SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
การถายภาพแบบมาโคร


                          เสนอ
               อาจารยชไมพร อินทรแกว


                       จัดทําโดย
         นางสาวซานีซะห          ลาเตะ   54201100
         นางสาวลาตีปะห          ลอแมง 5420110016
         นางสาวคอดีเยาะห วาโซะ 5420110022


รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 263-205 Photographic
              Technology in Education


             ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555


              มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
คํานํา


           กลุมของขาพเจาไดจัดทํารายงานเลมนี้จุดประสงคเพื่อใหผูเรียนหรือผูที่มีความสนใจในเรื่องของการ
ถายภาพมาโครไดศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาความรูที่เกี่ยวกับการถายภาพมาโครในเลมนี้ซึ้งจะมีขอมูลตางๆในการ
ถายภาพและอุปกรณ เครื่องมือที่จําเปนตองใช และเทคนิคตางๆ และจะมีภาพตัวอยางใหไดดูเปนตัวอยาง
ซึ้งถาเกิดกลุมของดิฉันไดใหขอมูลอะไรที่ผิดพลาดไปหรือไมมีในรายงายเลมนี้ก็ตองขออภัย ณ โอกาสนี้ดวย




                                                                                                  จัดทําโดย
                                                                                               สมาชิกในกลุม
Macro Photography
                                         การถายภาพแบบมาโคร


