Rรวม    =   R12 + R3
      แทนค่า     Rรวม    =   2+4
                             = 6 โอห์ม
                                              30
ตัวอย่างที่ 1 ไฟท้ายรถยนต์เชื่อมต่อกับแบตเตอร์รี่ขนาด
    12 โวลต์ ถ้ากระแสไฟฟ้ามีค่า 0.50 แอมแปร์ ความ
    ต้านทานของไฟท้ายรถยนต์มีค่าเท่าไร
                             V
                 จากสูตร R 
                             I
                 เมื่ อ  V  12 V
                            I  0.50 A
                             12
                 แทนค่า R 
                            0.50
                                                        31
                        R  24 Ω
ตัวอย่างที่ 2 ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดที่มีความ
    ต้านทาน 10 โอห์ม มีขนาด 12 แอมแปร์ จงหาค่า
    ความต่างศักย์ไฟฟ้า
           เมื่ อ        I  12 A
                          R  10 Ω
           จากสูตร      V  IR
           แทนค่า        IR  12 x 10
                          V  120 V                32

More Related Content

What's hot

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxssuser0c62991
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 

Similar to ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า (20)

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (11)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า

  • 1. เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า 1
  • 3. ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ค่าความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า เช่นเดียวกับ ความแตกต่างของระดับน้าระหว่างจุด 2 จุด ้ การที่วงจรไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้นั้นจะต้องมีความ ต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าจึงมี ความสัมพันธ์กับแรงดันไฟฟ้า โดยความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วเซลล์ เป็นแรงดันไฟฟ้าทีสามารถดันให้กระแสไฟฟ้าไหลจากขัวบวกผ่านความ ่ ้ ต้านทานภายนอกไปสูขวลบของเซลล์ในวงจรไฟฟ้า ่ ั้ 3
  • 5. การต่อโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า 1. ในการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าใช้ เครืองมือที่เรียกว่า โวลต์มเิ ตอร์ ่ ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย V 2. วิธใช้โวลต์มเิ ตอร์ให้ต่อแบบขนานในวงจรไฟฟ้า ี ซึ่งเป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว เริมจากแบตเตอรีโ่ ดยต่อขั้วบวก ่ ของแบตเตอรี่เข้ากับขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์และขั้วข้างหนึงของ ่ หลอดไฟ ต่อขั้วลบของแบตเตอรีเ่ ข้ากับขั้วลบในโวลต์มิเตอร์ และขั้วทีเ่ หลือของหลอดไฟ 5
  • 6. 6
  • 7. ความต่างศักย์เปรียบเทียบได้กับการเอียงของ ปลายท่อน้้า ถ้าท่อน้้าวางตัวอยู่เกือบเท่ากับแนว ระดับน้้าจะไหลได้เพียงเล็กน้อย แต่ถ้าปลายท่ออยู่ ในระดับต่้ากว่าส่วนต้นของท่อน้้า อัตราการไหลของ น้้าจะเพิ่มขึ้นในขณะที่ความแตกต่างของระดับความสูง เป็นสาเหตุท้าให้น้าไหลมากขึ้น การเพิ่มความต่าง ศักย์ก็เป็นสาเหตุที่ ท้าให้กระแสไฟฟ้าไหลได้มากขึ้น 7
  • 8. 8
  • 9. โวลต์มิเตอร์ทดต้องมีความต้านทานมาก ซึ่งจะวัดค่าความต่าง ี่ ี ศักย์ไฟฟ้าได้ถูกต้องมากกว่าโวลต์มิเตอร์ที่มีความต้านทานน้อย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีความแตกต่างกัน เช่น ถ่านไฟฉาย 1 ก้อนมีความต่างศักย์ไฟฟ้า 1.5 โวลต์ แบตเตอรีรถยนต์มีความ ่ ต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของวงจร ไฟฟ้าในบ้านเท่ากับ 220 โวลต์ โวลต์ เป็นหน่วยของความต่างศักย์ ซึ่งเป็นชื่อของ โวลตา เคานต์อาเลสซานโดร ผู้ประดิษฐ์แบตเตอรี่เป็นครั้งแรก จึงได้รับการยกย่องให้น้าชื่อมาตั้งเป็นหน่วยวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า 9
