SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 1
พระประวัติ

	 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปรินายก ถือบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ
พระชันษาย่าง ๑๔ ปี ณ วัดเทวสังฆาราม ต่อมาทรง
ย้ายมาศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดเสน่ห์หา อ.เมือง
จ.นครปฐม ๒ พรรษา ก่อนจะย้ายมาศึกษาต่อที่วัด
บวรนิเวศวิหาร ในสมัยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรม
หลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงครองพระอาราม พระองค์
ทรงศึกษาธรรมบาลีสอบได้ประโยคต่างๆ มาโดยล�ำดับ
จนถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค พ.ศ. ๒๔๗๖ ทรงกลับ
ไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดเทวสังฆวราม
ครั้นถึงช่วงออกพรรษาทรงกลับมาอุปสมบทอีกครั้ง เพื่อญัตติเป็นธรรมยุต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวง
วชิรญาณวงศ์ ครั้งยังเป็นสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาณย์ และพระรัตนธัชมุนี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า	
สุวฑฺฒโน อันมีความหมายว่า ผู้เจริญปรีชายิ่งในอุดมปาพจน์
	 เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงผนวชและประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร สมเด็จพระญาณสังวรได้รับหน้าที่เป็นพระอภิบาล
โดยตลอด และต่อมาได้เป็นผู้ถวายพระธรรมเทศนา พระมงคลวิเสสกถา ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗ ได้รับ
พระราชทานสมณศักดิ์มาโดยล�ำดับ
	 พระชนมายุ ๓๔ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่พระโสภนคณาภรณ์
	 พระชนมายุ ๓๙ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามเดิม
	 พระชนมายุ ๔๒ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามเดิม
	 พระชนมายุ ๔๓ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่พระธรรมคุณาภรณ์
	 พระชนมายุ ๔๘ ปี เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรองที่ พระสาสนโสภณ
	 พระชนมายุ ๕๙ ปี ได้ร้บพระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระญาณสังวร พ.ศ. ๒๕๓๒ ทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนา
เป็นสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชเจ้า สกลมหาสังฆปรินายก เป็นพระองค์แรกทีใช้พระนามเดิมเฉกนี้ และทรงให้ถอเป็นแบบธรรมเนียม
่
ื
ตราในกฎมหาเถรสมาคมสืบมา
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
ประวัติ

๒

ชีวิต

๗

คนดี
ความสุข

๒๕

๑๕
๑๐๐ พระชันษา สังฆราชานุสรณ์
	 สามตุลา	 	
พระบิดา	 	 	 	
เป็นพระมุข	 	 	
แจ้งมรรคผล		 	
	 ท่านเป็นพระ	
เมื่อทรงคราว		 	
พสกนิกร		 	 	
ธรรมครองใจ		 	
	 ทรงประกอบ	
ยังกุศล	 	 	 	
แผ่นดินไทย	 	 	
ประกาศก้อง		 	
	 สร้างวัดวา		
ทั้งช่วยเหลือ		 	
ด้านโรงเรียน		 	
ผู้ยากไร้	 	 	 	

ดิถี	
	
อุปัชฌาย์	 	
ปกครองสัง-	 	
แผ่ธรรม	 	
อภิบาล	 	
บรรพชา	 	
ปลาบปลื้ม	 	
ครองราช	 	
พระกิจ	 	
ในคราว	 	
แผ่นดินธรรม		
พุทธธรรม	 	
อุปถัมภ์	 	
สงเคราะห์	 	
โรงพยาบาล	 	
คณะสงฆ์	 	

ร้อยชันษา
คณะสงฆ์
ฆมณฑล
น�ำทั่วไทย
ในหลวงเจ้า
มหาสมัย
ในฤทัย
ปราชญ์เรืองรอง
การมงคล
เฉลิมฉลอง
แผ่นดินทอง
น�ำสุขใจ
ค�้ำจุนเจือ
การหลากหลาย
ที่ห่างไกล
วงศ์พระเณร

	 ทรงนิพนธ์		
อักขระ	 	 	 	
แตกฉานใน	 	 	
โลกได้เห็น	 	 	
	 ขอพระองค์	
ชนผองไทย	 	 	
ถวายน�ำให้	 	 	
เจริญฌาน	 	 	

หนังสือ	
ไตรปิฎก	
บาลีธรรม	
ผลงานท่าน	
ทรงพระ	
น้อมใจ	
สุขสดชื่น	
ญาณสังวร	

	
	
	
	
	
	
	
	

สื่อธรรมะ
ยกให้เห็น
น�ำสุขเย็น
อันโอฬาร
พลานามัย
ร่วมประสาน
ยั่งยืนนาน
พรเลิศเอย
ชีวิต
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 7
มนุ ษ ย์ ที่ แ ปลอย่ า งหนึ่ ง ว่ า

ผู ้ มี จิ ต ใจสู ง คื อ	
มีความรู้สูง ดังจะเห็นได้ว่าคนเรามีพื้นปัญญาสูงกว่าสัตว์
ดิรจฉานมากมาย สามารถรูจกเปรียบเทียบในความดี ความชัว
ั
้ั
่
ความควรท�ำไม่ควรท�ำ  รู้จักละอาย รู้จักเกรง รู้จักปรับปรุง
สร้างสรรค์ที่เรียกว่าวัฒนธรรม อารยธรรม ศาสนา เป็นต้น
แสดงว่ามีความดีที่ได้สั่งสมมา โดยเฉพาะปัญญาเป็นรัตนะ	
ส่องสว่างน�ำทางแห่งชีวิต ถึงดังนั้นก็ยังมีความมืดที่มาก�ำบัง
จิตใจให้เห็นผิดเป็นชอบ ความมืดทีสำคัญนันก็คอ กิเลสในจิตใจ
่�
่ ื
และกรรมเก่าทั้งหลาย

8 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ค� ำ ว่ า ชี วิ ต มิ ไ ด้ มี ค วามหมายเพี ย งแค่ ค วามเป็ น อยู ่	
แห่งร่างกาย แต่หมายถึงความสุข ความทุกข์ ความเจริญ ความเสื่อม
ของบุคคลในทางต่างๆ ด้วย บางคนมีปัญหาว่า จะวาดภาพชีวิตของ
ตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิต และ
จะไปถึงจุดมุ่งหมายนั้นหรือ ที่นึกที่วาดภาพไว้นั้นด้วยอะไร ปัญหา	
ที่ถามคลุมไปดังนี้ น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะบุคคลได้ยาก เพราะไม่รู้
ว่าทางแห่งชีวตของแต่ละบุคคลตามทีกรรมก�ำหนดไว้เป็นอย่างไร และ
ิ
่
ถ้าวาดภาพของชีวิตอนาคตไว้เกินวิสัย ของตนที่จะพึงถึง แบบที่เรียก
ว่าสร้างวิมานบนอากาศ ก็จะเกิดความส�ำเร็จขึ้นมาไม่ได้แน่ หรือแม้
วาดภาพชีวิตไว้ในวิสัยที่พึงได้พึงถึง แต่ขาดเหตุที่จะอุปการะให้ไปถึง
จุดหมายนั้น ก็ยากอีกเหมือนกันที่จะเกิดเป็นความจริงขึ้นมา

๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 9
เราเกิดมาด้วยตัณหา ความอยากและกรรมเพื่อสนองตัณหาและกรรม
ของตนเอง ตัณหาและกรรมจึงเป็นตัวอ�ำนาจหรือผู้สร้างให้เราเกิดมา ใครเล่าเป็นผู้
สร้างอ�ำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือตัวเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเองและเป็นผู้ท�ำกรรม
ฉะนั้นตนนี้เองแหละเป็นผู้สร้างให้ตนเองเกิดมา อนุมานดูตามค�ำของผู้ตรัสรู้นี้ใน
กระแสปัจจุบัน สมมติว่าอยากเป็นผู้แทนราษฏร ก็สมัครรับเลือกตั้งและหาเสียง	
เมือชนะคะแนนก็เป็นผูแทนราษฎร นีคอความอยากเป็นเหตุให้ทำกรรม คือท�ำการต่างๆ	
่
้
่ื
�
ตังแต่การสมัคร การหาเสียง เป็นต้น ซึงเป็นเหตุให้ได้รบผล คือได้เป็นผูแทน
้
่
ั
้
	 ความเปลี่ยนแปลงของชีวิต หรือของโลกเป็นทุกข์ประจ�ำชีวิตหรือ
ประจ�ำโลกไม่เป็นเรื่องแปลกประหลาดอันใด เมื่อจะสรุปกล่าวให้สั้น ความเกิด แก่
เจ็บ ตาย ทั้งสี่นี้ย่อลงเป็นสอง คือความเกิดและความดับซึ่งเป็นสิ่งที่สกัดหน้าสกัด
หลังของโลก ของชีวิตทุกชีวิตนี่เรียกคติธรรมดา แปลว่า ความเป็นไปตามธรรมดา
ความไม่สบายใจทุกๆ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงชี้ว่าเป็นทุกข์ ทุกคนคงเคยประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก พลัดพรากจากสิ่งที่เป็น
ที่รัก ปรารถนาไม่ได้สมหวัง เกิดทุกข์โศกต่างๆ นี่แหละพระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่าเป็นทุกข์โลกหรือชีวิต ประกอบด้วยทุกข์	
ดังกล่าวมาแล้ว ฉะนั้นทุกข์จึงเป็นความจริงที่โลกหรือทุกชีวิตต้องเผชิญ
10 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ชีวตคนเรา เติบโตขึนมาด�ำรงชีวตอยูได้ดวยความเมตตากรุณาจากผูอนมา
ิ
้
ิ ่ ้
้ ื่
ตั้งแต่เบื้องต้น คือ เมตตา กรุณา จากบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท	
มิตรสหาย ถ้าไม่ได้รับความเมตตา ก็อาจจะสิ้นชีวิตไปแล้ว เพราะถูกทิ้ง
	 เมื่อเราเติบโตมาจากความเมตตากรุณา ก็ควรมีความเมตตากรุณาต่อชีวิตอื่น
ต่อไป