       ทุกครั้งที่มีการถายภาพแมลงหรือดอกไมชนิดที่เจาะเขาไปเห็นรายละเอียดอยางนาตื่นตาตื่นใจ คนดู
ภาพมักจะมีอาการหยุดเพื่อใชเวลาพิจารณาภาพนั้นๆ เสมอ นั้นเปนเพราะมันนําเสนอมุมมองอันแตกตางจาก
สายตาปกติในชีวิตประจําวันที่ไมมีทางจะมองเห็นอะไรแบบนั้นไดเลย นั่นแหละคือเสนหและความนาสนใจ
ของภาพถายที่เราเรียกมันวา “Macro”
1.ความหมายของ Macro
 ภาพ         Macro คือการถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็กไปจนถึงเล็กจิ๋วเพื่อเปดเผยรายละเอียดของมันผาน
กลองถายภาพ รายละเอียดเล็กๆ นี้ไมสามารถมองเห็นดวยไดสายตาปกติลวนๆ แตดวยความสามารถในดาน
กําลังขยายสูงของภาพ Macro นั้นจะชวยเปดมุมมองใหมๆ ของโลกใบเล็กใหเราไดเห็นเปนที่อัศจรรย
         Macro มิใชการถายภาพเลนๆ สนุกเพียงอยางเดียว มันยังถูกนําไปใชในงานเก็บรายละเอียดของวัตถุ
สิ่งของคอนขางหลากหลายเชน เครื่องประดับ, พระเครื่อง, งานชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส, หรือใครที่เปนแฟนซีรี่ส
CSI ของฝรั่งก็จะไดเห็นกลองที่ทําหนาที่บันทึกภาพแบบ Macro เขาไปรวมอยูในฉากเสมอๆ เพราะหนวยงาน
พิสูจนหลักฐานจําเปนตองเก็บรายละเอียดชนิดละเอียดยิบ แนนอนวารวมถึงสิ่งที่สายตาปกติอาจจะมองไมเห็น
หรือมองขามไปดวย
2.กลองที่เรามีละ สามารถเลน Macro ไดดวยไหม
         กลอง Digital Compact โดยมากจะมีโหมด Macro มาใหใชงานดวย แตถาพูดถึง DSLR แลวเราจะ
พุงประเด็นไปที่ “เลนส” และอุปกรณประกอบเลนสเปนหลัก แนนอนวาอุปกรณสําหรับถายภาพ Macro
อันดับหนึ่งก็ยอมจะตองเปนเลนส Macro ที่เราจําใจตองบอกวาแพงใชไดเลย
 นอกจากเลนส            Macro แทๆ แลวก็ยังมีอุปกรณเสริมอยางอื่นที่ยังพอชวยใหกลอมแกลมไปไดบาง
เหมือนกัน แตเราตองทําความเขาใจเสียกอนวา Macro และ Close-Up นั้นอาจจะดูคลายคลึงกัน แตไมใช
อยางเดียวกันแนนอน สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันสําหรับทั้งสองคํานี้ก็คือ มันชวยใหเราโฟกัสแบบเขาใกลวัตถุได
มากกวาปกติทั่วไป ที่ตางกันก็คือ กําลังใจการขยายวัตถุเพื่อที่จะสงเขาสูกลองถายภาพนั่นเอง
        2.1 กําลังขยายขนาดวัตถุ
             กําลังในการขยายขนาดของวัตถุคือสิ่งที่ทําใหมันตางกัน แลวอะไรคือกําลังขยายขนาดของวัตถุกัน
ละ กอนอื่นตองทําความเขาใจเสียกอนวา เราจะใชเลขอัตราสวนในการพูดคุยเรื่องนี้โดยการแทนคาแบบนี้ :
ขนาดที่ปรากฏบนเซนเซอรรับภาพ : (ตอ) ขนาดของวัตถุจริง
     ขนาดที่เราจะพูดถึงนี้คือขนาดเปน “เทาตัว” ซึ่งเราพบเห็นไดทั่วไปในชีวิตประจําวัน เชนจํานวน
ผูสอบแขงขันมีรอยคน รับเพียง 10 คน ก็จะเปนอัตรา 10:1 – โจทยของเรายกพวกมา 6 คน ในขณะที่เรายืน
หนาซีดอยูคนเดียวก็เปนอัตราสวน 6:1 (ไมเกี่ยวกับ Macro แคยกตัวอยางทั่วไปเฉยๆ)
     สําหรับอัตราสวนในการถายภาพอยางที่บอกไปขางตนนั้น จะสามารถอธิบายไดวา เลนสหรือ
อุปกรณเสริมตัวนั้นๆ สามารถถายทอดขนาดของวัตถุจริงเขาสูเซนเซอรรับภาพไดระดับ(ขนาด)ใดในระยะ
โฟกัสใกลสุด
      ถาเปน       1:1 ก็หมายความวา ขนาดของวัตถุจริงจะปรากฏบนเซนเซอรรับภาพในขนาดที่เทากัน
เลย แตถาเปน 1:2 ก็จะหมายความวาขนาดบนเซนเซอรรับภาพเปน 1 (เทา) ในขณะที่วัตถุจริงมีขนาดเปน 2
(เทา)
     หากเราถายภาพเหรียญบาทซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง           2 cm อัตราสวน 1:1 หมายความวา
เหรียญบาทก็จะมีขนาด 2 cm บนเซนเซอรรับภาพเชนกัน (ขนาดเทาจริง) หากเปน 1:2 ก็หมายความวา
เหรียญบาทจะมีขนาดเล็กกวาของจริง 1 (เทา) หรืออีกกรณีหนึ่งก็เชน 2:1 ก็จะหมายความวาขนาดที่ปรากฏ
บนเซนเซอรรับภาพจะใหญกวาของจริง 1 เทาตัว
2.2 Macro & Close-Up
              คนทั่วไปจะไมรูวาสองคํานี้แตกตางกัน แตสําหรับชางภาพและคนที่บากลองเขาขั้นจะรูวาสองคํา
นี้ไมเหมือนกัน แยกแยะโดย “อัตราสวนกําลังขยาย” ที่เราพูดไปเมื่อสักครู
    สําหรับ    Close-Up แลวจะหมายถึง “โฟกัสไดใกล” ไมวาจะดวยอัตราสวนใดก็ตาม แตสําหรับ
มาตรฐานของ Macro แลว ตองวากันที่ 1:1 เปนตนไปเทานั้น
    อัตราสวน           1:1 มันสําคัญยังไง ก็ตอบไดวามันเปนเรื่องของความไดเปรียบทางดานคุณภาพของ
การนําไปใชงาน ซึ่งเริ่มมาตั้งแตยุคกลองฟลมที่นําภาพถายไปใชในงานสิ่งพิมพ อัตราขยาย 1:1 ทําใหขนาด
คุณภาพของภาพที่พิมพออกมาดี ไมตองนําไปขยายซ้ําอีกครั้งซึ่งจะทําใหคุณภาพของภาพแยลง (หรือที่เรียกวา
“ภาพแตก”) หรือถาตองขยายจริงๆ อัตราสวน 1:1 ก็จะไดเปรียบกวามาก และถึงแมวาจะเปนยุคปจจุบันที่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรล้ําสุดๆ การขยายภาพขึ้นมาจากขนาดจริงก็ยังลดคุณภาพของภาพลงไปเชนกันอยูดี ยิ่ง
ขยายมากคุณภาพก็ยิ่งต่ําลงมาก
     ดังนั้นอัตราขยายแบบ           1:1 ของ Macro แทๆ จึงไดเปรียบดวยประการฉะนี้
3.ทําความเขาใจกับการถายภาพ Macro
       อยางนอยเราควรจะตองรูจักคําสามคําตอไปนี้
       3.1 MFD (Minimum Focal Distance) ระยะโฟกัสใกลสุดจากจุดโฟกัสถึงระนาบเซนเซอรภาพ
           3.2 MWD (Minimum Working Distance) ระยะจากวัตถุถึงหนาเลนสของกลอง มันคือ “ระยะ
พื้นที่ทํางาน” ของผูถายภาพ
       3.3 Magnification ซึ่งก็คือกําลังขยายที่เราคุยกันไปแลวนั่นเอง
     ทั้งสามคํานี้มีความสําคัญตอการพิจารณาการถายภาพ            Macro ในแตละสถานการณเปนอยางมาก
เพราะถาเราไมเขาใจมัน ก็บอกไดวายากและเหนื่อยหนอย ทั้งวิธีการถายภาพและการเลือกใชอุปกรณซึ่งมี
เหตุผลสนับสนุนซึ่งกันและกัน