  • 10. กระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุ ไฟฟ้า อาจเป็นประจุลบหรือประจุบวกเป็นกระแสต่อเนื่องกันไป เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้ากับแหล่งก้าเนิดไฟฟ้าจะ มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าจากขั้วไฟฟ้าบวกไปยังขั้วไฟฟ้าลบ การเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าท้าให้กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้มาก ขึ้น 1. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์ ในวงจรไฟฟ้าใช้สัญลักษณ์ A กระแสไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นแอมแปร์ (A) 10
  • 11. 2. วิธใช้แอมมิเตอร์ให้ต่อในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมโดย ี การต่อเรียงกันไปจนครบวงจรไฟฟ้า เริมจากแบตเตอรี่ ่ โดยต่อขั้วบวกของแบตเตอรีเ่ ข้ากับขั้วบวกของแอมมิเตอร์ และต่อ ขั้วลบของแอมมิเตอร์เข้ากับข้างหนึ่งของขั้วหลอดไฟ แล้วต่อขัว ้ ที่เหลือของหลอดไฟเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี่ 3. แอมมิเตอร์ที่ดีต้องมีค่าความต้านทานน้อย จึงจะวัด ค่ากระแสไฟฟ้าได้ถกต้องมากกว่าแอมมิเตอร์ที่มความต้านทาน ู ี มาก 4. เมื่อเพิมจ้านวนก้อนของถ่านไฟฉายค่าของ ่ กระแสไฟฟ้าจะมากขึน หลอดไฟจึงสว่างมากขึ้น ้ 11
  • 12. 12
  • 13. แอมมิเตอร์ ปัจจุบันมีเครืองมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า ่ กระแสสลับ โดยการคล้องส่วนของมิเตอร์เข้าไว้กับสายไฟฟ้า ซึ่งเรียกเครื่องมือนี้ว่า แคลมป์มิเตอร์ (clampmeter) 13
  • 14. ความต้านทานไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า เป็นสมบัติของตัวน้าไฟฟ้าทียอมให้ ่ กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้มากหรือน้อยต่างกัน ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านไป ได้มากแสดงว่าตัวน้าไฟฟ้ามีความต้านทานน้อย ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่าน ได้น้อยแสดงว่าตัวน้าไฟฟ้ามีความต้านทานมาก เปรียบเทียบได้กับ ท่อน้้าขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ ท่อขนาดใหญ่จะให้น้าไหลผ่านได้ มากกว่าท่อขนาดเล็ก นั่นคือ ท่อขนาดใหญ่มีความต้านทานน้อยกว่า ท่อขนาดเล็ก 14
  • 15. ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ Ω และสัญลักษณ์ของตัวต้านทาในวงจรไฟฟ้าคือ ความต้านทาน 1 โอห์ม คือ ความต้านทานไฟฟ้าของ ตัวน้าเมื่อต่อปลายทั้งสองของตัวน้าเข้ากับความต่าง ศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์มกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 1 แอมแปร์ ี ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานมีดังนี้ 1. ชนิดของลวดตัวน้า ตัวน้าต่างชนิดกันที่มีขนาด เท่ากัน จะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน 15
  • 16. 2. ขนาดลวดตัวน้า ตัวน้าชนิดเดียวกันที่มีขนาดต่างกัน จะมี ความต้านทานไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยตัวน้าที่มีขนาด ใหญ่จะมีค่าความต้านทานน้อยกว่าตัวน้าที่มีขนาดเล็ก และ เมื่อขดลวดตัวน้ามีขนาดเท่ากัน ตัวน้าที่สั้นกว่าจะมีค่าความ ต้านทานน้อยกว่าตัวน้าที่ยาวกว่า 3. อุณหภูมิกับความต้านทานไฟฟ้า 3.1 ตัวน้าที่เป็นโลหะบริสุทธิ์ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทานไฟฟ้าของตัวน้าจะเพิ่มขึ้น เช่น เมื่ออุณหภูมิ สูงขึ้น เงินและทองแดงจะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 16
  • 17. 3.2 ตัวน้าที่เป็นโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าของความ ต้านทานของโลหะผสมจะเพิ่มขึ้น แต่เพิ่มน้อยกว่าโลหะบริสุทธิ์ 3.3 ตัวน้าที่เป็นสารกึงตัวน้า เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความ ่ ต้านทานไฟฟ้าของตัวน้าจะลดลง เช่น คาร์บอนและซิลิคอน เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลง รูปแสดงทองแดงซึ่งเป็นโลหะใช้ผลิต ท่อน้้า ถังบรรจุความร้อน และลวดไฟฟ้า 17
  • 18. ความน้าไฟฟ้า (conductance) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของ ลวดตัวน้าแต่ละเส้นที่มีความสามารถในการน้าไฟฟ้าได้ แตกต่างกัน ความน้าไฟฟ้าจะเป็นส่วนกลับกับความต้านทาน ไฟฟ้า โลหะที่น้าไฟฟ้าได้ดีจะมีความต้านทานไฟฟ้าไม่ดี เช่น เงินน้าไฟฟ้าได้ดีที่สุด จึงมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย ความต้านทานไฟฟ้า (resistance) เป็นสมบัติเฉพาะตัว ของสารที่ไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่าน มีหน่วยเป็นโอห์ม ความ ต้านทานไฟฟ้าขึ้นอยู่กับชนิด ความยาว พื้นที่หน้าตัดของ ตัวน้าไฟฟ้า และอุณหภูมิ 18
