SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ประโยคในภาษาไทย แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ

๑. ประโยคความเดียว ( เอกรรถประโยค)

๒. ประโยคความ)


๓. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค)   เดียว ( เอกรรถประโยค) ประโยคความเดียว ( เอกรรถประโยค) . ประโยค
๓. ประโย


ประโยค คือ ถ้อยคาที่มีเนื้อความสมบูรณ์ และมีโครงสร้างประโยคถูกต้องไม่ว่าจะเป็นภาคประธาน หรือภาคแสดง

                                              ประโยคสามัญ
    ประโยคสามัญแบ่งเป็นประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน จากประโยคทั้งสามนี้เพิ่มคา
ขยายหรือข้อความขยาย การรวมประโยคดังกล่าวเข้าด้วยกันทาให้กลายเป็นประโยคซับซ้อนขึ้น แต่สามารถสื่อสารชัดเจน
และสละสลวย

    ประโยคสามัญ เป็นประโยคในภาษาไทย ตามข้อความแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ

    1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค)

     คือ ประโยคที่มีข้อความเพียงหนึ่งข้อความ หรือมีใจความสาคัญเพียงหนึ่งเดียว มีภาคประธานภาคเดียว ภาคแสดงภาค
เดียว สังเกตได้จากมีกริยาสาคัญเพียงตัวเดียว

   หลักภาษาไทยเรียกว่า เอกัตถะประโยค มาจาก เอก + อัตถะ + ประโยค (เอก = หนึ่ง อัตถะ = ข้อความ) หมายถึง
ประโยคมีข้อความเดียว เช่น

       นักเรียนอ่านหนังสือ
       คุณพ่อกลับบ้านตอนเย็น
       แม่ค้าขายผักปลา

ตัวอย่าง ประโยคความเดียวประโยคที่กริยาไม่ต้องมีกรรมมารับ
ตัวอย่าง ประโยคความเดียวประโยคที่กริยาต้องมีกรรมมารับ




ตัวอย่าง ประโยคความเดียว "เป็น" เป็นกิริยาที่ต้องอาศัยส่วนเติมเต็มเพื่อให้เนื้อความสมบูรณ์




    ข้อสังเกต ประโยคความเดียวจะมีประธานเดียว กริยาเดียว กรรมเดียว

     2. ประโยคความรวม (อเนกัตถประโยค)

     หลักภาษาไทยเรียกประโยคชนิดนี้ว่า อเนกัตถะประโยค ซึ่งมาจาก อน + เอก + อัตถะ + ประโยค (อน = ไม่ เอก =
หนึ่ง อัตถะ = ข้อความ) หมายถึง ประโยคมีข้อความไม่ใช่หนึ่งข้อความ นั่นคือ ประโยคมีข้อความมากกว่าหนึ่งข้อความ
เช่น

        เงินทองเป็นของหายากและมันคือแก้วสารพัดนึก
        พิเชษฐ์ร่ารวยมหาศาลแต่เขาเป็นคนตระหนี่มาก
        ยุพดีผ่านการสอบมาได้เพราะเธอมีความเพียรพยายามสูง

    ประโยคความรวม คือ การนาประโยคความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคมารวมกันและเชื่อมประโยคด้วยคาสันธาน โดยใช้
สันธานเป็นตัวเชื่อมแต่ก็สามารถแยกออกเป็นประโยคความเดียว ที่มีใจความสมบูรณ์ได้เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเพิ่มส่วนใด
ส่วนหนึ่งในประโยค เช่น




    ประโยคความรวม แบ่งย่อยได้เป็น 4 แบบ ดังนี้
2.1 ประโยคที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน คือ ประโยคความเดียว 2ประโยคที่นามารวมกันโดยมีเนื้อความสอดคล้องกันมี
สันธาน และ แล้ว แล้ว...ก็ ครั้ง...จึง พอ...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ

    ก) ประธานหนึ่งคนทากริยา 2 กริยาต่อเนื่องกัน เช่น




    ข) ประธานสองคนทากริยาอย่างเดียวกัน เช่น




   2.2 ประโยคที่มีเนื้อความขัดแข้งกัน คือ ประโยคความเดียว 2 ประโยค ที่นามารวมกัน โดยมีเนื้อความขัดแย้งกัน กริยา
ในแต่ละประโยคตรงกันข้ามกัน ส่วใหญ่จะมีสันธาน แต่ แต่ทว่า กว่า...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม เช่น




    2.3 ประโยคที่มีเนื้อความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ ประโยคที่มี กริยา 2 กริยาที่ต่างกัน มีสันธาน หรือ หรือไม่ก็
มิฉะนั้น...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม เช่น




     2.4 ประโยคที่มีเนื่อความเป็นเหตุเป็นผล คือ ประโยคที่มีประโยคความ เดียวประโยคหนึ่งมีเนื้อความเป็นประโยคเหตุ
และมีประโยคความเดียวอีกประโยค หนึ่งมีเนื้อความเป็นประโยคผล มีสันธาน จึง ฉะนั้น ดังนั้น เพราะฉะนั้น ฯลฯ เป็น
ตัวเชื่อม เช่น
ข้อสังเกต ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลนั้น ประโยคเหตุจะต้องมาก่อน ประโยคผลเสมอ และ
ประโยคความรวมจะมีคาว่า และ แต่ หรือ ก็ เป็นสันธานเชื่อมประโยค      3. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค)