   ถาจะแยกประเภทของการถายภาพ              Macro ดวยลักษณะของตัวแบบ เราสามารถแยกไดงายๆ 2
แบบคือ ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหว+สามารถจับตองได และตัวแบบที่คอยแตจะหนีเราไปอยูเรื่อย
ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหวและเราสามารถจับตองไดก็เชน เครื่องประดับ พระเครื่อง ชิ้นสวนอะไหล
ตางๆ นาฬิกา ฯลฯ สวนตัวแบบที่คอยจะหนีเราตลอดเวลาก็คือ สิ่งมีชีวิตเชนพวกแมลง ผีเสื้อ ฯลฯ ที่เหมือน
จะไมเคยอยูนิ่ง
              MFD และ MWD จะเขามามีสวนในการพิจารณาตอนนี้แหละ อุปกรณที่ใหพื้นที่ MFD และ
MWD แกเรามากๆ จะชวยใหเราไดเปรียบกวาในแงของตัวแบบที่คอยแตจะหนีเรา เพราะเราไมจําเปนตองเขา
ใกลใหมันตื่นตกใจ (เพื่อที่มันจะไดอยูนิ่งๆ) แตอาจจะทําใหเราเมื่อยเพราะตองเดินไปเดินมาในกรณีการ
ถายภาพตัวแบบที่เราสามารถจับตองได เพราะเราตองขยับจับเปลี่ยนมุมอยูเรื่อย การเดินไปเดินมาระหวาง
กลองกับตัวแบบนั้นก็ไมใชเรื่องเล็กๆ ซึ่งอยางหลังนี้อุปกรณที่มีระยะ MFD และ MWD สั้นกวาจึงไดเปรียบกวา
ผูถายภาพนั่งอยูหลังกลองแลวเอื้อมมือไปหยิบไปจับตัวแบบไดทันที ไมตองเดินใหเมื่อย




4.อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up
       อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up มีตั้งแตราคายอมเยาไปจนถึงนาตกใจ แตแนนอนวา
ประสิทธิภาพและคุณภาพก็ยอมจะตางกันดวย
        4.1 Close-Up Filter
นี่คืออุปกรณที่งายและยอมเยา มันก็คือฟลเตอรสําหรับสวมหนาเลนสโดยที่มันจะมีความหนาของ
ชิ้นแกวมากกวาฟลเตอรปกติทั่วไปอยูสักหนอย ซึ่งดูเผินๆ แลวก็เหมือนกับการเอาแวนขยายมาติดที่หนาเลนส
นั่นแหละ และหนาที่ของมันก็คือทําตัวเปนแวนขยายใหกับเลนสธรรมดานั่นเอง
              Close-Up Filter มีหลายขนาดทางดานกําลังขยายใหเลือกใชตั้งแต +1 ขึ้นไป (เชนเดียวกับแวน
ขยาย) เราอาจจะสวมมันซอนกันหลายชั้นเพื่อเพิ่มกําลังขยายเขาไปอีก ถึงแมวามันจะขยายขนาดของวัตถุไดก็
จริง แตขอเสียของมันก็คือยิ่งขยายมากคุณภาพก็ยิ่งต่ําลงมาก และบริเวณขอบภาพก็จะเกิดอาการ “ฟุง” (ซึ่ง
เปนธรรมดาในเลนสนูนของฟลเตอรชนิดนี้) ยิ่งซอนทับกันหลายชั้นนอกจากคุณภาพจะต่ําลงแลวยังลดปริมาณ
แสงที่จะเขาสูกลองอีกตางหาก




        4.2 Reversing Ring : แหวนกลับเลนส
            มีลักษณะเปนแหวนพรอมเกลียวเพื่อใหเลนสสองตัวหันหนามาประกบกันได ซึ่งสวนทายเลนส
ของเลนสตัวปลายจะกลายเปนหนาเลนสแทน วิธีการนี้จะใหกําลังขยายสูง แตก็อาจจะเสี่ยงกับอันตรายที่
อาจจะเกิดขึ้นกับทายเลนสและขั้วสัมผัสตางๆ ซึ่งควรจะถูกปดมิดชิดอยูภายในกลองโดยปกติ
             อีกแบบหนึ่งก็คือเปนแหวนกลับเลนสที่ใชกลับเลนสตัวเดียวจากเมาทแปลนของตัวกลองเลย ทาย
เลนสมาอยูดานหนาเหมือนกัน (สวนหนาเลนสปกติมุดไปอยูในกลองเพื่อเซยฮัลโหลกับเซนเซอร) ให
กําลังขยายไดเหมือนกัน แตเราจะไมสามารถใชระบบโฟกัสอัตโนมัติหรือควบคุมรูรับแสงไดเลย ดังนั้นวิธีนี้จึง
เหมาะกับเลนสรุนเกาที่สามารถปรับทั้งสองอยางไดโดยการหมุนบนตัวเลนสโดยตรงมากกวา
4.3 Extension Tube : ทอตอเลนส
              มีลักษณะเหมือนกับกระบอกเลนสแตไมมีชิ้นเลนสอยูภายใน มันจะทําหนาที่ในการยึดระยะโฟกัส
ออกไปจากเดิมโดยมาแทรกอยูตรงกลางระหวางกลองและเลนส ซึ่งก็จะชวยใหเขาไปโฟกัสที่วัตถุไดใกล
กวาเดิม กําลังขยายสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด ขอดีของมันก็คือน้ําหนักเบา ราคาไมแพง (ถาเปนรุนที่มีขั้วสัญญาณ
สื่อสารเพื่อสงขอมูลโฟกัสและรูรับแสงราคาจะสูงขึ้นมาอีกกวาเทาตัว)
            Extension Tube มี 3 ขนาดใหเลือกใชเพื่อความเหมาะสมในการเพิ่มกําลังขยาย หรือจะบาพลัง
ใสซอนกันหลายๆ ตัวก็ได แตขอเสียของมันก็คือจะทําใหปริมาณแสงที่เขาสูกลองสูญเสียไปมากพอสมควร
และจะไมสามารถโฟกัสที่ระยะอนันต (Infinity) ได
4.4 Bellow
            ลักษณะเปนทอยึดเหมือนกับกลองในสมัยโบราณ ติดตั้งอยูที่ตําแหนงระหวางกลองและเลนส
(หลักการเดียวกับ Extension Tube) สามารถยึด-หดระยะไดอยางอิสระโดยการวางบนรางเลื่อน แตอาจจะ
วุนวายในการพกพาหรือใชงานอยูสักหนอย อุปกรณตัวนี้ใหกําลังขยายคอนขางสูงแตก็ใชงานคอนขางยากและ
ไมคอยคลองตัว เราจึงไมคอยไดเห็นมันสักเทาไหรนัก และเชนกันอุปกรณตัวนี้ทําใหปริมาณแสงเขาสูกลอง
นอยลงดวย