	 วิธปลูกความเมตตากรุณา คือ ต้องตังใจปรารถนาให้เขาเป็นสุข ตังใจ
ี
้
้

ปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์ โดยเริ่มจากเมตตาตัวเองก่อน แล้วคิดไปถึงคน	
ใกล้ชด คนทีเ่ รารัก จะท�ำให้เกิดความเมตตาได้งายแล้วค่อยๆ คิดไปให้ความเมตตา	
ิ
่
ต่อคนที่ห่างออกไปโดยล�ำดับ
	 ตนรักชีวิตของตน สะดุ้งกลัวความตายฉันใดสัตว์อื่นก็รักชีวิตตนและ
สะดุ้งกลัวความตายฉันนั้น ฉะนั้นจึงไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรใช้ให้ผู้อื่นฆ่า อนึ่ง ตนรัก
สุขเกลียดทุกข์ฉันใด สัตว์อื่นก็รักสุขเกลียดทุกข์ฉันนั้น จึงไม่ควรสร้างความสุข	
ให้ตนเองด้วยการก่อความทุกข์ให้แก่คนอื่น
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 11
คติธรรมดาที่ไม่มีใครเกิดมาในโลกนี้ จะหนีไปให้พ้น
ได้ ก็คอ ความแก่ ความตาย แต่คนโดยมากพากันประมาทเหมือนอย่าง
ื
ว่าไม่แก่ ไม่ตาย น่าที่จะรีบท�ำความดี แต่ก็ไม่ท�ำ  กลับไปท�ำความชั่ว	
ก่อความเดือดร้อนให้แก่กันและกัน ต่างต้องเผชิญทุกข์เพราะกรรมที่
ต่างก่อให้แก่กนอีกด้ว ยฉะนัน ก็นาจะนึกถึงความแก่ ความตายกันบ้าง
ั
้ ่
เพื่อจะได้ลดความมัวเมา และท�ำความดี
	 การฆ่าตัวตาย เป็นการแสดงความอับจนพ่ายแพ้หมดหนทาง
แก้ไข หมดทางออกอย่างอืน สินหนทางแล้ว เมือฆ่าตัวก็เป็นการท�ำลาย
่ ้
่
ตัว เมื่อท�ำลายตัวก็เป็นการท�ำลายประโยชน์ทุกอย่างที่พึงได้ในชีวิต	
ในบางกลุ่ม บางหมู่เห็นว่าการฆ่าตัวตายในบางกรณีเป็นเกียรติสูง	
แต่ทางพระพุทธศาสนาแสดงว่าเป็นโมฆกรรม คือกรรมทีเ่ ปล่าประโยชน์
เรียกผู้ท�ำว่า คนเปล่า เท่ากับว่าตายเปล่าๆ ควรจะอยู่ท�ำอะไรให้เกิด
ประโยชน์ต่อไปได้ ก็หมดโอกาส
12 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
การแก้ปัญหาของคนเรา ถ้าไม่ป้องกันไว้ก่อนแก้
ไม่ทัน ก็แก้ปัญหายังเล็กน้อยจะง่ายกว่า เหมือนอย่างดับไฟกอง
เล็กง่ายกว่าดับไฟกองโต ถ้าเป็นผูทสนใจธรรมะบ้าง ก็จะหาหนทาง
้ ี่
ปฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ดั ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ยกขึ้ น แสดงว่ า ธรรมะ	
พันเกี่ยวข้องกับตัวเราเองทุกๆ คนไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ผู้ชายหรือ	
ผู้หญิง ถ้าตั้งใจมั่นในการประพฤติธรรมให้พอเหมาะแก่ภาวะ	
ของตนเอง ก็จะท�ำตนให้พนจากความทุกข์ภยพิบตได้ ถ้าไม่ปฏิบติ
้
ั ัิ
ั
ก็อาจจะเผลอพลั้งพลาด และถ้าไม่รู้วิธีแก้ปัญหาด้วยธรรมะก็อาจ
จะท�ำให้หลุดพ้นจากบ่วงปัญหาได้ยาก ฉะนัน ถ้าสนใจพระธรรมบ้าง
้
ก็จะมีเครื่องป้องกันแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์ ดังค�ำกล่าวที่ว่า	
พระธรรมคุ้มครอง

๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 13
ญาณสังวรบูชา
	 น้อมกล่าวกลอน 	
สังฆรัตน์	 	 	 	 	
บิดาน้อย	 	 	 	 	
ประสูติลง		 	 	 	
	 เทวสัง-		 	 	
คชวัชร	 	 	 	 	
อุปัชฌาย์		 	 	 	
ท่านจึงมี	 	 	 	 	
	 สืบหน่อเนื้อ	 	
ครั้งบวชพระ		 	 	
สังฆราชเจ้า	 	 	 	
ได้ฉายา	 	 	 	 	
	 ท่านทรงรัก	 	
เรียนบาลี		 	 	 	
เทศนา	 	 	 	 	
วัดบวร	 	 	 	 	

บูชา	
ประมุข	
กินน้อย	
บ้านเหนือ	
ฆาราม	
นามเจริญ	
ชื่อว่า	
ความดี	
องค์เณรใน	
ยิ่งส�ำรวม	
หม่อมชื่น	
สุวัฑฒโน	
ศีลธรรม	
นักธรรม	
โปรดหมู่	
ปลูกศรัทธา	

พระประวัติ
คณะสงฆ์
มารดาองค์
กาญจน์บุรี
ธรรมอุบัติ
สง่าศรี
หลวงพ่อดี
น�ำเนื่องมา
สรณะ
ในสิกขา
พระอุปัชฌาย์
โพธิ์อัมพร
พระเณรดี
ทรงสั่งสอน
ชนนิกร
พาบ�ำเพ็ญ

	 นานาชาว	 	
ล้วนแซ่ซ้อง	 	 	
สมเด็จพระ	 	 	
พระจึงเป็น	 	 	
	 กราบปณต	
ไทยทั้งชาติ	 	 	
ร่วมจัดงาน	 	 	
ประเสริฐล้น		 	
	 คุณธรรม	 	
มากล้นเหลือ		 	
เจริญรอยตาม	 	
เทพบูชา	 	 	 	

	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	
	

อารยะ	
พระนาม	
ญาณสังวร	
ครูคู่บุญ	
แทบเท้า	
เกื้อหนุน	
บูชา	
ดิถียาม	
ความดี	
ยิ่งยืน	
พระบาท	
อภิบาล	

ต่างยกย่อง
ประจักษ์เห็น
ไทยร่มเย็น
องค์ภูมิพล
ฝ่าพระบาท
บุญกุศล
มหามงคล
สามตุลา	
ร้อยปีเกื้อ	
พระชันษา
องค์ศาสดา
ท่านสุขเอย
คนดี
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 15
อันคนที่ท�ำงาน ที่เป็นคุณให้เกิดประโยชน์ย่อมจะต้อง
ประสบถ้อยค�ำถากถาง หรือการขัดขวางน้อยหรือมาก ผู้มีใจอ่อนแอ	
ก็จะเกิดความย่อท้อ ไม่อยากที่จะท�ำดีต่อไป แต่ผู้มีก�ำลังใจย่อมไม่
ท้อถอย ยิงถูกค่อนแคะก็ยงจะเกิดก�ำลังใจมากขึน ค�ำค่อนแคะกลายเป็น
่
ิ่
้
พาหนะที่มีเดชะแห่งการท�ำความดี แม้พระพุทธเจ้าก็ยังถูกคนที่ริษยา
มุ่งร้ายจ้างคนให้ตามด่าว่าในบางครั้ง
	
การทีจะให้ใครช่วยเหลือท�ำอะไร ต้องเลือกคนทีมี
่
่
ปัญญา ที่รู้จักผิดถูก ควรไม่ควร มิใช่ว่าถ้าเขามุ่งดีปรารถนาดีแล้ว	
เป็นมอบการงานให้ทำเรื่อยไป เพราะถ้าเป็นคนขาดปัญญา แม้จะท�ำ
�
ด้วยความตั้งใจช่วยจริง แต่ก็อาจจะท�ำการที่เป็นโทษอย่างอุกฤษฏ์	
ก็ได้

16 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
คนเรานั้น นอกจากจะมีปัญญาแล้ว ยังต้องมีความคิดอีกด้วย จึงจะ
เอาตัวรอดได้จากอันตรายต่างๆ ในโลก วิสัยของบัณฑิตคือคนที่ฉลาดนั้น	
ย่อมไม่ยอมแพ้หรืออับจนต่อเหตุการณ์ทั้งหลายที่รัดรึงเข้ามา ย่อมใช้ความคิด
คลี่คลายเอาตัวรอดปลอดภัยให้จงได้ และเป็นธรรมดาอยู่ที่คนฉลาดกว่าย่อม
เอาชนะคนที่ฉลาดน้อยกว่าได้
	 คนโง่นน เมือยังยอมอาศัยปัญญาของคนฉลาดอยู่ ก็ยงพอรักษาตนอยู่
ั้ ่
ั
ได้ แต่เมือโง่เกิดอวดฉลาดขึนมาเมือใด ก็เกิดวิบตเิ มือนัน และเมือถึงคราวคับขัน
่
้
่
ั ่ ้
่
ซึ่งจะต้องแสดงวิชาเอง คนโง่ก็จะต้องแสดงโง่ออกมาจนได้ ฉะนั้น ถึงอย่างไรก็
สู้หาวิชาใส่ตนให้เป็นคนฉลาดขึ้นเองไม่ได้ ทั้งคนดีมีวิชา ถึงจะมีรูปร่างไม่ดี	
ก็จะต้องได้ดีในที่สุด

๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 17
คนที่อ่อนแอ ย่อมแพ้อุปสรรคง่ายๆ ส่วนคนที่	
เข้มแข็งย่อมไม่ยอมแพ้ เมือพบอุปสรรคก็แก้ไขไป รักษาการ
่
งานหรือสิงมุงจะท�ำไว้ดวยจิตใจทีมงมัน ถืออุปสรรคเหมือน
่ ่
้
่ ุ่ ่
อย่างสัญญาณไฟแดงที่จะต้องพบเป็นระยะ ถ้ากลัวจะต้อง
พบสัญญาณไฟแดงตามถนนซึ่งจะต้องหยุดรถ ก็จะไปข้าง
ไหนไม่ได้ แม้การด�ำเนินชีวิตก็ฉันนั้น ถ้ากลัวจะต้องพบ
อุปสรรค ก็ท�ำอะไรไม่ได้
	 ธรรมดาผู้เป็นปุถุชน ความปรารถนาต้องการ
ย่อมบังเกิดขึ้นได้เสมอ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องก็คือ เมื่อความ
ปรารถนาต้องการเกิดขึนเมือใด ให้ทำสติพจารณาใจตนเอง
้ ่
�
ิ
อย่างผู้มีปัญญา อย่าคิดเอาเองว่าใจเป็นอย่างไร จะต้องพบ
ความจริงแน่นอนว่า ใจเป็นทุกข์ ใจเร่าร้อน ด้วยอ�ำนาจความ
ปรารถนาต้องการที่เกิดขึ้นนั้น ใจจะไม่สงบเย็นด้วยอ�ำนาจ
ความปรารถนาต้องการที่เกิดขึ้นโดยเด็ดขาด
18 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
วิธีดับความปรารถนาต้องการ	
ก็คือ หัดเป็นผู้ให้บ่อยๆ ให้เสมอๆ การให้กับการ	
ดับความปรารถนาต้องการ จะเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ	
ถ้าการให้นนเป็นการให้เพือลดกิเลสคือความโลภในใจตน	
ั้
่
มิได้เป็นการให้เพื่อหวังผลตอบแทนที่ยิ่งกว่า
		
มีคนไม่ใช่น้อยที่เรียนรู้มากมาย
อะไรดีอะไรชั่ว รู้ทั้งนั้น แต่ไม่ท�ำดี หรือท�ำก็ท�ำสิ่งไม่ดี
เรียกว่า ใช้ความรูนนช่วยตนเองไม่ได้ ก็เพราะขาดความ
้ ั้
เคารพในธรรมที่รู้ คือไม่ปฏิบัติให้สมควรแก่ความรู้
นั่นเอง

๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 19
พระพุทธศาสนา สอนให้คนเข้าใจในกรรมนั้น ไม่ได้สอน
ให้คนกลัวกรรม เป็นทาสของกรรมหรืออยู่ใต้อ�ำนาจกรรม แต่สอนให้รู้จัก
กรรม ให้ควบคุมกรรมของตนในปัจจุบน กรรมคือการอะไรทุกอย่างทีคนท�ำ
ั
่
อยู่ทุกวันทุกเวลา ประกอบด้วยเจตนา คือ ความจงใจ

ทุกคนในโลกต่างต้องถ้อยทีต้องพึ่งอาศัยกัน
ในทางใดทางหนึ่งทั้งนั้น จึงควรปฏิบัติตนในทางที่จะชื่อว่ารักษา
	 	

ไว้ทั้งตนทั้งผู้อื่น คือด้วยวิธีที่แต่ละคนตั้งใจปฏิบัติกรณียะคือกิจของตน	
ควรท�ำหน้าทีเ่ ป็นตนให้ดี และด้วยความมีนำใจทีอดทนไม่คดเบียดเบียนใคร
�้ ่
ิ
มีจิตเมตตา มีเอ็นดูอนุเคราะห์ เมื่อตั้งใจปฏิบัติกรณียะ กอปรด้วยมีน�้ำใจ	
ดังกล่าว ก็ชื่อว่ารักษาทั้งตนทั้งผู้อื่น เป็นผู้รักษาไว้ได้ทั้งหมด

20 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
หน้าที่ของคนเรา ที่จะพึงปฏิบัติต่อชีวิตร่างกาย คือ
บริ ห ารรั ก ษาให้ ป ราศจากโรค ให้ มี ส มรรถภาพและรี บ ประกอบ
ประโยชน์ให้เป็นชีวตดี ชีวตทีอดม ไม่ให้เป็นชีวตชัว ชีวตเปล่าประโยชน์
ิ
ิ ุ่
ิ ่ ิ
(โมฆชีวิต)และในขณะเดียวกัน ก็ให้ก�ำหนดรู้คติธรรมดาของชีวิต	
เพื่อความไม่ประมาท พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้ท�ำลายชีวิตร่างกาย	
ถ้าจะเกิดความอยาก ความโกรธ ความเกลียด ในอันที่จะท�ำลายชีวิต
ร่างกาย ก็ให้ทำลายความอยาก ความโกรธ ความเกลียดนันเสีย
�
้
	 	 คนที่ มี บุ ญ นั้ น บุญย่อมคอยจ้องที่จะเข้าช่วยอยู่แล้ว	
เพียงแต่เปิดโอกาสให้เข้าช่วย คือเปิดใจรับนั่นเอง การเปิดใจรับก็คือ
เปิดอารมณ์ที่หุ้มห่อออกเสียแม้ชั่วขณะหนึ่ง ด้วยสติที่ก�ำหนดท�ำใจ	
ตามวิธีของพระพุทธเจ้า เมื่อบุญได้โอกาสพรั่งพรูเข้ามาถึงใจ หรือโผล่
ขึนมาได้แล้ว จิตใจจะกลับมีความสุขอย่างยิง อารมณ์ทงหลายทีเ่ คยเห็น
้
่
ั้
ว่าดีหรือร้าย ก็จะกลับเป็นเรื่องธรรมดาโลก

๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 21
คนทีทำดีไม่นอย เป็นทุกข์เพราะการท�ำดีของตน ทีไม่กล้าทีจะท�ำดีกมี แต่คนท�ำดีทยงเป็นทุกข์ดงกล่าว ก็เพราะ
่ �
้
่
่
็
ี่ ั
ั
ยังท�ำไม่ถงความดีแห่งจิตใจของตนเอง จิตใจจึงยังท�ำไม่ถงความดีแห่งจิตใจของตนเอง จิตใจจึงยังมีความยินดียนร้ายไปตาม
ึ
ึ
ิ
อารมณ์ที่มากระทบจากคนทั้งหลาย หากได้เล็งเห็นว่าเรื่องของคนทั้งหลายนั้นเป็นเรื่องของโลก ถ้าตนเองมีจิตใจมั่นคง	
ไม่หวันไหว ก็ไม่ตองเป็นทุกข์เพราะเรืองของคนอืน การปฏิบตท�ำจิตใจของตนให้มนคงดังนี้ เป็นการสร้างความดีให้แก่จตใจ
่
้
่
่
ัิ
ั่
ิ
เป็นตัวความดีที่เป็นแก่นแท้ของความดีทั้งหลาย ซึ่งจะป้องกันความทุกข์กระทบกระเทือนใจได้ทุกอย่าง
	 ความดีนั้น เกิดจากกรรม (การงาน) ที่ดี ดังที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ ความว่า คนเป็นคนดีเพราะกรรม	
เป็นคนถ่อยก็เพราะกรรม ฉะนั้น เมื่อละเลิกกรรมที่ชั่วผิด ท�ำกรรมที่ดีที่ชอบ ก็ได้เป็นคนดีแล้ว แต่คนที่ท�ำกรรมชั่วผิด แม้
จะได้รบบัญญัติ (แต่งตัง) ว่าดีอย่างไร ก็หาชือว่าเป็นคนดีไม่ ผูทรและค้านเป็นคนแรกก็คอตนนันเอง เว้นไว้แต่จะมีตาใจบอด
ั
้
่
้ ี่ ู้
ื
่
ไปเสียแล้ว ด้วยความหลงตนไปอย่างยิ่งนั้นแหละ จึงจะไม่รู้
	 อันความดีนั้นย่อมเป็นอาภรณ์ เป็นอิสริยยศ (ยศคือความเป็นใหญ่) ของคนดี เพราะคนดีย่อมเห็นความดี
นีแหละเป็นยศอันยิงใหญ่ และย่อมพอใจประดับความดีเป็นอาภรณ์ จึงกล่าวได้วาความดีนนเป็นอิสริยาภรณ์ของคนดี
้
่
่
ั้

22 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 23
พระผู้เจริญพร้อม
	 เมืองกาญจน์ถิ่นประสูติ
ทรงเป็นบุตรอภิชาติ
บุญพระบารมีญาณ
มงคลขานนาม เจริญ

	 ทรงเจริญด้วยพระยศ
งานปรากฏบุญเกื้อหนุน
ปกครองสงฆ์องค์อดุลย์
กรรมฐานหนุนทางภาวนา

	 บรรพชาเป็นสามเณร
เทศน์อริยทรัพย์ชนสรรเสริญ
ใฝ่เพียรเรียนธรรมเพลิน
ไม่เก้อเขินครูอาจารย์

	 เป็นสังฆปาโมกข์
รู้แจ้งโลกไตรสิกขา
ส�ำรวมธรรมทรงน�ำมา
เทศนาอบรมใจ

	 วัดเหนือสู่บวร
จึงน�ำกลอนมาเล่าขาน
ประโยคเก้าทรงช�ำนาญ
ธรรมอาจหาญฌานสมบูรณ์
	 	

	 พระนามญาณสังวร
ดับทุกข์ร้อนสิ้นหวั่นไหว
พรหมวิหารเต็มพระทัย
ประทานพรให้เจริญยิ่งเทอญ
ความสุข
อั น เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ชี วิ ต	

มี อ ยู ่ เ ป็ น อั น มากที่ บั ง เกิ ด ขึ้ น โดยไม่ รู ้ ไ ม่ คิ ด มาก่ อ น	
แต่เมื่อเป็นเหตุการณ์ที่จะต้องเกิดก็เกิดขึ้นจนได้ ถ้า
หากใครมองดูเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านั้นอย่างของเล่นๆ
ไม่จริงจังก็ไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน หรือจะเกิดบ้างก็เกิด
อย่างเล่นๆ ถ้าจะหนีเหตุการณ์เสียบ้าง ก็เหมือนอย่างหนี
ไปเที่ยวเล่น หรือไปพักผ่อนเสียครั้งคราวหนึ่ง
		
พื้นแผ่นดิน แม่น�้ำ  ภูเขา ที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติ คนเรามีปัญญาถมท�ำให้เป็นถนน ขุดให้เป็น
แม่น�้ำล�ำคลอง ท�ำสะพานข้ามแม่น�้ำใหญ่ สร้างท�ำนบ
กั้นน�้ำ  ขุดอุโมงค์ทะเลภูเขา เรียกว่าใช้กรรมปัจจุบันปรับปรุงธรรมชาติฉันใด ความขรุขระของชีวิตเพราะกรรมเก่าก็ฉันนั้น
เหมือนความขรุขระของแผ่นดินตามธรรมชาติ คนเราสามารถประกอบกรรมปัจจุบนปรับปรุง สกัดกันกรรมเก่าเหมือนอย่าง
ั
้
สร้างท�ำนบกั้นน�้ำเป็นต้น เพราะคนเรามีปัญญา

26 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ทุกคนต้องการความสุข ความสบายใจด้วยกัน	
ทั้งนั้น แต่ทุกคนก็ยังไม่ได้รับสิ่งที่ต้องการ เพราะใจยังมีความ
ปรารถนาต้องการหรือความโลภนี้แหละอยู่เป็นอันมาก โดยที่ไม่
พยายามท�ำให้ลดน้อยลง เห็นจะด้วยมิได้คิดให้ประจักษ์ในความ
จริงว่า ความโลภคือเหตุใหญ่ประการหนึ่ง ซึ่งน�ำให้ทุกข์ ให้เดือด
ร้อน ให้ไม่มีความสุข ความสบายใจกันอยู่อย่างมากทั่วไปในทุก
วันนี้ แม้ท�ำสติพิจารณาให้ดีจะเห็นได้ไม่ยากนัก
	 การเพ่งดูผู้อื่นท�ำให้ตนเองไม่เป็นสุข แต่การ
เพ่งดูใจตนเองท�ำให้เป็นสุขได้ แม้ก�ำลังโกรธมาก หากเพ่งดูใจ
ตนเองให้เห็นว่าก�ำลังโกรธมาก ความโกรธก็จะลดลง เมื่อความ
โกรธน้อย หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นว่าก�ำลังโกรธน้อย ความโกรธ
ก็จะหมดไป จึงกล่าวได้ว่า ไม่ว่าจะมีอารมณ์ใดก็ตาม โลภหรือ
โกรธหรือหลงก็ตาม หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นอารมณ์นั้นแล้ว
อารมณ์นั้นจะหมดไป ได้ความสุขแทนที่ท�ำให้มีใจสบาย
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 27
ความดิ้นรนเพื่อให้ได้
สมดั ง ความปรารถนา
ต้องการ มิใช่ความสุข มิใช่ความ
	

สงบ แต่เป็นความทุกข์เป็นความร้อน
เป็นความวุ่นวาย มีคนเป็นจ�ำนวน	
ไม่น้อยที่ทั้งชีวิตไม่ได้พบความสุข
ความสงบเลย เพราะมัวปล่อยใจให้
เป็นทาสของความโลภ ไม่รู้จักท�ำสติ
พิจารณาให้เห็นโทษของความโลภ
แล้วพยายามละเสีย ดับเสีย