     หลักภาษาไทยเรียกประโยคความซ้อนว่า สังกรประโยค (อ่านว่า สัง-กอ-ระ-ประโยค) แปลว่า ประโยคทีส่วนปรุงแต่ง
ให้มีข้อความมากขึ้น เช่น

          ครูให้รางวัลแก่นักเรียนที่ขยันตั้งใจเรียน (ขยายกรรม)
          วิโรจน์เดินทางถึงบ้านเมื่อวานนี้เอง (ขยายกริยา)
          นายแม่นภารโรงถูกล๊อตเตอรี่รางวัลที่หนึ่ง (ขยายประธาน)

     ประโยคความซ้อน คือ ประโยคประกอบด้วยประโยคหลักหรือมุขประโยคและมีประโยคย่อยหรืออนุประโยคซ้อนอยู่
ประโยคย่อยนี้อาจทาหน้าที่ขยายประธาน ขยายกริยาหรือขยายกรรมในประโยคหลัก โดยมีประพันธสรรพนาม (ผู้, ที,่ ซึ่ง,
อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรือบุพบทเป็นบทเชื่อม ให้มีรายละเอียดมากขึ้น

           ประโยคหลัก (มุขยประโยค) คือ ประโยคที่เป็นใจความสาคัญที่ต้องการสื่อสาร
           ประโยคย่อย (อนุประโยค) คือ ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความประโยคหลัก ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ตัวอย่าง




   ประโยคย่อย (อนุประโยค) ที่ซ้อนอยู่นี้อาจทาหน้าที่เป็นประธาน บทขยายประธาน กรรมหรือ บทขยายกรรมของ
ประโยคหลัก (มุขยประโยค)

    ประโยคย่อย หรืออนุประโยคแบ่งออกเป็น 3 อย่าง คือ

    1. ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคานาม เช่น

          คนทะเลาะกันก่อความราคาญให้เพื่อนบ้าน

           คนทะเลาะกัน ทาหน้าที่เหมือนคานาม
   ฉันไม่ชอบคนเอาเปรียบผู้อื่น

    คนเอาเปรียบผู้อื่น ทาหน้าที่เหมือนคานาม

ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคานาม หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เช่น




2. ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ที่ขยายคานามหรือสรรพนาม เช่น

   ดอกไม้ที่อยู่ในสวนข้างบ้านบานสะพรั่ง

    ที่อยู่ในสวนข้างบ้าน ขยาย ดอกไม้

   ฉันชอบเสื้อที่แขวนอยู่หน้าร้าน

    ที่แขวนอยู่หน้าร้าน ขยาย เสื้อ

ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เช่น
3 ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยาหรือวิเศษณ์ เช่น

        เขาพูดเร็วจนฉันฟังไม่ทัน

         จนฉันฟังไม่ทัน ขยาย เร็ว

        ฉันหวังว่าคุณจะมา

         ว่าคุณจะมา ขยาย หวัง

     ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ หมายถึง อนุประโยคที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์เพื่อขยายนามหรือสรรพ
นามให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น ทาหน้าที่เช่นเดียวกับวิเศษ คุณานุประโยคมักจะใช้ประพันธสรรพนาม(ที่ ซึ่ง อัน ว่า ผู้) เป็น
ตัวเชื่อม เช่น
ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทาหน้าที่ีขยายกริยาหรือวิเศษณ์ เรียกว่า วิเศษณา
นุประโยค โดยสังเกตจากสันธาน เมื่อ จน เพราะ ราวกับ ระหว่างที่ ฯลฯ เช่น




     ข้อสังเกต ประโยคความซ้อนลักษณะนี้ ประโยคผลจะมาก่อนประโยคเหตุ

[แก้ไข] สรุป ประโยคความซ้อน

        ถ้ามีอนุประโยคทาหน้าที่เป็นนามหรือมีคา "ว่า" อยู่ในประโยค

         เรียกว่า นามานุประโยค

        ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "ที่" "ซึ่ง" "อัน" อยู่หน้าประโยค

         เรียกว่า คุณานุประโยค

        ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "เมื่อ" "เพราะ" "แม้ว่า" อยู่หน้าประโยค

         เรียกว่า วิเศษณานุประโยค


ขอขอบคุณข้อมูลจาก

        ประพนธ์ เรืองณรงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 (ม.2) เล่ม2 รุงเทพฯ : ประสานมิตร , 2545
        อาจารย์จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์ : คู่มือภาษาไทย Entrance ม.4-5-6 ผู้แต่ง
        นางรุ่งฟ้า รักษ์วิเขียร : ท 40212 หลักภาษา เรื่อง ประโยค โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี พิษณุโลก
        สานักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีพิษณุโลก

Retrieved from
"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%
E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8D"
ประเภทของหน้า: กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย




                                  ชนิดและหน้าที่ของประโยค


                       ความหมายและส่วนประกอบของประโยค
                               ความหมายของประโยค
    ประโยค เกิดจากคาหลายๆคา หรือวลีที่นามาเรียงต่อกันอย่างเป็นระเบียบให้แต่ละคามี
  ความสัมพันธ์กัน มีใจความสมบูรณ์ แสดงให้รู้ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เช่น สมัครไป
                            โรงเรียน ตารวจจับคนร้าย เป็นต้น

                             ส่วนประกอบของประโยค
 ประโยคหนึ่ง ๆ จะต้องมีภาคประธานและภาคแสดงเป็นหลัก และอาจมีคาขยายส่วนต่าง ๆ ได้