        4.5 เลนส Macro
     หลายคนอาจจะสงสัยวาเลนสหลายๆ ตัวมีคําวา                  “Macro” อยูดวยเชนกัน และก็ตองตามมาดวย
อัตราสวนกําลังขยายดวย ก็เปนอันรูกันวา ถาไมใช 1:1 ก็ยังไมใชเลนส Macro ในระดับมาตรฐาน
      เลนส       Macro นั้นก็มีเรื่องระยะโฟกัสเปน mm และการควบคุมรูรับแสงเชนเดียวกับเลนสอื่นๆ
ทั่วไป ความพิเศษของมันก็คือความสามารถในการโฟกัสวัตถุในระยะใกลไดถึงระดับ 1:1 ซึ่งจะมากกวา
ชาวบานเขานั่นเอง
     เลนส          Macro ในทองตลาดปจจุบันมีตั้งแตระยะ 35mm ไปจนถึง 200mm ใหเลือกใชงานตาม
ความเหมาะสม (และกําลังทรัพย) ในแนวคิดเดียวกับเลนสอื่นๆ แตกอนที่จะพูดถึงงบประมาณในการเลือกซื้อ
ก็อยาลืมเอาเรื่องของ MFD และ MWD เขามาพิจารณาดวย ยกตัวอยางเชน เลนส Macro ระยะ 60mm
ยอมจะมีราคาต่ํากวาเลนส Macro ระยะ 180mm แตทั้งสองตัวนี้ใหในเรื่อง MFD และ MWD ที่ตางกัน เลนส
60mm ตองเขาใกลตัวแบบมากกวา ในขณะที่ 180mm ตองออกหางจากตัวแบบ (มีระยะ MFD และ MWD
มากกวา)
     การเลือกอุปกรณไมมีแบบไหนที่ดีที่สุด ขึ้นอยูกับสถานการณและวิธีการถายภาพของเราเอง ถา
เลือกใชอุปกรณที่ไมเหมาะสมและก็ยังสามารถถายไดแตอาจจะหืดขึ้นคออีกสักนิด ใครที่เคยถายภาพผีเสื้อดวย
เลนส Macro ระยะสั้นคงจะรูดีวามันสาหัสขนาดไหนกวาจะไดแตละภาพ เพราะขยับนิดเดียวพวกมันก็กระพือ
ปกบินหนีไปอีกแลว




        4.6 ขาตั้งกลอง
           การถาย Macro ความนิ่ง เปนสวนสําคัญ เพราะการถายรูประยะใกลๆ การสั่นเพียงนิดเดียวจะ
สงผลตอภาพที่ไดอยางมาก
            คุณสมบัติที่ตองการก็มี ขากางราบกับพื้นไดมากแคไหน สามารถถอดแกนขาตั้งออกเพื่อถาย
แนวราบหรือกลับหัวขาตั้งไดไหม เพราะวาในกรณีที่เราตองการถายสิ่งที่อยูบนพื้น เราจะไดสามารถเขาใกล
มากขึ้น สวนหัวก็ควรจะเปนหัวบอลเพราะจะคลองตัวกวา
              หลักการเลือกซื้อก็ไมยาก อันดับแรกก็เหมือนการเลือกซื้อขาตั้งทั่วไปคือดูน้ําหนักที่รับไดของขา
ตั้ง จากนั้นก็ดูคุณสมบัติเพิ่มเติมที่เราตองการที่ไดบอกไวในตอนแรก นอกจากนั้นก็คงเปนงบประมาณ
เพราะวาคุณภาพที่ไดก็คงเปนไปตามราคาอยางที่รูๆกัน
4.7 รีโมท / สายลั่นชัตเตอร
            เพราะวาความนิ่งนั้นมีความสําคัญ การที่เรากดชัตเตอรเองอาจจะทําใหเกิดอาการสั่นได ยังไงซะ
เพื่อความแนนอน