28 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ทุกข์ แปลว่า สิ่งที่ด�ำรงคงอยู่ได้ยาก แต่มีความหมายเป็นปฏิเสธว่า
ด�ำรงทนอยู่ไม่ได้ทีเดียว คือต้องเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ เพราะทุกอย่างในโลก
ต้องเปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้ตลอดกาล สิ่งที่เคยมี เคยเป็น ต้อง
แปรเปลียนไป เมือจิตใจรับไม่ได้กบความเปลียนแปลงทีมถง จึงท�ำให้เกิดความ
่
่
ั
่
่ีึ
ไม่พอใจ ไม่สบายใจ ก็เลยกลายเป็นความทุกข์ ตามความหมายสามัญ ค�ำว่าทุกข์
ตามความหมายสามัญ หมายถึงความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ตรงข้ามกับความสุข
ฉะนั้นเมื่อพูดถึงความทุกข์จึงมักเข้าใจกันตามหลักสามัญดังกล่าว
	
ในภาษาไทย เมื่อพูดว่าทุกข์ก็หมายกันว่าคือความไม่สบายใจ	
แต่ในทางพุทธศาสนา ยังหมายถึงความคงทน ที่อยู่คงที่ไม่ได้ ต้องแปรปรวน
เปลี่ยนแปลงไปด้วย ในโลกนี้มีอะไรเล่าที่ตั้งคงที่โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง	
ดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย ตลอดจนโลก ก็ไม่หยุดคงที่ ปี เดือน วัน คืน
ก็ไม่หยุดคงที่ ชีวิตก็ไม่หยุดคงที่ ทุกๆ คนเกิดมาแล้วก็เติบโตขึ้นเรื่อย เป็นเด็ก
เล็ ก เด็ ก ใหญ่ เป็ น หนุ ่ ม เป็ น สาว โดยล� ำ ดั บ และก็ ไ ม่ ห ยุ ด เพี ย งเท่ า นี้	
ยังเปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นผู้ใหญ่ เป็นคนแก่ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิต
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 29
เรื่องที่เป็นความไม่
สบายกาย ไม่สบายใจทั้งหมด
	

จับเข้าหลัก ๑ คือทุกข์ เรื่องที่เป็น
ความไม่ดีทั้งหมด จับเข้าหลัก ๒
คือสมุทัย เรื่องที่เป็นความสุขสงบ
เย็นทั้งหมด จับเข้าหลักที่ ๓ คือ
นิโรธ เรืองทีเ่ ป็น ความดีทงหมดจับ
่
ั้
เข้าหลัก ๔ คือมรรค เมือคิดตังหลัก
่
้
ใหญ่ไว้ดังนี้ จะท�ำอะไรก็คิด ตรวจ
ดูให้ดีว่า นี่เป็นสมุทัยก่อทุกข์ หรือ
เป็นมรรคทางสุขสงบ หัดคิดหัด
หาเหตุผลดังนีอยูเ่ สมอ เป็นการหัด
้
ให้เกิดความเห็นชอบ เมือเห็นชอบ
่
ก็เชื่อว่าพบทางที่ถูก เข้าทางที่ถูก
ซึ่งใช้ได้กับทุกเรื่อง

30 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
พระพุ ท ธเจ้ า ได้ ต รั ส เตื อ นให้ เ กิ ด สติ ขึ้ น ว่ า
ความทุกข์นมเพราะความรัก มีรกมากก็เป็นทุกข์มาก มีรก
ี้ ี
ั
ั

	

น้อยก็เป็นทุกข์น้อย จนถึงไม่มีรักเลย จึงไม่ต้องเป็นทุกข์เลย แต่ตาม
วิสยโลกจะต้องมีความรัก มีบคคล และสิงทีรก ในเรืองนี้ พระพุทธเจ้า
ั
ุ
่ ่ั
่
ได้ตรัสสอนให้มีสติควบคุมใจมิให้ความรักมีอ�ำนาจเหนือสติ แต่ให้สติ
มีอำนาจควบคุมความรัก ให้ดำเนินในทางทีถกและให้มความรูเท่าทัน
�
�
ู่
ี
้
ว่าจะต้องพลัดพรากรักสักวันหนึ่งอย่างแน่นอน เมื่อถึงคราวเช่นนั้น	
จักได้ระงับใจลงได้
	
อันความรักหรือที่รัก เมื่อผู้ใดมีร้อยหนึ่ง ผู้นั้นก็มีทุกข์
ร้อยหนึ่ง รักเก้าสิบ แปดสิบ เจ็ดสิบ หกสิบ ห้าสิบ เป็นต้น จ�ำนวนทุกข์
ก็มเท่านัน ถึงแม้มรกเพียงอย่างหนึง ก็มทกข์อย่างหนึง ต่อเมือไม่มรก
ี ้
ีั
่ ี ุ
่
่ ีั
จึงจะไม่มีทุกข์ ผู้หมดรักหมดทุกข์นั้น พระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่า	
“เป็นผู้ไม่มีโศก ไม่มีธุลีใจ ไม่มีคับแค้น”
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 31
ทางออกจากทุ ก ข์ นั้ น คื อ
ต้องรับรู้ความจริงต้องป้องกันมิให้ถล�ำลึก	
ลงไปในทางแห่งทุกข์ คือควบคุมตัณหา	
มิยอมให้ฉุดชักใจไปได้ และถ้าถล�ำใจลงไป
แล้วต้องพยายามถอนใจขึ้นให้จงได้ด้วย
ปัญญา เพราะเมือทุกข์เกิดขึนทีจตใจ ก็ตอง
่
้ ่ิ
้
ดั บ จากจิ ต ใจ และจิ ต ใจของทุ ก คนอาจ
สมมติกล่าวได้ว่าเป็นธรรมชาติกายสิทธิ์
ไม่มีอะไรจะมาท�ำลายได้ นอกจากจะยอม
จนใจของตัวเองเท่านั้น ถ้าท�ำใจให้เข้มแข็ง
ก็จะเกิดพลังใจขึ้นจนสามารถต่อสู้ต่างๆ
ขจัดขับไล่ตณหาออกไปเสียก่อน ความทุกข์
ั
ต่างๆ ก็จะออกไปพร้อมกัน

32 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ชีวิตในชาติหนึ่งๆ กับทั้งสุขทุกข์ต่างๆ เกิดขึ้นเพราะกรรมที่แต่ละ
ตัวตนท�ำไว้ ฉะนั้น ตนเองจึงเป็นผู้สร้างชาติคือความเกิดและความสุขทุกข์	
ของตนแก่ตนหรือผู้สร้างก็คือตนเอง แต่มิได้ไปสร้างใครอื่น เพราะใครอื่นนั้นๆ
ต่างก็เป็นผูสร้างตนเองด้วยกันทังนัน จึงไม่มใครเป็นผูสร้างให้ใคร และเมือผูสร้าง
้
้ ้
ี
้
่ ้
คือตนสร้างให้เกิดก็เป็นผู้สร้างให้ตายด้วย ท�ำไมผู้สร้างคือตนเองจึงสร้างชีวิตที่
เป็นทุกข์เช่นนีเ้ ล่า ปัญหานีตอบว่า สร้างขึนเพราะความโง่ ไม่ฉลาด คือไม่รวาการสร้าง
้
้
ู้ ่
นี้ก็คือสร้างทุกข์ขึ้น ถ้าเป็นผู้รู้ฉลาดเต็มที่ก็จะไม่สร้างสิ่งที่เกิดมาต้องตาย
	 การทีจะดูวาอะไรดีหรือไม่ดี ต้องดูให้ยดยาวออกไปถึงปลายทาง
่ ่
ื
มิใช่ดูเพียงครึ่งๆ กลางๆ และไม่มัวพะวงติดอยู่กับสุข ทุกข์ หรือความสนุก	
ไม่สนุกในระยะสันๆ เพราะจะท�ำให้กาวหน้าไปถึงเบืองปลายไม่สำเร็จ คนเราซึง
้
้
้
�
่
เดินทางไปไม่ถึงจุดหมายปลายทาง ต้องหล่นเรี่ยเสียหายอยู่ในระหว่างทางเป็น
อันมากเพราะเหตุต่างๆ ดังเช่นที่เรียกว่า ชิงสุกก่อนห่ามบ้าง ถืออิสระเสรีบ้าง
ฉะนั้นการหัดเป็นคนดีมีเหตุผลที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับทุกๆ คน และ
จะเป็นคนมีเหตุผลก็เพราะสัมมาทิฏฐิ คือมีความเห็นถูกต้อง
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 33
โคลงน�ำกลอน สังฆบิดร สดุดี
	 บารมีพระยิ่งล้น	
สงฆ์หมู่ทรงชี้น�ำ		 	
เทศน์สอนสั่งถ้อยค�ำ	 	
องค์พระผู้เจริญพร้อม		

คุณธรรม
ใส่เกล้า
น�ำจิต สุขเอย
แจ้งธัมม์ สยามสมัย
ทรงกอรปกิจ	 	
ได้พอเหมาะ		 	 	
ปริยัติ		 	 	 	 	
รู้วินัย		 	 	 	 	
	 สงเคราะห์พระ		
ให้แนบแน่น	 	 	 	
โกลกว้างใหญ่	 	 	
สรัสล้น	 	 	 	 	
	 พระนิพนธ์	 	
แจ้งความจริง	 	 	
อนิจจัง	 	 	 	 	
องค์สมเด็จ	 	 	 	
	 สมเด็จพระ	 	
ชนน้อมนบ	 	 	 	
เจริญสุข	 	 	 	 	
สดุดี	 	 	 	 	 	
	 อมฤต		 	 	
ให้ดับทุกข์	 	 	 	
อาศัยโลก		 	 	 	
สู่ทางเดิน		 	 	 	

ประกาศธรรม		
สรรสร้าง	 	
ปฏิบัติ	
	
เคร่งครัด	 	
ธรรมทูต	 	
พุทธศาสน์	 	
ธรรมน�ำไป	 	
เจริญล�้ำ	 	
ล้วนเลิศ	 	
ประจักษ์จิต	 	
ทุกขัง	
	
พระสัมมา	 	
เจ้าอยู่หัว	 	
บูชาท่าน	 	
สุวัฑฒนะ	 	
เทิดพระคุณ	 	
โชคอ�ำนวย	 	
สุขนินทา	 	
โศกไม่ติด	 	
มรรคาลัย	 	

อันไพรเราะ
ห่างสงสัย
ขัดจิตใจ
ปัดกังวล
ในต่างแดน
ได้เป็นผล
สู่สากล
ทางสัมมา
ประเสริฐยิ่ง
ปลิดกังขา
อนัตตา
ตรัสไว้ดี
ทรงเคารพ
ให้สุขขี
องค์ฉัตรตรี
หนุน กล่าวเชิญ
อวยพรสุข
สรรเสริญ
จิตเพลิดเพลิน
พ้นภัยเทอญ
๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม

พิมพ์ครั้งที่ ๑	
จ�ำนวนพิมพ์ 	
ผู้จัดท�ำ	
พิมพ์ถวายโดย	

:	
:	
:	
:	

๓ ตุลาคม ๒๕๕๖
๕,๐๐๐ เล่ม
พระชยสาธิโต เรียบเรียงประพันธ์กลอนน้อมถวาย
โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน

Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน

พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เพื่อนศิลป์
๑๒๐/๔-๕ ถ.อุดร-เชียงยืน ต.บ้านเลื่อม อ.เมือง จ.อุดรธานี ๔๑๐๐๐
โทร. ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓  โทรสาร ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓
E-mail : info@puensinp.com, www.puensinp.com

More Related Content

What's hot

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141Nuttapat Fongpisuttikul
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1freelance
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารJack Like
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 

What's hot (20)

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141
IS power point m.110 30 31 43 48 50 sk141
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 

Similar to อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาSongsarid Ruecha
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม (20)

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
อุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนาอุบายและวิธีการภาวนา
อุบายและวิธีการภาวนา
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 

More from Panda Jing

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกPanda Jing
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทPanda Jing
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Panda Jing
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001Panda Jing
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Panda Jing
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนPanda Jing
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาPanda Jing
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์Panda Jing
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคPanda Jing
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารPanda Jing
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยPanda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1Panda Jing
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงPanda Jing
 
พระพุทธกิจ 45 พรรษา
พระพุทธกิจ 45 พรรษาพระพุทธกิจ 45 พรรษา
พระพุทธกิจ 45 พรรษาPanda Jing
 

More from Panda Jing (20)

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลก
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
 