                                             1. ภาคประธาน
ภาคประธานในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็นผู้กระทา ผู้แสดงซึ่งเป็นส่วนสาคัญ
ของประโยค ภาคประธานนี้ อาจมีบทขยายซึ่งเป็นคาหรือกลุ่มคามาประกอบ เพื่อทาให้มีใจความ
                                  ชัดเจนยิ่งขึ้น

                                        2. ภาคแสดง
 ภาคแสดงในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่ประกอบไปด้วยบทกริยา บทกรรมและส่วนเติมเต็ม
       บทกรรมทาหน้าที่เป็นตัวกระทาหรือตัวแสดงของประธาน ส่วนบทกรรมทาหน้าที่เป็น
 ผู้ถูกกระทา และส่วนเติมเต็มทาหน้าที่เสริมใจความของประโยคให้สมบูรณ์ คือทาหน้าที่คล้าย
                        บทกรรม แต่ไม่ใช้กรรม เพราะมิได้ถูกกระทา

                             ชนิดของประโยค
            ประโยคในภาษาไทยแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามโครงสร้างการสื่อสารดังนี้

                                 1. ประโยคความเดียว
     ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีข้อความหรือใจความเดียว ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
  เอกรรถประโยค เป็นประโยคที่มีภาคประโยคเพียงบทเดียว และมีภาคแสดงหรือกริยาสาคัญ
 เพียงบทเดียว หากภาคประธานและภาคแสดงเพิ่มบทขยายเข้าไป ประโยคความเดียวนั้นก็จะ
                         เป็นประโยคความเดียวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น


                                 2. ประโยคความรวม
ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาโครงสร้างประโยคความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไปเข้า
     ไว้ในประโยคเดียวกัน โดยมีคาเชื่อมหรือสันธานทาหน้าที่เชื่อมประโยคเหล่านั้นเข้า
  ด้วยกัน ประโยคความรวมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อเนกกรรถประโยค ประโยคความรวมแบ่ง
                            ใจความออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้

  2.1 ประโยคที่มีความคล้อยตามกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ประกอบด้วยประโยคเล็กตั้งแต่ 2
       ประโยคขึ้นไป มีเนื้อความคล้อยตามกันในแง่ของความเป็นอยู่ เวลา และการกระทา
                                             ตัวอย่าง
                   „ ทรัพย์ และ สินเป็นลูกชายของพ่อค้าร้านสรรพพาณิชย์
                    „ ทั้ง ทรัพย์ และ สินเป็นนักเรียนโรงเรียนอาทรพิทยาคม
            „ ทรัพย์เรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ไปเรียนต่อที่วิทยาลัยอาชีวศึกษา
                   „ พอ สินเรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ มาช่วยพ่อค้าขาย
               สันธานที่ใช้ใน 4 ประโยค ได้แก่ และ, ทั้ง ‟ และ, แล้วก็, พอ ‟ แล้วก็

                หมายเหตุ : คา “แล้ว” เป็นคาช่วยกริยา มิใช่สันธานโดยตรง

 2.2 ประโยคที่มีความขัดแย้งกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค มี
               เนื้อความที่แย้งกันหรือแตกต่างกันในการกระทา หรือผลที่เกิดขึ้น
                                               ตัวอย่าง
                                    „ พี่ตีฆ้อง แต่ น้องตีตะโพน
                                „ ฉันเตือนเขาแล้ว แต่ เขาไม่เชื่อ
2.3 ประโยคที่มีความให้เลือก ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยคและ
                              กาหนดให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
                                         ตัวอย่าง
                        „ ไปบอกนายกิจ หรือ นายก้องให้มานี่คนหนึ่ง
                            „ คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรีสากล

 2.4 ประโยคที่มีความเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน ประโยคความรวมชนิดนี้ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2
                       ประโยค ประโยคแรกเป็นเหตุประโยคหลังเป็นผล
                                           ตัวอย่าง
                 „ เขามีความเพียรมาก เพราะฉะนั้น เขา จึง ประสบความสาเร็จ
                         „ คุณสุดาไม่อิจฉาใคร เธอ จึง มีความสุขเสมอ

                                            ข้อสังเกต
 „ สันธานเป็นคาเชื่อมที่จ้าเป็นต้องมีประโยคความรวม และจะต้องใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อความใน
  ประโยค ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า สันธานเป็นเครื่องกาหนดหรือชี้บ่งว่าประโยคนั้นมีใจความแบบใด
„ สันธานบางคาประกอบด้วยคาสองคา หรือสามคาเรียงอยู่ห่างกัน เช่น ฉะนั้น ‟ จึง, ทั้ง ‟ และ, แต่
        ‟ ก็ สันธานชนิดนี้เรียกว่า “สันธานคาบ” มักจะมีคาอื่นมาคั่นกลางอยู่จึงต้องสังเกตให้ดี
     „ ประโยคเล็กที่เป็นประโยคความเดียวนั้น เมื่อแยกออกจากประโยคความรวมแล้ว ก็ยังสื่อ
                                       ความหมายเป็นที่เข้าใจได้


                                 3. ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วยประโยคความ
 เดียวที่มีใจความสาคัญ เป็นประโยคหลัก (มุขยประโยค) และมีประโยคความเดียวที่มีใจความ
 เป็นส่วนขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคหลัก เป็นประโยคย่อยซ้อนอยู่ในประโยคหลัก (อนุ
 ประโยค) โดยทาหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก ประโยคความซ้อนนี้เดิม เรียกว่า สังกร
                                       ประโยค
               อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี 3 ชนิด ทาหน้าที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้