        4.8 แฟลช
             เพราะการถาย Macro เราจะหรี่รูรับแสงใหแคบ ทําให Speed shutter ชาลงอาจทําใหภาพเกิด
อาการสั่นไหวหรือเบลอได แฟลชชวยใหเห็นรายละเอียดในสวนที่มืดของวัตถุ นอกจากนี้ยังมีผลพลอยได เชน
การถายใหฉากหลังดํา ก็ทําใหภาพที่ไดดูนาสนใจขึ้น นอกจากนี้ยังมีอุปกรณแบบอื่นๆ เชน ริงแฟลช สําหรับ
การใชงานที่ตางออกไป




5.เทคนิคการถายภาพแบบ Macro
        5.1 การวัดแสง
             เมื่อคุณใชระบบวัดแสงจากตัวกลอง ซึ่งเปนระบบวัดแสงแบบสะทอนที่ผานเลนสเขามา อาจจะดู
ไมซับซอนนัก เพราะเพียงแคกดปุมชัดเตอรลงครึ่งหนึ่งกลองก็วัดแสง คาแสงที่ปรากฏเปนการแสดงถึงคาแสงที่
หายไปจากการถายภาพในระยะใกล จากนั้นก็ชดเชยแสงตามคาการสะทอนของสี หรือชดเชยแสงไปในทิศทาง
ที่คุณตองการ
แตถาหากคุณใชระบบวัดแสงแบบตกกระทบ ซึ่งใชในเครื่องวัดแสงแบบมือถือ แยกออกนอกตัว
กลอง หรือใชการคํานวณแฟลชแบบแมนวล จะตองชดเชยแสงใหกับการเสียแสงดวย เปนทฤษฎีเรื่องแสง
เนื่องจากการถายภาพระยะใกลกําลังขยายสูง แสงจะเดินทางและสะทอนภายในกระบอกเลนส คาแสงจะ
ลดลงราว 2 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 และประมาณราว 1 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขาย 1:2
           เมื่อถายภาพดวยกําลังขยายมากขึ้น ก็จะเสียแสงมากขึ้นตามไปดวย กลองบางรุนบางยี่หอ แสดง
ระดับคาแสงโดยแสดงคาขนาดรูรับแสงที่ปรับลดลงไปใหโดยอัตโนมัติ




        5.2 การจัดองคประกอบภาพ
            งานถายภาพ Macro จัดเปนการถายภาพเฉพาะทาง มีหลักคิดที่ใชในการจัดองคประกอบภาพ
และการนําเสนอไมมากนัก ประการแรกคือ ตองการถายภาพเพื่อแสดงใหเห็นถึงวัตถุที่มีขนาดเล็ก คมชัดและ
ขยายใหญขึ้น ดวยมุมมองแบบ Magnification Eye ดวยความแตกตางของการมองที่ผิดแผกไปจากปกติ
ความแปลกตาที่เราไมไดเห็นวัตถุ หรือภาพเหลานี้ในระยะใกลกําลังขยายมาก ภาพจึงดูนาสนใจ
               ประการที่สองคือ เราตองการถายภาพวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เพื่อการใชงานในดานใดดาน
หนึ่ง งานที่ตองการใชการถายภาพ Macro เปนประจําคือ การถายภาพวัตถุที่มีความสําคัญ เชน การถายภาพ
เครื่องประดับ เพชร พลอย ตาง ๆ หรือแมแตอุปกรณอิเล็กทรอนิคสขนาดเล็ก ๆ งานเหลานี้เปนงานถายภาพ
เชิงธุรกิจที่ใชการถายภาพ Macro การถายภาพพระเครื่อง ปลาสวยงาม เปนตัวอยางงานถายภาพ Macro ที่
ใกลตัว นักถายภาพหลายทานมีรายไดจํานวนไมนอยกับการถายภาพงานเหลานี้
อีกงานหนึ่งที่เปนตัวอยางในการใชการถายภาพ Macro คือการถายภาพในงานเชิงวิชาการดาน
วิทยาศาสตร ซึ่งมีทั้งการถายภาพดวยกลองถายภาพแบบปกติ อยางเชน การถายภาพดอกไม แมลง สิ่งมีชีวิต
ขนาดเล็ก และการถายภาพผานกลองกําลังขยายสูงมาก ๆ อยางกลองจุลทรรศน กลองสเตอริโอแบบสองตา
หรือแมแตการถายภาพดวยกลองจุลทรรศนอิเล็คตรอน ที่ใชถายภาพจุลชีพ
              ในทางการแพทยก็มีการถายภาพผิวหนัง ถายภาพฟนในชองปาก ซึ่งอาจจะไกลตัวสําหรับนัก
ถายภาพทั่วไป การจัดองคประกอบภาพสําหรับงานถายภาพแบบนี้ มักเนนที่ความคมชัดของวัตถุที่ตองการ
ถายภาพ เนนความสําคัญที่รายละเอียดของรูปราง สัดสวน ลักษณะพื้นผิว และมองเห็นในมุมที่ตองการเปน
สําคัญ การจัดองคประกอบภาพจึงมักวางตําแหนงไวกลางภาพ เพื่อใหไดภาพที่คมชัดและนําไปใชงานอื่นตอไป
ไดงาย อยางไรก็ตาม การเลือกมุมมอง การควบคุมระยะชัด การเลือกฉากหลัง จะไมเปนกฎตายตัว ขึ้นอยูกับ
นักถายภาพและจุดประสงคในการนําภาพนั้นไปใชงาน
             สําหรับ การวางตําแหนงจุดเดนในภาพ ลวดลาย สีสันของซับเจกต ฉากหลัง และการควบคุม
ระยะชัดที่พอเหมาะคือ หลักงาย ๆ ในการถายภาพ Macro และความสําคัญของสิ่งที่เราถายภาพ จะเปนตัว
สงเสริมใหภาพมีคุณคามากยิ่งขึ้น