  • 19. ตัวน้ายิ่งยวด (superconductor) เป็นตัวน้า ไฟฟ้าที่มความต้านทานไฟฟ้าน้อยมาก จนถือว่า ี ไม่มีความต้านทานไฟฟ้าเลย ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ พบว่าเมื่อลดอุณหภูมิของตัวน้าไฟฟ้าบางชนิด ค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลงด้วย ถ้าลด อุณหภูมิถึงค่าหนึ่ง ตัวน้าไฟฟ้าบางชนิดจะมี ความต้านทานน้อยลงอย่างมาก จึงเรียกตัวน้านี้ ว่า ตัวน้ายิ่งยวด 19
  • 20. เกอร์เก ซิโมน โอห์ม เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ ทดลองศึกษาความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวน้าหลายๆ ชนิด และตั้งเป็นกฎของโอห์ม โดยกล่าวไว้ว่า “เมื่ออุณหภูมิของตัวน้า คงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของ ตัวน้าต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าในตัวน้าจะคงที่ และเท่ากับ ความต้านทานไฟฟ้าของตัวน้านั้น” 20
  • 21. เมื่อ V แทน ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) I แทน กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) R แทน ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) ซึ่งเป็นค่าคงที่ จากกฎของโอห์มเขียนความสัมพันธ์ของ V, I และ R ได้ดงนี้ ั V  R หรือ V  IR I 21
  • 22. การต่อความต้านทานในวงจรไฟฟ้ามี 3 แบบคือ 1. การต่อแบบอนุกรม เป็นการต่อเรียงเป็นเส้น เดียวกัน ผลที่เกิดขึ้นในวงจร เป็นดังนี้ 22
  • 23. 1.1 ความต้านทานรวมภายในวงจรหาได้จาก Rรวม = R1 + R2 + R3+....Rn 1.2 กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวมี ค่าเท่ากัน 1.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกของความ ต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว 1.4 ถ้าสายไฟที่ต่อตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาด จะ ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 23
  • 24. 2. การต่อแบบขนาน เป็นการต่อแบบคร่อมขั้ว กัน ผลที่ได้จากการต่อตัวต้านทานแบบขนานใน วงจรไฟฟ้าเป็นดังนี้ 24
  • 25. 2.1 ความต้านทานรวมภายในวงจรหาได้จาก l  1  1  1  ...  1 Rรวม R1 R 2 R 3 Rn 2.2 กระแสไฟฟ้ารวมทั้งหมดจะเท่ากับผลบวกของ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว 2.3 ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วทั้งสองของตัว ต้านทานแต่ละตัวจะเท่ากันหมด 2.4 ถ้าสายไฟที่ต่อตัวต้านทานตัวใดตัวหนึ่งขาดจะไม่มี ผลกระทบต่อวงจร และยังมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร 25
  • 27. ตัวอย่าง ตามรูปจงหาความต้านทานรวมและความต่างศักย์ทคร่อม ี่ ระหว่าง R2 เมื่อก้าหนด R1 , R2 และ R3 มีค่า 2 , 4 และ 6 โอห์มตามล้าดับ และ E มีค่า 24 โวลต์ วิธีท้า Rรวม = R1 + R 2 + R 3 แทนค่า = 2+4+6 = 12 โอห์ม 27
  • 28. ตัวอย่าง จงหาความต้านทานรวมของวงจร l l l 1 วิธีทำ    R รวม R1 R 2 R 3 แทนค่า l 111 R รวม 8 8 4 1 1 2 4     8 8 8 8 8 R รวม  4 2Ω 28
  • 29. ตัวอย่าง จากรูปจงหาความต้านทานรวมของวงจร กระแสรวม กระแสที่ผ่านความต้านทานแต่ละตัว วิธทา ี้ ขั้นตอนที่ 1 หาความต้านทานส่วนที่ต่อแบบขนาน l l 1   R12 R1 R2 l l 1   R12 6 3 l 2 3    6 6 6 6 R12  3 2Ω 29
  • 30. ขั้นตอนที่ 2 หาความต้านทานรวม ซึ่งเสมือนว่า วงจรต่ออนุกรม ดังรูป Rรวม = R12 + R3 แทนค่า Rรวม = 2+4 = 6 โอห์ม 30
  • 31. ตัวอย่างที่ 1 ไฟท้ายรถยนต์เชื่อมต่อกับแบตเตอร์รี่ขนาด 12 โวลต์ ถ้ากระแสไฟฟ้ามีค่า 0.50 แอมแปร์ ความ ต้านทานของไฟท้ายรถยนต์มีค่าเท่าไร V จากสูตร R  I เมื่ อ V  12 V I  0.50 A 12 แทนค่า R  0.50 31 R  24 Ω
  • 32. ตัวอย่างที่ 2 ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดที่มีความ ต้านทาน 10 โอห์ม มีขนาด 12 แอมแปร์ จงหาค่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า เมื่ อ I  12 A R  10 Ω จากสูตร V  IR แทนค่า IR  12 x 10 V  120 V 32