3.1 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่แทนนาม (นามานุประโยค) อาจใช้เป็นบทประธานหรือบทกรรม หรือ
ส่วนเติมเต็มก็ได้ ประโยคย่อยนี้เป็นประโยคความเดียวซ้อนอยู่ในประโยคหลักไม่ต้องอาศัยบท
                                     เชื่อมหรือคาเชื่อม

               ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่เป็นประโยคย่อยทาหน้าที่แทนนาม
                                 „ คนทาดีย่อมได้รับผลดี
                           คน...ย่อมได้รับผลดี : ประโยคหลัก
                       คนทาดี : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทประธาน

                                „ ครูดุนักเรียนไม่ทาการบ้าน
                                ครูดุนักเรียน : ประโยคหลัก
                นักเรียนไม่ทาการบ้าน : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกรรม
 3.2 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายประธานหรือบทขยายกรรมหรือบทขยายส่วนเติมเต็ม
(คุณานุประโยค) แล้วแต่กรณี มีประพันธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน ผู) เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับ
                                                            ้
                                    ประโยคย่อย
             ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทขยาย

                          „ คนที่ประพฤติดีย่อยมีความเจริญในชีวิต
                                  ที่ประพฤติ ขยายประธาน คน
                       - คน...ย่อมมีความเจริญในชีวิต : ประโยคหลัก
                               - (คน) ประพฤติดี : ประโยคย่อย

                                  „ ฉันอาศัยบ้านซึ่งอยู่บนภูเขา
                                 ซึ่งอยู่บนภูเขา ขยายกรรม บ้าน
                                 - ฉันอาศัยบ้าน : ประโยคหลัก
                              - (บ้าน) อยู่บนภูเขา : ประโยคย่อย
   3.3 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายคากริยา หรือบทขยายคาวิเศษณ์ในประโยคหลัก
 (วิเศษณานุประโยค) มีคาเชื่อม (เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยค
                                       หลักกับประโยคย่อย

    ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกริยาหรือบทขยายวิเศษณ์

                            „ เขาเรียนเก่งเพราะเขาตั้งใจเรียน
                                เขาเรียนเก่ง : ประโยคหลัก
                        (เขา) ตั้งใจเรียน : ประโยคย่อยขยายกริยา

                                „ ครูรักศิษย์เหมือนแม่รักลูก
                                 ครูรักศิษย์ : ประโยคหลัก
                แม่รักลูก : ประโยคย่อย (ขยายส่วนเติมเต็มของกริยาเหมือน)



                                         หน้าที่ของประโยค
 ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนาของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ
อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
                     ในการสื่อสาร สามารถแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
                                  1. บอกเล่าหรือแจ้งให้ทราบ
 เป็นประโยคที่มีเนื้อความบอกเล่าบ่งชี้ให้เห็นว่า ประธานทากริยา อะไร ที่ไหน อย่างไร และ
                                             เมื่อไหร่ เช่น
                                        - ฉันไปพบเขามาแล้ว
                                  - เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติ
                                                2. ปฏิเสธ
  เป็นประโยคมีเนื้อความปฏิเสธ จะมีคาว่า ไม่ ไม่ได้ หามิได้ มิใช่ ใช่ว่า ประกอบอยู่ด้วยเช่น
                              - เรา ไม่ได้ ส่งข่าวถึงกันนานแล้ว
                                   - นั่น มิใช่ ความผิดของเธอ
                                             3. ถามให้ตอบ
เป็นประโยคมีเนื้อความเป็นคาถาม จะมีคาว่า หรือ ไหม หรือไม่ ทาไม เมื่อไร ใคร อะไร ที่ไหน
                        อย่างไร อยู่หน้าประโยคหรือท้ายประโยค เช่น
                                   - เมื่อคืนคุณไป ที่ไหน มา
                                - เธอเห็นปากกาของฉัน ไหม
                                 4. บังคับ ขอร้อง และชักชวน
  เป็นประโยคที่มีเนื้อความเชิงบังคับ ขอร้อง และชักชวน โดยมีคาอนุภาค หรือ คาเสริมบอก
                                  เนื้อความของประโยค เช่น
                                       - ห้าม เดินลัดสนาม
                                          - กรุณา พูดเบา

                                             สรุป
การเรียบเรียงถ้อยคาเป็นประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน สามารถ
 ขยายให้เป็นประโยคยาวขึ้นได้ด้วยการใช้คา กลุ่มคา หรือประโยค เป็นส่วนขยาย ยิ่งประโยคมี
ส่วนขยายหรือองค์ประกอบมากส่วนเพียงใด ก็จะยิ่งทาให้การสื่อสารเกิดความเข้าใจต่อกันมาก
   ขึ้นเพียงนั้น ข้อสาคัญ คือ ต้องเข้าใจรูปแบบประโยค การใช้คาเชื่อมและคาขยาย ทั้งนี้ต้อง
คานึงถึงเจตนาในการส่งสารด้วย ผู้มีทักษะในการเรียบเรียงประโยคสามารถพัฒนาไปสู่การเขียน
  เล่า บอกเรื่องราวที่ยืดยาวได้ตามเจตนาของการสื่อสาร ดังนั้นผู้ใช้ภาษาจึงต้องศึกษาและทา
   ความเข้าใจโครงสร้างประโยค และวิธีการสร้างประโยคให้แจ่มแจ้งชัดเสียก่อนจะทาให้การ
         สื่อสารเกิดประสิทธิผล และสามารถใช้ภาษาสื่อสารให้เกิดความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2Ponpirun Homsuwan
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 