        5.3 การควบคุมระยะชัด
              การถายภาพ Macro นั้นมีผลของระยะชัดที่แตกตางไปจากการถายภาพทั่วไป ดวยเลนสตัว
เดียวกันซึ่งอาจจะเปน Macro หรือไมก็ได หากคุณทดลองถายภาพในระยะหางปกติโดยใชขนาดรูรับแสง
f/11-16 ระยะชัดของภาพอาจครอบคลุมไดไกลจนถึงระยะอนันต แตเมื่อคุณนําเลนสตัวเดียวกันนี้มาถายภาพ
ในระยะใกล ถายภาพ Macro ที่กําลังขยาย 1:1 ระยะชัดของภาพเมื่อใชขนาดรูรับแสง f/11-16 ระยะชัดของ
ภาพอาจครอบคลุมเพียงระยะ 2-3 มิลลิเมตรเทานั้น
           เพราะฉะนั้น การควบคุมระยะชัดของการถายภาพ Macro จึงมีความสําคัญมาก การเลือกใช
ขนาดรูรับแสงใหเหมาะสม ครอบคลุมระยะชัดที่ตองการ และตองไมลืมวาขนาดของรูรับแสง นอกจากจะมีผล
ตอระยะชัดของซับเจกตแลวยังมีผลตอการควบคุมฉากหลังดวย โดยปกตินักถายภาพสวนใหญมักเลือกใช
ขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/8 ขึ้นไป เพื่อใหไดระยะชัดลึก แตหากเลือกใชคาขนาดรุรับแสงที่ f/4-8 กับการ
ถายภาพในสภาพแสงธรรมชาติก็ใหผลลัพธที่ดีไมนอย
             สําหรับการใชงานกับกลองแบบ APS-C ซึ่งมีระยะชัดที่สูงกวากลองแบบฟูลเฟรม ถาหากใชแฟลช
ในการถายจะแตกตางไปจากนี้ ตองปรับใหรูรับแสงแคบลงกวานี้ เพราะถาโฟกัสไปยังตําแหนงที่ตองการได
ถูกตองเขาโฟกัสแลว ภาพจะคมชัดและมีระยะตามขนาดรูรับแสงที่เลือกใช สวนการโฟกัสผิดตําแหนง แมจะ
เพียงเล็กนอย แลวคิดจะใชรูรับแสงแคบคุมระยะชัดใหไดภาพที่คมชัดนั้น อยางไรเสีย ภาพก็ยังจะดูไมคมชัดอยู
ดี
             ทั้งนี้ การโฟกัสใหเขาตําแหนงที่ตองการสําคัญมาก ระยะชัดนี้เปนชวงคาขนาดรูรับแสง ที่ตอง
เลือกใชใหเหมาะกับกําลังขยาย ขนาดของซับเจกตและระยะหางของฉากหลังกับซับเจกต หากไมแนใจ ก็ตอง
กดปุมชัดลึกเพื่อดูผลของระยะชัดที่แทจริงกอนกดชัดเตอรเพื่อถายภาพ
        5.4 การควบคุมฉากหลัง
          การถายภาพ Macro ที่ตองการแสดงใหเห็นถึงบรรยากาศสิ่งแวดลอม ก็ตองเลือกเก็บรายละเอียด
ของฉากหลังมาดวย เลนสไวดที่มีระยะโฟกัสใกลสุดนั้น จะมีกําลังขยายสูง ถายภาพไดกําลังขยาย 1:3-4 ก็
เหมาะกับการถายภาพแบบโคลสอัพเพื่อเก็บฉากหลัง
             เทคนิคในการถายภาพ Macro ใหฉากหลังเขมดํานั้น มีอยูดวยกันหลายวิธี แตที่จะแนะนําคือการ
เลือกฉากหลังที่มีคาแสงแตกตางจากซับเจกตมาก ๆ ปรับมุมถายภาพดูสักครู ก็จะเห็นวามีฉากหลังบางสวนที่
ไมไดรับแสง ความเปรียบตางแสงที่สูงเกินกวากันราว 2 สตอป เมื่อถายภาพดวยคาแสงที่ตกลงบนซับเจกต ก็
จะทําใหฉากหลังเขมดําไดเอง
             นอกจากนี้ การถายภาพในทิศทางแบบยอนแสง แสงเฉียงหลังหรือขาง ก็จะไดภาพฉากหลังเขม ๆ
ถาหากสภาพแสงไมเอื้ออํานวย แลวอยากไดฉากหลังที่เขมดํา การใชฉากหลังสีดําอยางกระดาษดําดาน ผา
กํามะหยี่แลวนําไปวางไวใหหางจากซับเจกตสักหนอย ก็เปนวิธีที่ใชกันมาแตไหนแตไร
             อีกวิธีหนึ่งของการควบคุมฉากหลังใหเขมดําคือ การใชแสงแฟลชเปนแสงหลักในการถายภาพ ซับ
เจกตไดรับแสงแฟลช สวนฉากหลังที่หางออกไปก็จะเขมดําลงไปเอง
        5.5 การใชแฟลชในการถายภาพ Macro
          การใชแฟลชกับการถายภาพ Macro มีขอควรระวังหลายประการ ซึ่งแตกตางไปกับการใชแฟลช