พระพุทธกิจ 45 พรรษา
พระพุทธกิจ 45 พรรษาพระพุทธกิจ 45 พรรษา
พระพุทธกิจ 45 พรรษา
 

อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม

  • 3. พระประวัติ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ถือบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พระชันษาย่าง ๑๔ ปี ณ วัดเทวสังฆาราม ต่อมาทรง ย้ายมาศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดเสน่ห์หา อ.เมือง จ.นครปฐม ๒ พรรษา ก่อนจะย้ายมาศึกษาต่อที่วัด บวรนิเวศวิหาร ในสมัยสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรม หลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงครองพระอาราม พระองค์ ทรงศึกษาธรรมบาลีสอบได้ประโยคต่างๆ มาโดยล�ำดับ จนถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค พ.ศ. ๒๔๗๖ ทรงกลับ ไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดเทวสังฆวราม
  • 4. ครั้นถึงช่วงออกพรรษาทรงกลับมาอุปสมบทอีกครั้ง เพื่อญัตติเป็นธรรมยุต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวง วชิรญาณวงศ์ ครั้งยังเป็นสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาณย์ และพระรัตนธัชมุนี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า สุวฑฺฒโน อันมีความหมายว่า ผู้เจริญปรีชายิ่งในอุดมปาพจน์ เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงผนวชและประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร สมเด็จพระญาณสังวรได้รับหน้าที่เป็นพระอภิบาล โดยตลอด และต่อมาได้เป็นผู้ถวายพระธรรมเทศนา พระมงคลวิเสสกถา ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗ ได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์มาโดยล�ำดับ พระชนมายุ ๓๔ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่พระโสภนคณาภรณ์ พระชนมายุ ๓๙ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามเดิม พระชนมายุ ๔๒ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามเดิม พระชนมายุ ๔๓ ปี เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่พระธรรมคุณาภรณ์ พระชนมายุ ๔๘ ปี เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะรองที่ พระสาสนโสภณ พระชนมายุ ๕๙ ปี ได้ร้บพระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระญาณสังวร พ.ศ. ๒๕๓๒ ทรงโปรดเกล้าฯ สถาปนา เป็นสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชเจ้า สกลมหาสังฆปรินายก เป็นพระองค์แรกทีใช้พระนามเดิมเฉกนี้ และทรงให้ถอเป็นแบบธรรมเนียม ่ ื ตราในกฎมหาเถรสมาคมสืบมา
  • 7. ๑๐๐ พระชันษา สังฆราชานุสรณ์ สามตุลา พระบิดา เป็นพระมุข แจ้งมรรคผล ท่านเป็นพระ เมื่อทรงคราว พสกนิกร ธรรมครองใจ ทรงประกอบ ยังกุศล แผ่นดินไทย ประกาศก้อง สร้างวัดวา ทั้งช่วยเหลือ ด้านโรงเรียน ผู้ยากไร้ ดิถี อุปัชฌาย์ ปกครองสัง- แผ่ธรรม อภิบาล บรรพชา ปลาบปลื้ม ครองราช พระกิจ ในคราว แผ่นดินธรรม พุทธธรรม อุปถัมภ์ สงเคราะห์ โรงพยาบาล คณะสงฆ์ ร้อยชันษา คณะสงฆ์ ฆมณฑล น�ำทั่วไทย ในหลวงเจ้า มหาสมัย ในฤทัย ปราชญ์เรืองรอง การมงคล เฉลิมฉลอง แผ่นดินทอง น�ำสุขใจ ค�้ำจุนเจือ การหลากหลาย ที่ห่างไกล วงศ์พระเณร ทรงนิพนธ์ อักขระ แตกฉานใน โลกได้เห็น ขอพระองค์ ชนผองไทย ถวายน�ำให้ เจริญฌาน หนังสือ ไตรปิฎก บาลีธรรม ผลงานท่าน ทรงพระ น้อมใจ สุขสดชื่น ญาณสังวร สื่อธรรมะ ยกให้เห็น น�ำสุขเย็น อันโอฬาร พลานามัย ร่วมประสาน ยั่งยืนนาน พรเลิศเอย
  • 9. มนุ ษ ย์ ที่ แ ปลอย่ า งหนึ่ ง ว่ า ผู ้ มี จิ ต ใจสู ง คื อ มีความรู้สูง ดังจะเห็นได้ว่าคนเรามีพื้นปัญญาสูงกว่าสัตว์ ดิรจฉานมากมาย สามารถรูจกเปรียบเทียบในความดี ความชัว ั ้ั ่ ความควรท�ำไม่ควรท�ำ รู้จักละอาย รู้จักเกรง รู้จักปรับปรุง สร้างสรรค์ที่เรียกว่าวัฒนธรรม อารยธรรม ศาสนา เป็นต้น แสดงว่ามีความดีที่ได้สั่งสมมา โดยเฉพาะปัญญาเป็นรัตนะ ส่องสว่างน�ำทางแห่งชีวิต ถึงดังนั้นก็ยังมีความมืดที่มาก�ำบัง จิตใจให้เห็นผิดเป็นชอบ ความมืดทีสำคัญนันก็คอ กิเลสในจิตใจ ่� ่ ื และกรรมเก่าทั้งหลาย 8 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 10. ค� ำ ว่ า ชี วิ ต มิ ไ ด้ มี ค วามหมายเพี ย งแค่ ค วามเป็ น อยู ่ แห่งร่างกาย แต่หมายถึงความสุข ความทุกข์ ความเจริญ ความเสื่อม ของบุคคลในทางต่างๆ ด้วย บางคนมีปัญหาว่า จะวาดภาพชีวิตของ ตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิต และ จะไปถึงจุดมุ่งหมายนั้นหรือ ที่นึกที่วาดภาพไว้นั้นด้วยอะไร ปัญหา ที่ถามคลุมไปดังนี้ น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะบุคคลได้ยาก เพราะไม่รู้ ว่าทางแห่งชีวตของแต่ละบุคคลตามทีกรรมก�ำหนดไว้เป็นอย่างไร และ ิ ่ ถ้าวาดภาพของชีวิตอนาคตไว้เกินวิสัย ของตนที่จะพึงถึง แบบที่เรียก ว่าสร้างวิมานบนอากาศ ก็จะเกิดความส�ำเร็จขึ้นมาไม่ได้แน่ หรือแม้ วาดภาพชีวิตไว้ในวิสัยที่พึงได้พึงถึง แต่ขาดเหตุที่จะอุปการะให้ไปถึง จุดหมายนั้น ก็ยากอีกเหมือนกันที่จะเกิดเป็นความจริงขึ้นมา ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 9
  • 11. เราเกิดมาด้วยตัณหา ความอยากและกรรมเพื่อสนองตัณหาและกรรม ของตนเอง ตัณหาและกรรมจึงเป็นตัวอ�ำนาจหรือผู้สร้างให้เราเกิดมา ใครเล่าเป็นผู้ สร้างอ�ำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือตัวเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเองและเป็นผู้ท�ำกรรม ฉะนั้นตนนี้เองแหละเป็นผู้สร้างให้ตนเองเกิดมา อนุมานดูตามค�ำของผู้ตรัสรู้นี้ใน กระแสปัจจุบัน สมมติว่าอยากเป็นผู้แทนราษฏร ก็สมัครรับเลือกตั้งและหาเสียง เมือชนะคะแนนก็เป็นผูแทนราษฎร นีคอความอยากเป็นเหตุให้ทำกรรม คือท�ำการต่างๆ ่ ้ ่ื � ตังแต่การสมัคร การหาเสียง เป็นต้น ซึงเป็นเหตุให้ได้รบผล คือได้เป็นผูแทน ้ ่ ั ้ ความเปลี่ยนแปลงของชีวิต หรือของโลกเป็นทุกข์ประจ�ำชีวิตหรือ ประจ�ำโลกไม่เป็นเรื่องแปลกประหลาดอันใด เมื่อจะสรุปกล่าวให้สั้น ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสี่นี้ย่อลงเป็นสอง คือความเกิดและความดับซึ่งเป็นสิ่งที่สกัดหน้าสกัด หลังของโลก ของชีวิตทุกชีวิตนี่เรียกคติธรรมดา แปลว่า ความเป็นไปตามธรรมดา ความไม่สบายใจทุกๆ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงชี้ว่าเป็นทุกข์ ทุกคนคงเคยประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก พลัดพรากจากสิ่งที่เป็น ที่รัก ปรารถนาไม่ได้สมหวัง เกิดทุกข์โศกต่างๆ นี่แหละพระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่าเป็นทุกข์โลกหรือชีวิต ประกอบด้วยทุกข์ ดังกล่าวมาแล้ว ฉะนั้นทุกข์จึงเป็นความจริงที่โลกหรือทุกชีวิตต้องเผชิญ 10 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 12. ชีวตคนเรา เติบโตขึนมาด�ำรงชีวตอยูได้ดวยความเมตตากรุณาจากผูอนมา ิ ้ ิ ่ ้ ้ ื่ ตั้งแต่เบื้องต้น คือ เมตตา กรุณา จากบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท มิตรสหาย ถ้าไม่ได้รับความเมตตา ก็อาจจะสิ้นชีวิตไปแล้ว เพราะถูกทิ้ง เมื่อเราเติบโตมาจากความเมตตากรุณา ก็ควรมีความเมตตากรุณาต่อชีวิตอื่น ต่อไป วิธปลูกความเมตตากรุณา คือ ต้องตังใจปรารถนาให้เขาเป็นสุข ตังใจ ี ้ ้ ปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์ โดยเริ่มจากเมตตาตัวเองก่อน แล้วคิดไปถึงคน ใกล้ชด คนทีเ่ รารัก จะท�ำให้เกิดความเมตตาได้งายแล้วค่อยๆ คิดไปให้ความเมตตา ิ ่ ต่อคนที่ห่างออกไปโดยล�ำดับ ตนรักชีวิตของตน สะดุ้งกลัวความตายฉันใดสัตว์อื่นก็รักชีวิตตนและ สะดุ้งกลัวความตายฉันนั้น ฉะนั้นจึงไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรใช้ให้ผู้อื่นฆ่า อนึ่ง ตนรัก สุขเกลียดทุกข์ฉันใด สัตว์อื่นก็รักสุขเกลียดทุกข์ฉันนั้น จึงไม่ควรสร้างความสุข ให้ตนเองด้วยการก่อความทุกข์ให้แก่คนอื่น ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 11
  • 13. คติธรรมดาที่ไม่มีใครเกิดมาในโลกนี้ จะหนีไปให้พ้น ได้ ก็คอ ความแก่ ความตาย แต่คนโดยมากพากันประมาทเหมือนอย่าง ื ว่าไม่แก่ ไม่ตาย น่าที่จะรีบท�ำความดี แต่ก็ไม่ท�ำ กลับไปท�ำความชั่ว ก่อความเดือดร้อนให้แก่กันและกัน ต่างต้องเผชิญทุกข์เพราะกรรมที่ ต่างก่อให้แก่กนอีกด้ว ยฉะนัน ก็นาจะนึกถึงความแก่ ความตายกันบ้าง ั ้ ่ เพื่อจะได้ลดความมัวเมา และท�ำความดี การฆ่าตัวตาย เป็นการแสดงความอับจนพ่ายแพ้หมดหนทาง แก้ไข หมดทางออกอย่างอืน สินหนทางแล้ว เมือฆ่าตัวก็เป็นการท�ำลาย ่ ้ ่ ตัว เมื่อท�ำลายตัวก็เป็นการท�ำลายประโยชน์ทุกอย่างที่พึงได้ในชีวิต ในบางกลุ่ม บางหมู่เห็นว่าการฆ่าตัวตายในบางกรณีเป็นเกียรติสูง แต่ทางพระพุทธศาสนาแสดงว่าเป็นโมฆกรรม คือกรรมทีเ่ ปล่าประโยชน์ เรียกผู้ท�ำว่า คนเปล่า เท่ากับว่าตายเปล่าๆ ควรจะอยู่ท�ำอะไรให้เกิด ประโยชน์ต่อไปได้ ก็หมดโอกาส 12 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 14. การแก้ปัญหาของคนเรา ถ้าไม่ป้องกันไว้ก่อนแก้ ไม่ทัน ก็แก้ปัญหายังเล็กน้อยจะง่ายกว่า เหมือนอย่างดับไฟกอง เล็กง่ายกว่าดับไฟกองโต ถ้าเป็นผูทสนใจธรรมะบ้าง ก็จะหาหนทาง ้ ี่ ปฏิ บั ติ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ดั ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ยกขึ้ น แสดงว่ า ธรรมะ พันเกี่ยวข้องกับตัวเราเองทุกๆ คนไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ผู้ชายหรือ ผู้หญิง ถ้าตั้งใจมั่นในการประพฤติธรรมให้พอเหมาะแก่ภาวะ ของตนเอง ก็จะท�ำตนให้พนจากความทุกข์ภยพิบตได้ ถ้าไม่ปฏิบติ ้ ั ัิ ั ก็อาจจะเผลอพลั้งพลาด และถ้าไม่รู้วิธีแก้ปัญหาด้วยธรรมะก็อาจ จะท�ำให้หลุดพ้นจากบ่วงปัญหาได้ยาก ฉะนัน ถ้าสนใจพระธรรมบ้าง ้ ก็จะมีเครื่องป้องกันแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์ ดังค�ำกล่าวที่ว่า พระธรรมคุ้มครอง ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 13