Viewers also liked

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Similar to ประโยคในภาษาไทย

การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พrootssk_123456
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษnaaikawaii
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 

Similar to ประโยคในภาษาไทย (20)

การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
Sentence
SentenceSentence
Sentence
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
Parts of Speech 2
Parts of Speech 2Parts of Speech 2
Parts of Speech 2
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
47 61
47 6147 61
47 61
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
2.sentenceandclause
2.sentenceandclause2.sentenceandclause
2.sentenceandclause
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 

ประโยคในภาษาไทย

  • 1. ประโยคในภาษาไทย แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ ๑. ประโยคความเดียว ( เอกรรถประโยค) ๒. ประโยคความ) ๓. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค) เดียว ( เอกรรถประโยค) ประโยคความเดียว ( เอกรรถประโยค) . ประโยค ๓. ประโย ประโยค คือ ถ้อยคาที่มีเนื้อความสมบูรณ์ และมีโครงสร้างประโยคถูกต้องไม่ว่าจะเป็นภาคประธาน หรือภาคแสดง ประโยคสามัญ ประโยคสามัญแบ่งเป็นประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน จากประโยคทั้งสามนี้เพิ่มคา ขยายหรือข้อความขยาย การรวมประโยคดังกล่าวเข้าด้วยกันทาให้กลายเป็นประโยคซับซ้อนขึ้น แต่สามารถสื่อสารชัดเจน และสละสลวย ประโยคสามัญ เป็นประโยคในภาษาไทย ตามข้อความแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) คือ ประโยคที่มีข้อความเพียงหนึ่งข้อความ หรือมีใจความสาคัญเพียงหนึ่งเดียว มีภาคประธานภาคเดียว ภาคแสดงภาค เดียว สังเกตได้จากมีกริยาสาคัญเพียงตัวเดียว หลักภาษาไทยเรียกว่า เอกัตถะประโยค มาจาก เอก + อัตถะ + ประโยค (เอก = หนึ่ง อัตถะ = ข้อความ) หมายถึง ประโยคมีข้อความเดียว เช่น  นักเรียนอ่านหนังสือ  คุณพ่อกลับบ้านตอนเย็น  แม่ค้าขายผักปลา ตัวอย่าง ประโยคความเดียวประโยคที่กริยาไม่ต้องมีกรรมมารับ
  • 2. ตัวอย่าง ประโยคความเดียวประโยคที่กริยาต้องมีกรรมมารับ ตัวอย่าง ประโยคความเดียว "เป็น" เป็นกิริยาที่ต้องอาศัยส่วนเติมเต็มเพื่อให้เนื้อความสมบูรณ์ ข้อสังเกต ประโยคความเดียวจะมีประธานเดียว กริยาเดียว กรรมเดียว 2. ประโยคความรวม (อเนกัตถประโยค) หลักภาษาไทยเรียกประโยคชนิดนี้ว่า อเนกัตถะประโยค ซึ่งมาจาก อน + เอก + อัตถะ + ประโยค (อน = ไม่ เอก = หนึ่ง อัตถะ = ข้อความ) หมายถึง ประโยคมีข้อความไม่ใช่หนึ่งข้อความ นั่นคือ ประโยคมีข้อความมากกว่าหนึ่งข้อความ เช่น  เงินทองเป็นของหายากและมันคือแก้วสารพัดนึก  พิเชษฐ์ร่ารวยมหาศาลแต่เขาเป็นคนตระหนี่มาก  ยุพดีผ่านการสอบมาได้เพราะเธอมีความเพียรพยายามสูง ประโยคความรวม คือ การนาประโยคความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคมารวมกันและเชื่อมประโยคด้วยคาสันธาน โดยใช้ สันธานเป็นตัวเชื่อมแต่ก็สามารถแยกออกเป็นประโยคความเดียว ที่มีใจความสมบูรณ์ได้เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเพิ่มส่วนใด ส่วนหนึ่งในประโยค เช่น ประโยคความรวม แบ่งย่อยได้เป็น 4 แบบ ดังนี้
  • 3. 2.1 ประโยคที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน คือ ประโยคความเดียว 2ประโยคที่นามารวมกันโดยมีเนื้อความสอดคล้องกันมี สันธาน และ แล้ว แล้ว...ก็ ครั้ง...จึง พอ...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ก) ประธานหนึ่งคนทากริยา 2 กริยาต่อเนื่องกัน เช่น ข) ประธานสองคนทากริยาอย่างเดียวกัน เช่น 2.2 ประโยคที่มีเนื้อความขัดแข้งกัน คือ ประโยคความเดียว 2 ประโยค ที่นามารวมกัน โดยมีเนื้อความขัดแย้งกัน กริยา ในแต่ละประโยคตรงกันข้ามกัน ส่วใหญ่จะมีสันธาน แต่ แต่ทว่า กว่า...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม เช่น 2.3 ประโยคที่มีเนื้อความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ ประโยคที่มี กริยา 2 กริยาที่ต่างกัน มีสันธาน หรือ หรือไม่ก็ มิฉะนั้น...ก็ ฯลฯ เป็นตัวเชื่อม เช่น 2.4 ประโยคที่มีเนื่อความเป็นเหตุเป็นผล คือ ประโยคที่มีประโยคความ เดียวประโยคหนึ่งมีเนื้อความเป็นประโยคเหตุ และมีประโยคความเดียวอีกประโยค หนึ่งมีเนื้อความเป็นประโยคผล มีสันธาน จึง ฉะนั้น ดังนั้น เพราะฉะนั้น ฯลฯ เป็น ตัวเชื่อม เช่น