ถายภาพในระยะปกติ เนื่องจากการถายภาพ Macro เปนการถายภาพในระยะใกลมาก แฟลชที่ติดตั้งอยูบน
Hot Shoe ของกลองอาจทําใหองศาในการยิงแสงแฟลชไมครอบคลุมพื้นที่ถายภาพ เพราะเลนสอาจบังแสง
แฟลช ตองปรับกดมุมของแฟลช แตถาถายภาพใกลมาก ๆ ก็จะยังไมสามารถยิงแสงไดครอบคลุมอยูดี
การแกไขคือ การใชสายซิงคแยกแฟลชออกนอกตัวกลอง เพื่อเปดมุมในการยิงแสงแฟลชไดกวาง
มากขึ้น โดยที่แฟลชยังมีการทํางานในระบบ TTL เลนส Macro ทางยาวโฟกัส 50-60 mm มีระยะหาง
ระหวางซับเจกตกับหนาเลนสที่สั้นมาก เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 หนาเลนสเกือบชิดติดกับซับเจกต เปน
อุปสรรคในการใชแสงแฟลชอยางมาก
            สวนเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm มีระยะหางใกลสุดโดยเฉลี่ยที่ 10-14 เซนติเมตร
ซึ่งเปนระยะหางที่เพียงพอกับที่เปดมุมใหยิงแสงแฟลชไดงายกวา เปนอีกหนึ่งเหตุผลของความนิยมในการ
เลือกใชเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm
            อีกประเด็นหนึ่งที่สําคัญในการใชแฟลชในการถายภาพก็คือ แฟลชยิงแสงโอเวอร เนื่องจากระยะ
การทํางานที่ใกลมาก ทําใหแฟลชที่มีระบบการทํางานแบบ TTL มักยิงแฟลชผิดพลาดโอเวอรกวาพอดี ถาใช
ขนาดรูรับแสงกวาง กําลังไฟที่ถูกยิงออกไป ระบบการคํานวณจะปดการรับแสงแฟลชไมทัน การแกไขคือ ตอง
ใชขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/11 ขึ้นไป
            นอกจากนี้ การใชการแบงกําลังไฟแฟลชแบบแมนวลก็ไดผลดีเชนกัน ปรับกําลังไฟใหเหมาะสม
กับขนาดรูรับแสง และตองไมลืมวาจะเสียแสงไปกับการถายภาพดวยกําลังขยายสูงดวย
        5.6 เทคนิคการสรางสรรคภาพ Macro
            ภาพ Macro เปนการถายภาพที่เปดโอกาสใหนักถายภาพไดคิดทดลองเทคนิคการถายภาพตาง ๆ
ไดดี โดยเฉพาะกับแสงแฟลช เพราะพื้นที่แคบควบคุมแสงไดงาย การใชแฟลชแยกออกนอกตัวกลอง และเพิ่ม
แฟลชมากกวา 1 ตัว ก็จะยิ่งไดภาพที่ใสเคลียร ไมมีเงาได
             นอกจากแฟลชที่ใชจัดแสงมากกวา 1 ตัวแลว การจัดแสงดวยไฟตอเนื่อง อยางไฟฉายขนาดเล็กที่
มีกําลังไฟใหความสวางสูง และมีสีขาวก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่ใชงานไดดี หรือใชกระจกเงาสะทอนแสงเขาไป
ในบริเวณที่ตองการ หรือจะลงทุนกับแฟลชแบบ Ring Flash หรือแฟลชที่ออกแบบสําหรับการถายภาพ
Macro โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาไมถูกเลย เพิ่มเงินอีกนิดซื้อแฟลชสองตัวใชดีกวา
             ในการถายภาพดอกไมใหบรรยากาศดูชุมฉ่ํา ก็อาจใชสเปรยขนาดเล็กที่ฉีดละอองน้ําไดละเอียด
เพิ่มความชุมฉ่ํา หรือเพิ่มขนาด Texture ของเสนใยแมงมุมขนออนบนดอกไมไดดี
              เทคนิคในการถายภาพวัตถุ สินคาขนาดเล็ก หรือพระเครื่องก็เปนหนึ่งในการถายภาพ Macro
เชนกัน ใชแผนกระจกใส หรืออะคริลิคก็ได วางพาดใหสูงจากพื้นราว 0.5-1 เมตร เอาฉากหลังสีที่ตองการ
อยางผากํามะหยี่หรือกระดาษวางไวดานลาง ระยะหางขางตนจะทําใหฉากหลังไมมีรายละเอียด มีแตสี วาง
วัตถุที่ตองการถายลงบนกระจก อาจใชแสงธรรมชาติ แฟลชหรือหลอดไฟเปนแหลงกําเนิดแสงก็ได ระวังการ
สะทอนของแสงกระจก และปรับคาสมดุลแสงสีขาวใหถูกตอง ตั้งกลองในมุมที่ตั้งฉากกับกระจก จัด