  • 15. ญาณสังวรบูชา น้อมกล่าวกลอน สังฆรัตน์ บิดาน้อย ประสูติลง เทวสัง- คชวัชร อุปัชฌาย์ ท่านจึงมี สืบหน่อเนื้อ ครั้งบวชพระ สังฆราชเจ้า ได้ฉายา ท่านทรงรัก เรียนบาลี เทศนา วัดบวร บูชา ประมุข กินน้อย บ้านเหนือ ฆาราม นามเจริญ ชื่อว่า ความดี องค์เณรใน ยิ่งส�ำรวม หม่อมชื่น สุวัฑฒโน ศีลธรรม นักธรรม โปรดหมู่ ปลูกศรัทธา พระประวัติ คณะสงฆ์ มารดาองค์ กาญจน์บุรี ธรรมอุบัติ สง่าศรี หลวงพ่อดี น�ำเนื่องมา สรณะ ในสิกขา พระอุปัชฌาย์ โพธิ์อัมพร พระเณรดี ทรงสั่งสอน ชนนิกร พาบ�ำเพ็ญ นานาชาว ล้วนแซ่ซ้อง สมเด็จพระ พระจึงเป็น กราบปณต ไทยทั้งชาติ ร่วมจัดงาน ประเสริฐล้น คุณธรรม มากล้นเหลือ เจริญรอยตาม เทพบูชา อารยะ พระนาม ญาณสังวร ครูคู่บุญ แทบเท้า เกื้อหนุน บูชา ดิถียาม ความดี ยิ่งยืน พระบาท อภิบาล ต่างยกย่อง ประจักษ์เห็น ไทยร่มเย็น องค์ภูมิพล ฝ่าพระบาท บุญกุศล มหามงคล สามตุลา ร้อยปีเกื้อ พระชันษา องค์ศาสดา ท่านสุขเอย
  • 17. อันคนที่ท�ำงาน ที่เป็นคุณให้เกิดประโยชน์ย่อมจะต้อง ประสบถ้อยค�ำถากถาง หรือการขัดขวางน้อยหรือมาก ผู้มีใจอ่อนแอ ก็จะเกิดความย่อท้อ ไม่อยากที่จะท�ำดีต่อไป แต่ผู้มีก�ำลังใจย่อมไม่ ท้อถอย ยิงถูกค่อนแคะก็ยงจะเกิดก�ำลังใจมากขึน ค�ำค่อนแคะกลายเป็น ่ ิ่ ้ พาหนะที่มีเดชะแห่งการท�ำความดี แม้พระพุทธเจ้าก็ยังถูกคนที่ริษยา มุ่งร้ายจ้างคนให้ตามด่าว่าในบางครั้ง การทีจะให้ใครช่วยเหลือท�ำอะไร ต้องเลือกคนทีมี ่ ่ ปัญญา ที่รู้จักผิดถูก ควรไม่ควร มิใช่ว่าถ้าเขามุ่งดีปรารถนาดีแล้ว เป็นมอบการงานให้ทำเรื่อยไป เพราะถ้าเป็นคนขาดปัญญา แม้จะท�ำ � ด้วยความตั้งใจช่วยจริง แต่ก็อาจจะท�ำการที่เป็นโทษอย่างอุกฤษฏ์ ก็ได้ 16 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 18. คนเรานั้น นอกจากจะมีปัญญาแล้ว ยังต้องมีความคิดอีกด้วย จึงจะ เอาตัวรอดได้จากอันตรายต่างๆ ในโลก วิสัยของบัณฑิตคือคนที่ฉลาดนั้น ย่อมไม่ยอมแพ้หรืออับจนต่อเหตุการณ์ทั้งหลายที่รัดรึงเข้ามา ย่อมใช้ความคิด คลี่คลายเอาตัวรอดปลอดภัยให้จงได้ และเป็นธรรมดาอยู่ที่คนฉลาดกว่าย่อม เอาชนะคนที่ฉลาดน้อยกว่าได้ คนโง่นน เมือยังยอมอาศัยปัญญาของคนฉลาดอยู่ ก็ยงพอรักษาตนอยู่ ั้ ่ ั ได้ แต่เมือโง่เกิดอวดฉลาดขึนมาเมือใด ก็เกิดวิบตเิ มือนัน และเมือถึงคราวคับขัน ่ ้ ่ ั ่ ้ ่ ซึ่งจะต้องแสดงวิชาเอง คนโง่ก็จะต้องแสดงโง่ออกมาจนได้ ฉะนั้น ถึงอย่างไรก็ สู้หาวิชาใส่ตนให้เป็นคนฉลาดขึ้นเองไม่ได้ ทั้งคนดีมีวิชา ถึงจะมีรูปร่างไม่ดี ก็จะต้องได้ดีในที่สุด ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 17
  • 19. คนที่อ่อนแอ ย่อมแพ้อุปสรรคง่ายๆ ส่วนคนที่ เข้มแข็งย่อมไม่ยอมแพ้ เมือพบอุปสรรคก็แก้ไขไป รักษาการ ่ งานหรือสิงมุงจะท�ำไว้ดวยจิตใจทีมงมัน ถืออุปสรรคเหมือน ่ ่ ้ ่ ุ่ ่ อย่างสัญญาณไฟแดงที่จะต้องพบเป็นระยะ ถ้ากลัวจะต้อง พบสัญญาณไฟแดงตามถนนซึ่งจะต้องหยุดรถ ก็จะไปข้าง ไหนไม่ได้ แม้การด�ำเนินชีวิตก็ฉันนั้น ถ้ากลัวจะต้องพบ อุปสรรค ก็ท�ำอะไรไม่ได้ ธรรมดาผู้เป็นปุถุชน ความปรารถนาต้องการ ย่อมบังเกิดขึ้นได้เสมอ วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องก็คือ เมื่อความ ปรารถนาต้องการเกิดขึนเมือใด ให้ทำสติพจารณาใจตนเอง ้ ่ � ิ อย่างผู้มีปัญญา อย่าคิดเอาเองว่าใจเป็นอย่างไร จะต้องพบ ความจริงแน่นอนว่า ใจเป็นทุกข์ ใจเร่าร้อน ด้วยอ�ำนาจความ ปรารถนาต้องการที่เกิดขึ้นนั้น ใจจะไม่สงบเย็นด้วยอ�ำนาจ ความปรารถนาต้องการที่เกิดขึ้นโดยเด็ดขาด 18 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 20. วิธีดับความปรารถนาต้องการ ก็คือ หัดเป็นผู้ให้บ่อยๆ ให้เสมอๆ การให้กับการ ดับความปรารถนาต้องการ จะเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ ถ้าการให้นนเป็นการให้เพือลดกิเลสคือความโลภในใจตน ั้ ่ มิได้เป็นการให้เพื่อหวังผลตอบแทนที่ยิ่งกว่า มีคนไม่ใช่น้อยที่เรียนรู้มากมาย อะไรดีอะไรชั่ว รู้ทั้งนั้น แต่ไม่ท�ำดี หรือท�ำก็ท�ำสิ่งไม่ดี เรียกว่า ใช้ความรูนนช่วยตนเองไม่ได้ ก็เพราะขาดความ ้ ั้ เคารพในธรรมที่รู้ คือไม่ปฏิบัติให้สมควรแก่ความรู้ นั่นเอง ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 19
  • 21. พระพุทธศาสนา สอนให้คนเข้าใจในกรรมนั้น ไม่ได้สอน ให้คนกลัวกรรม เป็นทาสของกรรมหรืออยู่ใต้อ�ำนาจกรรม แต่สอนให้รู้จัก กรรม ให้ควบคุมกรรมของตนในปัจจุบน กรรมคือการอะไรทุกอย่างทีคนท�ำ ั ่ อยู่ทุกวันทุกเวลา ประกอบด้วยเจตนา คือ ความจงใจ ทุกคนในโลกต่างต้องถ้อยทีต้องพึ่งอาศัยกัน ในทางใดทางหนึ่งทั้งนั้น จึงควรปฏิบัติตนในทางที่จะชื่อว่ารักษา ไว้ทั้งตนทั้งผู้อื่น คือด้วยวิธีที่แต่ละคนตั้งใจปฏิบัติกรณียะคือกิจของตน ควรท�ำหน้าทีเ่ ป็นตนให้ดี และด้วยความมีนำใจทีอดทนไม่คดเบียดเบียนใคร �้ ่ ิ มีจิตเมตตา มีเอ็นดูอนุเคราะห์ เมื่อตั้งใจปฏิบัติกรณียะ กอปรด้วยมีน�้ำใจ ดังกล่าว ก็ชื่อว่ารักษาทั้งตนทั้งผู้อื่น เป็นผู้รักษาไว้ได้ทั้งหมด 20 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 22. หน้าที่ของคนเรา ที่จะพึงปฏิบัติต่อชีวิตร่างกาย คือ บริ ห ารรั ก ษาให้ ป ราศจากโรค ให้ มี ส มรรถภาพและรี บ ประกอบ ประโยชน์ให้เป็นชีวตดี ชีวตทีอดม ไม่ให้เป็นชีวตชัว ชีวตเปล่าประโยชน์ ิ ิ ุ่ ิ ่ ิ (โมฆชีวิต)และในขณะเดียวกัน ก็ให้ก�ำหนดรู้คติธรรมดาของชีวิต เพื่อความไม่ประมาท พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้ท�ำลายชีวิตร่างกาย ถ้าจะเกิดความอยาก ความโกรธ ความเกลียด ในอันที่จะท�ำลายชีวิต ร่างกาย ก็ให้ทำลายความอยาก ความโกรธ ความเกลียดนันเสีย � ้ คนที่ มี บุ ญ นั้ น บุญย่อมคอยจ้องที่จะเข้าช่วยอยู่แล้ว เพียงแต่เปิดโอกาสให้เข้าช่วย คือเปิดใจรับนั่นเอง การเปิดใจรับก็คือ เปิดอารมณ์ที่หุ้มห่อออกเสียแม้ชั่วขณะหนึ่ง ด้วยสติที่ก�ำหนดท�ำใจ ตามวิธีของพระพุทธเจ้า เมื่อบุญได้โอกาสพรั่งพรูเข้ามาถึงใจ หรือโผล่ ขึนมาได้แล้ว จิตใจจะกลับมีความสุขอย่างยิง อารมณ์ทงหลายทีเ่ คยเห็น ้ ่ ั้ ว่าดีหรือร้าย ก็จะกลับเป็นเรื่องธรรมดาโลก ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 21
  • 23. คนทีทำดีไม่นอย เป็นทุกข์เพราะการท�ำดีของตน ทีไม่กล้าทีจะท�ำดีกมี แต่คนท�ำดีทยงเป็นทุกข์ดงกล่าว ก็เพราะ ่ � ้ ่ ่ ็ ี่ ั ั ยังท�ำไม่ถงความดีแห่งจิตใจของตนเอง จิตใจจึงยังท�ำไม่ถงความดีแห่งจิตใจของตนเอง จิตใจจึงยังมีความยินดียนร้ายไปตาม ึ ึ ิ อารมณ์ที่มากระทบจากคนทั้งหลาย หากได้เล็งเห็นว่าเรื่องของคนทั้งหลายนั้นเป็นเรื่องของโลก ถ้าตนเองมีจิตใจมั่นคง ไม่หวันไหว ก็ไม่ตองเป็นทุกข์เพราะเรืองของคนอืน การปฏิบตท�ำจิตใจของตนให้มนคงดังนี้ เป็นการสร้างความดีให้แก่จตใจ ่ ้ ่ ่ ัิ ั่ ิ เป็นตัวความดีที่เป็นแก่นแท้ของความดีทั้งหลาย ซึ่งจะป้องกันความทุกข์กระทบกระเทือนใจได้ทุกอย่าง ความดีนั้น เกิดจากกรรม (การงาน) ที่ดี ดังที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ ความว่า คนเป็นคนดีเพราะกรรม เป็นคนถ่อยก็เพราะกรรม ฉะนั้น เมื่อละเลิกกรรมที่ชั่วผิด ท�ำกรรมที่ดีที่ชอบ ก็ได้เป็นคนดีแล้ว แต่คนที่ท�ำกรรมชั่วผิด แม้ จะได้รบบัญญัติ (แต่งตัง) ว่าดีอย่างไร ก็หาชือว่าเป็นคนดีไม่ ผูทรและค้านเป็นคนแรกก็คอตนนันเอง เว้นไว้แต่จะมีตาใจบอด ั ้ ่ ้ ี่ ู้ ื ่ ไปเสียแล้ว ด้วยความหลงตนไปอย่างยิ่งนั้นแหละ จึงจะไม่รู้ อันความดีนั้นย่อมเป็นอาภรณ์ เป็นอิสริยยศ (ยศคือความเป็นใหญ่) ของคนดี เพราะคนดีย่อมเห็นความดี นีแหละเป็นยศอันยิงใหญ่ และย่อมพอใจประดับความดีเป็นอาภรณ์ จึงกล่าวได้วาความดีนนเป็นอิสริยาภรณ์ของคนดี ้ ่ ่ ั้ 22 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 25. พระผู้เจริญพร้อม เมืองกาญจน์ถิ่นประสูติ ทรงเป็นบุตรอภิชาติ บุญพระบารมีญาณ มงคลขานนาม เจริญ ทรงเจริญด้วยพระยศ งานปรากฏบุญเกื้อหนุน ปกครองสงฆ์องค์อดุลย์ กรรมฐานหนุนทางภาวนา บรรพชาเป็นสามเณร เทศน์อริยทรัพย์ชนสรรเสริญ ใฝ่เพียรเรียนธรรมเพลิน ไม่เก้อเขินครูอาจารย์ เป็นสังฆปาโมกข์ รู้แจ้งโลกไตรสิกขา ส�ำรวมธรรมทรงน�ำมา เทศนาอบรมใจ วัดเหนือสู่บวร จึงน�ำกลอนมาเล่าขาน ประโยคเก้าทรงช�ำนาญ ธรรมอาจหาญฌานสมบูรณ์ พระนามญาณสังวร ดับทุกข์ร้อนสิ้นหวั่นไหว พรหมวิหารเต็มพระทัย ประทานพรให้เจริญยิ่งเทอญ
  • 27. อั น เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ชี วิ ต มี อ ยู ่ เ ป็ น อั น มากที่ บั ง เกิ ด ขึ้ น โดยไม่ รู ้ ไ ม่ คิ ด มาก่ อ น แต่เมื่อเป็นเหตุการณ์ที่จะต้องเกิดก็เกิดขึ้นจนได้ ถ้า หากใครมองดูเหตุการณ์ต่างๆ เหล่านั้นอย่างของเล่นๆ ไม่จริงจังก็ไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน หรือจะเกิดบ้างก็เกิด อย่างเล่นๆ ถ้าจะหนีเหตุการณ์เสียบ้าง ก็เหมือนอย่างหนี ไปเที่ยวเล่น หรือไปพักผ่อนเสียครั้งคราวหนึ่ง พื้นแผ่นดิน แม่น�้ำ ภูเขา ที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ คนเรามีปัญญาถมท�ำให้เป็นถนน ขุดให้เป็น แม่น�้ำล�ำคลอง ท�ำสะพานข้ามแม่น�้ำใหญ่ สร้างท�ำนบ กั้นน�้ำ ขุดอุโมงค์ทะเลภูเขา เรียกว่าใช้กรรมปัจจุบันปรับปรุงธรรมชาติฉันใด ความขรุขระของชีวิตเพราะกรรมเก่าก็ฉันนั้น เหมือนความขรุขระของแผ่นดินตามธรรมชาติ คนเราสามารถประกอบกรรมปัจจุบนปรับปรุง สกัดกันกรรมเก่าเหมือนอย่าง ั ้ สร้างท�ำนบกั้นน�้ำเป็นต้น เพราะคนเรามีปัญญา 26 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 28. ทุกคนต้องการความสุข ความสบายใจด้วยกัน ทั้งนั้น แต่ทุกคนก็ยังไม่ได้รับสิ่งที่ต้องการ เพราะใจยังมีความ ปรารถนาต้องการหรือความโลภนี้แหละอยู่เป็นอันมาก โดยที่ไม่ พยายามท�ำให้ลดน้อยลง เห็นจะด้วยมิได้คิดให้ประจักษ์ในความ จริงว่า ความโลภคือเหตุใหญ่ประการหนึ่ง ซึ่งน�ำให้ทุกข์ ให้เดือด ร้อน ให้ไม่มีความสุข ความสบายใจกันอยู่อย่างมากทั่วไปในทุก วันนี้ แม้ท�ำสติพิจารณาให้ดีจะเห็นได้ไม่ยากนัก การเพ่งดูผู้อื่นท�ำให้ตนเองไม่เป็นสุข แต่การ เพ่งดูใจตนเองท�ำให้เป็นสุขได้ แม้ก�ำลังโกรธมาก หากเพ่งดูใจ ตนเองให้เห็นว่าก�ำลังโกรธมาก ความโกรธก็จะลดลง เมื่อความ โกรธน้อย หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นว่าก�ำลังโกรธน้อย ความโกรธ ก็จะหมดไป จึงกล่าวได้ว่า ไม่ว่าจะมีอารมณ์ใดก็ตาม โลภหรือ โกรธหรือหลงก็ตาม หากเพ่งดูใจตนเองให้เห็นอารมณ์นั้นแล้ว อารมณ์นั้นจะหมดไป ได้ความสุขแทนที่ท�ำให้มีใจสบาย ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 27
  • 29. ความดิ้นรนเพื่อให้ได้ สมดั ง ความปรารถนา ต้องการ มิใช่ความสุข มิใช่ความ สงบ แต่เป็นความทุกข์เป็นความร้อน เป็นความวุ่นวาย มีคนเป็นจ�ำนวน ไม่น้อยที่ทั้งชีวิตไม่ได้พบความสุข ความสงบเลย เพราะมัวปล่อยใจให้ เป็นทาสของความโลภ ไม่รู้จักท�ำสติ พิจารณาให้เห็นโทษของความโลภ แล้วพยายามละเสีย ดับเสีย 28 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 30. ทุกข์ แปลว่า สิ่งที่ด�ำรงคงอยู่ได้ยาก แต่มีความหมายเป็นปฏิเสธว่า ด�ำรงทนอยู่ไม่ได้ทีเดียว คือต้องเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ เพราะทุกอย่างในโลก ต้องเปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้ตลอดกาล สิ่งที่เคยมี เคยเป็น ต้อง แปรเปลียนไป เมือจิตใจรับไม่ได้กบความเปลียนแปลงทีมถง จึงท�ำให้เกิดความ ่ ่ ั ่ ่ีึ ไม่พอใจ ไม่สบายใจ ก็เลยกลายเป็นความทุกข์ ตามความหมายสามัญ ค�ำว่าทุกข์ ตามความหมายสามัญ หมายถึงความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ตรงข้ามกับความสุข ฉะนั้นเมื่อพูดถึงความทุกข์จึงมักเข้าใจกันตามหลักสามัญดังกล่าว ในภาษาไทย เมื่อพูดว่าทุกข์ก็หมายกันว่าคือความไม่สบายใจ แต่ในทางพุทธศาสนา ยังหมายถึงความคงทน ที่อยู่คงที่ไม่ได้ ต้องแปรปรวน เปลี่ยนแปลงไปด้วย ในโลกนี้มีอะไรเล่าที่ตั้งคงที่โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดวงอาทิตย์และดวงดาวทั้งหลาย ตลอดจนโลก ก็ไม่หยุดคงที่ ปี เดือน วัน คืน ก็ไม่หยุดคงที่ ชีวิตก็ไม่หยุดคงที่ ทุกๆ คนเกิดมาแล้วก็เติบโตขึ้นเรื่อย เป็นเด็ก เล็ ก เด็ ก ใหญ่ เป็ น หนุ ่ ม เป็ น สาว โดยล� ำ ดั บ และก็ ไ ม่ ห ยุ ด เพี ย งเท่ า นี้ ยังเปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นผู้ใหญ่ เป็นคนแก่ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิต ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 29
  • 31. เรื่องที่เป็นความไม่ สบายกาย ไม่สบายใจทั้งหมด จับเข้าหลัก ๑ คือทุกข์ เรื่องที่เป็น ความไม่ดีทั้งหมด จับเข้าหลัก ๒ คือสมุทัย เรื่องที่เป็นความสุขสงบ เย็นทั้งหมด จับเข้าหลักที่ ๓ คือ นิโรธ เรืองทีเ่ ป็น ความดีทงหมดจับ ่ ั้ เข้าหลัก ๔ คือมรรค เมือคิดตังหลัก ่ ้ ใหญ่ไว้ดังนี้ จะท�ำอะไรก็คิด ตรวจ ดูให้ดีว่า นี่เป็นสมุทัยก่อทุกข์ หรือ เป็นมรรคทางสุขสงบ หัดคิดหัด หาเหตุผลดังนีอยูเ่ สมอ เป็นการหัด ้ ให้เกิดความเห็นชอบ เมือเห็นชอบ ่ ก็เชื่อว่าพบทางที่ถูก เข้าทางที่ถูก ซึ่งใช้ได้กับทุกเรื่อง 30 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 32. พระพุ ท ธเจ้ า ได้ ต รั ส เตื อ นให้ เ กิ ด สติ ขึ้ น ว่ า ความทุกข์นมเพราะความรัก มีรกมากก็เป็นทุกข์มาก มีรก ี้ ี ั ั น้อยก็เป็นทุกข์น้อย จนถึงไม่มีรักเลย จึงไม่ต้องเป็นทุกข์เลย แต่ตาม วิสยโลกจะต้องมีความรัก มีบคคล และสิงทีรก ในเรืองนี้ พระพุทธเจ้า ั ุ ่ ่ั ่ ได้ตรัสสอนให้มีสติควบคุมใจมิให้ความรักมีอ�ำนาจเหนือสติ แต่ให้สติ มีอำนาจควบคุมความรัก ให้ดำเนินในทางทีถกและให้มความรูเท่าทัน � � ู่ ี ้ ว่าจะต้องพลัดพรากรักสักวันหนึ่งอย่างแน่นอน เมื่อถึงคราวเช่นนั้น จักได้ระงับใจลงได้ อันความรักหรือที่รัก เมื่อผู้ใดมีร้อยหนึ่ง ผู้นั้นก็มีทุกข์ ร้อยหนึ่ง รักเก้าสิบ แปดสิบ เจ็ดสิบ หกสิบ ห้าสิบ เป็นต้น จ�ำนวนทุกข์ ก็มเท่านัน ถึงแม้มรกเพียงอย่างหนึง ก็มทกข์อย่างหนึง ต่อเมือไม่มรก ี ้ ีั ่ ี ุ ่ ่ ีั จึงจะไม่มีทุกข์ ผู้หมดรักหมดทุกข์นั้น พระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่า “เป็นผู้ไม่มีโศก ไม่มีธุลีใจ ไม่มีคับแค้น” ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 31
  • 33. ทางออกจากทุ ก ข์ นั้ น คื อ ต้องรับรู้ความจริงต้องป้องกันมิให้ถล�ำลึก ลงไปในทางแห่งทุกข์ คือควบคุมตัณหา มิยอมให้ฉุดชักใจไปได้ และถ้าถล�ำใจลงไป แล้วต้องพยายามถอนใจขึ้นให้จงได้ด้วย ปัญญา เพราะเมือทุกข์เกิดขึนทีจตใจ ก็ตอง ่ ้ ่ิ ้ ดั บ จากจิ ต ใจ และจิ ต ใจของทุ ก คนอาจ สมมติกล่าวได้ว่าเป็นธรรมชาติกายสิทธิ์ ไม่มีอะไรจะมาท�ำลายได้ นอกจากจะยอม จนใจของตัวเองเท่านั้น ถ้าท�ำใจให้เข้มแข็ง ก็จะเกิดพลังใจขึ้นจนสามารถต่อสู้ต่างๆ ขจัดขับไล่ตณหาออกไปเสียก่อน ความทุกข์ ั ต่างๆ ก็จะออกไปพร้อมกัน 32 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (๓ ตุลาคม ๒๕๕๖)
  • 34. ชีวิตในชาติหนึ่งๆ กับทั้งสุขทุกข์ต่างๆ เกิดขึ้นเพราะกรรมที่แต่ละ ตัวตนท�ำไว้ ฉะนั้น ตนเองจึงเป็นผู้สร้างชาติคือความเกิดและความสุขทุกข์ ของตนแก่ตนหรือผู้สร้างก็คือตนเอง แต่มิได้ไปสร้างใครอื่น เพราะใครอื่นนั้นๆ ต่างก็เป็นผูสร้างตนเองด้วยกันทังนัน จึงไม่มใครเป็นผูสร้างให้ใคร และเมือผูสร้าง ้ ้ ้ ี ้ ่ ้ คือตนสร้างให้เกิดก็เป็นผู้สร้างให้ตายด้วย ท�ำไมผู้สร้างคือตนเองจึงสร้างชีวิตที่ เป็นทุกข์เช่นนีเ้ ล่า ปัญหานีตอบว่า สร้างขึนเพราะความโง่ ไม่ฉลาด คือไม่รวาการสร้าง ้ ้ ู้ ่ นี้ก็คือสร้างทุกข์ขึ้น ถ้าเป็นผู้รู้ฉลาดเต็มที่ก็จะไม่สร้างสิ่งที่เกิดมาต้องตาย การทีจะดูวาอะไรดีหรือไม่ดี ต้องดูให้ยดยาวออกไปถึงปลายทาง ่ ่ ื มิใช่ดูเพียงครึ่งๆ กลางๆ และไม่มัวพะวงติดอยู่กับสุข ทุกข์ หรือความสนุก ไม่สนุกในระยะสันๆ เพราะจะท�ำให้กาวหน้าไปถึงเบืองปลายไม่สำเร็จ คนเราซึง ้ ้ ้ � ่ เดินทางไปไม่ถึงจุดหมายปลายทาง ต้องหล่นเรี่ยเสียหายอยู่ในระหว่างทางเป็น อันมากเพราะเหตุต่างๆ ดังเช่นที่เรียกว่า ชิงสุกก่อนห่ามบ้าง ถืออิสระเสรีบ้าง ฉะนั้นการหัดเป็นคนดีมีเหตุผลที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับทุกๆ คน และ จะเป็นคนมีเหตุผลก็เพราะสัมมาทิฏฐิ คือมีความเห็นถูกต้อง ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม 33
  • 35. โคลงน�ำกลอน สังฆบิดร สดุดี บารมีพระยิ่งล้น สงฆ์หมู่ทรงชี้น�ำ เทศน์สอนสั่งถ้อยค�ำ องค์พระผู้เจริญพร้อม คุณธรรม ใส่เกล้า น�ำจิต สุขเอย แจ้งธัมม์ สยามสมัย
  • 36. ทรงกอรปกิจ ได้พอเหมาะ ปริยัติ รู้วินัย สงเคราะห์พระ ให้แนบแน่น โกลกว้างใหญ่ สรัสล้น พระนิพนธ์ แจ้งความจริง อนิจจัง องค์สมเด็จ สมเด็จพระ ชนน้อมนบ เจริญสุข สดุดี อมฤต ให้ดับทุกข์ อาศัยโลก สู่ทางเดิน ประกาศธรรม สรรสร้าง ปฏิบัติ เคร่งครัด ธรรมทูต พุทธศาสน์ ธรรมน�ำไป เจริญล�้ำ ล้วนเลิศ ประจักษ์จิต ทุกขัง พระสัมมา เจ้าอยู่หัว บูชาท่าน สุวัฑฒนะ เทิดพระคุณ โชคอ�ำนวย สุขนินทา โศกไม่ติด มรรคาลัย อันไพรเราะ ห่างสงสัย ขัดจิตใจ ปัดกังวล ในต่างแดน ได้เป็นผล สู่สากล ทางสัมมา ประเสริฐยิ่ง ปลิดกังขา อนัตตา ตรัสไว้ดี ทรงเคารพ ให้สุขขี องค์ฉัตรตรี หนุน กล่าวเชิญ อวยพรสุข สรรเสริญ จิตเพลิดเพลิน พ้นภัยเทอญ
  • 37. ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม พิมพ์ครั้งที่ ๑ จ�ำนวนพิมพ์ ผู้จัดท�ำ พิมพ์ถวายโดย : : : : ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖ ๕,๐๐๐ เล่ม พระชยสาธิโต เรียบเรียงประพันธ์กลอนน้อมถวาย โรงเรียนกวดวิชา วี บาย เดอะ เบรน Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เพื่อนศิลป์ ๑๒๐/๔-๕ ถ.อุดร-เชียงยืน ต.บ้านเลื่อม อ.เมือง จ.อุดรธานี ๔๑๐๐๐ โทร. ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓ โทรสาร ๐๔๒-๓๔๗๑๐๓ E-mail : info@puensinp.com, www.puensinp.com