  • 4. ข้อสังเกต ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลนั้น ประโยคเหตุจะต้องมาก่อน ประโยคผลเสมอ และ ประโยคความรวมจะมีคาว่า และ แต่ หรือ ก็ เป็นสันธานเชื่อมประโยค 3. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค) หลักภาษาไทยเรียกประโยคความซ้อนว่า สังกรประโยค (อ่านว่า สัง-กอ-ระ-ประโยค) แปลว่า ประโยคทีส่วนปรุงแต่ง ให้มีข้อความมากขึ้น เช่น  ครูให้รางวัลแก่นักเรียนที่ขยันตั้งใจเรียน (ขยายกรรม)  วิโรจน์เดินทางถึงบ้านเมื่อวานนี้เอง (ขยายกริยา)  นายแม่นภารโรงถูกล๊อตเตอรี่รางวัลที่หนึ่ง (ขยายประธาน) ประโยคความซ้อน คือ ประโยคประกอบด้วยประโยคหลักหรือมุขประโยคและมีประโยคย่อยหรืออนุประโยคซ้อนอยู่ ประโยคย่อยนี้อาจทาหน้าที่ขยายประธาน ขยายกริยาหรือขยายกรรมในประโยคหลัก โดยมีประพันธสรรพนาม (ผู้, ที,่ ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรือบุพบทเป็นบทเชื่อม ให้มีรายละเอียดมากขึ้น ประโยคหลัก (มุขยประโยค) คือ ประโยคที่เป็นใจความสาคัญที่ต้องการสื่อสาร ประโยคย่อย (อนุประโยค) คือ ประโยคที่ทาหน้าที่ขยายความประโยคหลัก ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตัวอย่าง ประโยคย่อย (อนุประโยค) ที่ซ้อนอยู่นี้อาจทาหน้าที่เป็นประธาน บทขยายประธาน กรรมหรือ บทขยายกรรมของ ประโยคหลัก (มุขยประโยค) ประโยคย่อย หรืออนุประโยคแบ่งออกเป็น 3 อย่าง คือ 1. ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคานาม เช่น  คนทะเลาะกันก่อความราคาญให้เพื่อนบ้าน คนทะเลาะกัน ทาหน้าที่เหมือนคานาม
  • 5. ฉันไม่ชอบคนเอาเปรียบผู้อื่น คนเอาเปรียบผู้อื่น ทาหน้าที่เหมือนคานาม ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคานาม หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เช่น 2. ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ที่ขยายคานามหรือสรรพนาม เช่น  ดอกไม้ที่อยู่ในสวนข้างบ้านบานสะพรั่ง ที่อยู่ในสวนข้างบ้าน ขยาย ดอกไม้  ฉันชอบเสื้อที่แขวนอยู่หน้าร้าน ที่แขวนอยู่หน้าร้าน ขยาย เสื้อ ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ หมายถึง ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมของประโยค เช่น
  • 6. 3 ประโยคย่อยทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยาหรือวิเศษณ์ เช่น  เขาพูดเร็วจนฉันฟังไม่ทัน จนฉันฟังไม่ทัน ขยาย เร็ว  ฉันหวังว่าคุณจะมา ว่าคุณจะมา ขยาย หวัง ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์ หมายถึง อนุประโยคที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณ์เพื่อขยายนามหรือสรรพ นามให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น ทาหน้าที่เช่นเดียวกับวิเศษ คุณานุประโยคมักจะใช้ประพันธสรรพนาม(ที่ ซึ่ง อัน ว่า ผู้) เป็น ตัวเชื่อม เช่น
  • 7. ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เหมือนคาวิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทาหน้าที่ีขยายกริยาหรือวิเศษณ์ เรียกว่า วิเศษณา นุประโยค โดยสังเกตจากสันธาน เมื่อ จน เพราะ ราวกับ ระหว่างที่ ฯลฯ เช่น ข้อสังเกต ประโยคความซ้อนลักษณะนี้ ประโยคผลจะมาก่อนประโยคเหตุ [แก้ไข] สรุป ประโยคความซ้อน  ถ้ามีอนุประโยคทาหน้าที่เป็นนามหรือมีคา "ว่า" อยู่ในประโยค เรียกว่า นามานุประโยค  ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "ที่" "ซึ่ง" "อัน" อยู่หน้าประโยค เรียกว่า คุณานุประโยค  ถ้าอนุประโยคมีคาว่า "เมื่อ" "เพราะ" "แม้ว่า" อยู่หน้าประโยค เรียกว่า วิเศษณานุประโยค ขอขอบคุณข้อมูลจาก  ประพนธ์ เรืองณรงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 (ม.2) เล่ม2 รุงเทพฯ : ประสานมิตร , 2545  อาจารย์จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์ : คู่มือภาษาไทย Entrance ม.4-5-6 ผู้แต่ง  นางรุ่งฟ้า รักษ์วิเขียร : ท 40212 หลักภาษา เรื่อง ประโยค โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี พิษณุโลก  สานักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีพิษณุโลก Retrieved from "http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2% E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8D"
  • 8. ประเภทของหน้า: กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชนิดและหน้าที่ของประโยค ความหมายและส่วนประกอบของประโยค ความหมายของประโยค ประโยค เกิดจากคาหลายๆคา หรือวลีที่นามาเรียงต่อกันอย่างเป็นระเบียบให้แต่ละคามี ความสัมพันธ์กัน มีใจความสมบูรณ์ แสดงให้รู้ว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เช่น สมัครไป โรงเรียน ตารวจจับคนร้าย เป็นต้น ส่วนประกอบของประโยค ประโยคหนึ่ง ๆ จะต้องมีภาคประธานและภาคแสดงเป็นหลัก และอาจมีคาขยายส่วนต่าง ๆ ได้ 1. ภาคประธาน
  • 9. ภาคประธานในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็นผู้กระทา ผู้แสดงซึ่งเป็นส่วนสาคัญ ของประโยค ภาคประธานนี้ อาจมีบทขยายซึ่งเป็นคาหรือกลุ่มคามาประกอบ เพื่อทาให้มีใจความ ชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ภาคแสดง ภาคแสดงในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่ประกอบไปด้วยบทกริยา บทกรรมและส่วนเติมเต็ม บทกรรมทาหน้าที่เป็นตัวกระทาหรือตัวแสดงของประธาน ส่วนบทกรรมทาหน้าที่เป็น ผู้ถูกกระทา และส่วนเติมเต็มทาหน้าที่เสริมใจความของประโยคให้สมบูรณ์ คือทาหน้าที่คล้าย บทกรรม แต่ไม่ใช้กรรม เพราะมิได้ถูกกระทา ชนิดของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามโครงสร้างการสื่อสารดังนี้ 1. ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีข้อความหรือใจความเดียว ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เอกรรถประโยค เป็นประโยคที่มีภาคประโยคเพียงบทเดียว และมีภาคแสดงหรือกริยาสาคัญ เพียงบทเดียว หากภาคประธานและภาคแสดงเพิ่มบทขยายเข้าไป ประโยคความเดียวนั้นก็จะ เป็นประโยคความเดียวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น 2. ประโยคความรวม ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาโครงสร้างประโยคความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไปเข้า ไว้ในประโยคเดียวกัน โดยมีคาเชื่อมหรือสันธานทาหน้าที่เชื่อมประโยคเหล่านั้นเข้า ด้วยกัน ประโยคความรวมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อเนกกรรถประโยค ประโยคความรวมแบ่ง ใจความออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 2.1 ประโยคที่มีความคล้อยตามกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ประกอบด้วยประโยคเล็กตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป มีเนื้อความคล้อยตามกันในแง่ของความเป็นอยู่ เวลา และการกระทา ตัวอย่าง „ ทรัพย์ และ สินเป็นลูกชายของพ่อค้าร้านสรรพพาณิชย์ „ ทั้ง ทรัพย์ และ สินเป็นนักเรียนโรงเรียนอาทรพิทยาคม „ ทรัพย์เรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ไปเรียนต่อที่วิทยาลัยอาชีวศึกษา „ พอ สินเรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ มาช่วยพ่อค้าขาย สันธานที่ใช้ใน 4 ประโยค ได้แก่ และ, ทั้ง ‟ และ, แล้วก็, พอ ‟ แล้วก็ หมายเหตุ : คา “แล้ว” เป็นคาช่วยกริยา มิใช่สันธานโดยตรง 2.2 ประโยคที่มีความขัดแย้งกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค มี เนื้อความที่แย้งกันหรือแตกต่างกันในการกระทา หรือผลที่เกิดขึ้น ตัวอย่าง „ พี่ตีฆ้อง แต่ น้องตีตะโพน „ ฉันเตือนเขาแล้ว แต่ เขาไม่เชื่อ
  • 10. 2.3 ประโยคที่มีความให้เลือก ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยคและ กาหนดให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ตัวอย่าง „ ไปบอกนายกิจ หรือ นายก้องให้มานี่คนหนึ่ง „ คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรีสากล 2.4 ประโยคที่มีความเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน ประโยคความรวมชนิดนี้ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค ประโยคแรกเป็นเหตุประโยคหลังเป็นผล ตัวอย่าง „ เขามีความเพียรมาก เพราะฉะนั้น เขา จึง ประสบความสาเร็จ „ คุณสุดาไม่อิจฉาใคร เธอ จึง มีความสุขเสมอ ข้อสังเกต „ สันธานเป็นคาเชื่อมที่จ้าเป็นต้องมีประโยคความรวม และจะต้องใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อความใน ประโยค ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า สันธานเป็นเครื่องกาหนดหรือชี้บ่งว่าประโยคนั้นมีใจความแบบใด „ สันธานบางคาประกอบด้วยคาสองคา หรือสามคาเรียงอยู่ห่างกัน เช่น ฉะนั้น ‟ จึง, ทั้ง ‟ และ, แต่ ‟ ก็ สันธานชนิดนี้เรียกว่า “สันธานคาบ” มักจะมีคาอื่นมาคั่นกลางอยู่จึงต้องสังเกตให้ดี „ ประโยคเล็กที่เป็นประโยคความเดียวนั้น เมื่อแยกออกจากประโยคความรวมแล้ว ก็ยังสื่อ ความหมายเป็นที่เข้าใจได้ 3. ประโยคความซ้อน ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วยประโยคความ เดียวที่มีใจความสาคัญ เป็นประโยคหลัก (มุขยประโยค) และมีประโยคความเดียวที่มีใจความ เป็นส่วนขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคหลัก เป็นประโยคย่อยซ้อนอยู่ในประโยคหลัก (อนุ ประโยค) โดยทาหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก ประโยคความซ้อนนี้เดิม เรียกว่า สังกร ประโยค อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี 3 ชนิด ทาหน้าที่ต่างกัน ดังต่อไปนี้ 3.1 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่แทนนาม (นามานุประโยค) อาจใช้เป็นบทประธานหรือบทกรรม หรือ ส่วนเติมเต็มก็ได้ ประโยคย่อยนี้เป็นประโยคความเดียวซ้อนอยู่ในประโยคหลักไม่ต้องอาศัยบท เชื่อมหรือคาเชื่อม ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่เป็นประโยคย่อยทาหน้าที่แทนนาม „ คนทาดีย่อมได้รับผลดี คน...ย่อมได้รับผลดี : ประโยคหลัก คนทาดี : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทประธาน „ ครูดุนักเรียนไม่ทาการบ้าน ครูดุนักเรียน : ประโยคหลัก นักเรียนไม่ทาการบ้าน : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกรรม 3.2 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายประธานหรือบทขยายกรรมหรือบทขยายส่วนเติมเต็ม
  • 11. (คุณานุประโยค) แล้วแต่กรณี มีประพันธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน ผู) เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับ ้ ประโยคย่อย ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทขยาย „ คนที่ประพฤติดีย่อยมีความเจริญในชีวิต ที่ประพฤติ ขยายประธาน คน - คน...ย่อมมีความเจริญในชีวิต : ประโยคหลัก - (คน) ประพฤติดี : ประโยคย่อย „ ฉันอาศัยบ้านซึ่งอยู่บนภูเขา ซึ่งอยู่บนภูเขา ขยายกรรม บ้าน - ฉันอาศัยบ้าน : ประโยคหลัก - (บ้าน) อยู่บนภูเขา : ประโยคย่อย 3.3 ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายคากริยา หรือบทขยายคาวิเศษณ์ในประโยคหลัก (วิเศษณานุประโยค) มีคาเชื่อม (เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยค หลักกับประโยคย่อย ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกริยาหรือบทขยายวิเศษณ์ „ เขาเรียนเก่งเพราะเขาตั้งใจเรียน เขาเรียนเก่ง : ประโยคหลัก (เขา) ตั้งใจเรียน : ประโยคย่อยขยายกริยา „ ครูรักศิษย์เหมือนแม่รักลูก ครูรักศิษย์ : ประโยคหลัก แม่รักลูก : ประโยคย่อย (ขยายส่วนเติมเต็มของกริยาเหมือน) หน้าที่ของประโยค ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนาของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้ ในการสื่อสาร สามารถแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. บอกเล่าหรือแจ้งให้ทราบ เป็นประโยคที่มีเนื้อความบอกเล่าบ่งชี้ให้เห็นว่า ประธานทากริยา อะไร ที่ไหน อย่างไร และ เมื่อไหร่ เช่น - ฉันไปพบเขามาแล้ว - เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติ 2. ปฏิเสธ เป็นประโยคมีเนื้อความปฏิเสธ จะมีคาว่า ไม่ ไม่ได้ หามิได้ มิใช่ ใช่ว่า ประกอบอยู่ด้วยเช่น - เรา ไม่ได้ ส่งข่าวถึงกันนานแล้ว - นั่น มิใช่ ความผิดของเธอ 3. ถามให้ตอบ
  • 12. เป็นประโยคมีเนื้อความเป็นคาถาม จะมีคาว่า หรือ ไหม หรือไม่ ทาไม เมื่อไร ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร อยู่หน้าประโยคหรือท้ายประโยค เช่น - เมื่อคืนคุณไป ที่ไหน มา - เธอเห็นปากกาของฉัน ไหม 4. บังคับ ขอร้อง และชักชวน เป็นประโยคที่มีเนื้อความเชิงบังคับ ขอร้อง และชักชวน โดยมีคาอนุภาค หรือ คาเสริมบอก เนื้อความของประโยค เช่น - ห้าม เดินลัดสนาม - กรุณา พูดเบา สรุป การเรียบเรียงถ้อยคาเป็นประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน สามารถ ขยายให้เป็นประโยคยาวขึ้นได้ด้วยการใช้คา กลุ่มคา หรือประโยค เป็นส่วนขยาย ยิ่งประโยคมี ส่วนขยายหรือองค์ประกอบมากส่วนเพียงใด ก็จะยิ่งทาให้การสื่อสารเกิดความเข้าใจต่อกันมาก ขึ้นเพียงนั้น ข้อสาคัญ คือ ต้องเข้าใจรูปแบบประโยค การใช้คาเชื่อมและคาขยาย ทั้งนี้ต้อง คานึงถึงเจตนาในการส่งสารด้วย ผู้มีทักษะในการเรียบเรียงประโยคสามารถพัฒนาไปสู่การเขียน เล่า บอกเรื่องราวที่ยืดยาวได้ตามเจตนาของการสื่อสาร ดังนั้นผู้ใช้ภาษาจึงต้องศึกษาและทา ความเข้าใจโครงสร้างประโยค และวิธีการสร้างประโยคให้แจ่มแจ้งชัดเสียก่อนจะทาให้การ สื่อสารเกิดประสิทธิผล และสามารถใช้ภาษาสื่อสารให้เกิดความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น