องคประกอบภาพอยูบนฉากหลังแลวถายภาพ เปนเทคนิคงาย ๆ ที่ไดผลดีกับการถายภาพพระเครื่อง
6. เทคนิคการถายภาพดอกไม
         การถายภาพดอกไมแบบใกลใหสวยงาม หรือที่เรียกกันวา การถายภาพ Macro มีสิ่งที่จะตองเรียนรู
และเขาใจ คือ เรื่องของอุปกรณ ถายภาพ เรื่องของการตั้งคาตางๆ ของกลองถายภาพ เรื่องของการวัดแสง
เรื่องของการเลือกฉากหลัง บทความการถายภาพดอกไมแบบใกลๆ
           การถายภาพดอกไมแบบใกลๆ ที่นิยมกันสวนใหญจะเปนการถายใหเห็นเกสรของดอก หรือใหเห็น
ลายเสนของกลีบดอกของดอกไม ซึ่งสิ่งที่จะเปนตัวกําหนดวาจะถายภาพใหไดรายละเอียดขนาดไหนนั้นก็
ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพเรื่องกําลังขยายของเลนส หากเปนเรื่องของกลองดิจิตอล ก็คือ กําลังในการ Zoom
นั่นเอง โดยกลองดิจิตอลจะมีการการตั้งคา Mode Macro Mode เพื่อถายภาพใกล โดยกลองแตละรุน แตละ
ยี่หอจะมีระยะใกลสุดในการถายภาพวัตถุแตกตางกันจะตองเปดอานเอาเองในคูมือ โดยเขาจะกําหนดไวเปนคา
close up range เชน บางรุน ใกลสุด 43 mm บางรุน 2 นิ้ว ซึ่งระยะนี้นี่เองที่เปนตัวกําหนดการถายใกลวา
จะไดขนาดขยายใหญขนาดไหน (เนนวาใหอานคูมือ) สวนคนที่ใชกลอง DSLR ที่เปลี่ยนเลนสไดก็ใหไปดูที่เลนส
ซึ่งจะมีระบุระยะใกลสุดเขียนไวที่กระบอกเลนสอยูตรงขามกับเครื่องหมาย infinite
         เมื่อเขาใจเรื่องของอุปกรณเบื้องตนแลว ในการถายภาพดอกไมแบบใกล บางครั้งดอกไมมีลมมา
กระทบจะไหวเอนไปตามลม การถายภาพอาจจะไดภาพที่ไมชัด เราอาจจะตองหาขาตั้งกลอง หรือแผนบังลม
มาบังที่ดอกไม แตก็ตองระมัดระวังเรื่องของการบังแสงดวย ตองไมทําใหแสงผิดเพี้ยนไปจากที่เราตองการ
นอกจากนั้นแลวการถายภาพดอกไมใหดูสดชื่นอาจจะตองหาน้ํามาราดที่ดอกไมใหมีหยดน้ําเกาะอยูตามดอกไม
ก็จะทําใหไดภาพที่ดูดี เปนธรรมชาติ อีกแบบหนึ่ง
         เริ่มตนการถายภาพดอกไมไมตองไปไหนไกลก็หาดอกไมหนาบานหลังบานของเรานั่นเอง ฝกการ
ถายภาพจากบานกอนออกไปลุยถายภาพตาม สวนสาธารณะ รวมทั้งตามสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติตางๆ
เชน อุทยานแหงชาติภูกระดึง หรือที่อื่นๆ
        การวัดแสงในการถายภาพดอกไม ควรจะวัดแสงที่กลีบดอกและหามุมที่ฉากหลังของดอกไมเขม ดวย
ความเปรียบตางของแสงระหวางกลีบดอก และฉากหลังจะชวยให ไดภาพที่ดอกสวยงามโดดเดน ในขณะที่ฉาก
หลังมืดขึ้น อีกหลาย Stop หมายถึงมืดกวา ดอก
       การจัดองคประกอบภาพก็เปนปจจัยอีกอันหนึ่งในการทําใหไดภาพที่สวยงาม เชน การใหมีเสนนํา
สายตาจากเกสร หรืออาจจะหาจุดเดน ของดอก แลววางในตําแหนงที่เหมาะสมก็จะไดภาพดอกไมที่สวยงาม
ครบองคประกอบ
         อุปกรณที่ขอแนะนําในการถายภาพดอกไมก็คือ เลนส Macro และ ฟลเตอร ถายภาพใกล (Close
Up filter) เพื่อนํามาสวมเขาไปที่หนากระบอกเลนส กลองดิจิตอลรุนเล็กหลายๆ รุนอุปกรณเสริมอาจจะ
เรียกวา Convertor ทําหนาที่ขยายภาพใกลใหใหญขึ้น ใชในการถายภาพใกลไดดวย ราคาไมแพงมาก สวน
ทานที่ใชกลองที่ถอดเลนสได DSLR จะมีความสามารถในการถายภาพ Macro ไดดีกวา เนื่องจากสามารถหา
ซื้อเลนส Macro มาใชไดโดยตรง




        จากภาพประกอบ ภาพแรกดอกไมสีสมถูกวางตําแหนงใหแสดงแดดสองโดยตรง เมื่อเราวัดแสงที่
ดอกไม หมายถึงเล็งกลองไปที่ดอกไมโดยตรง ฉากหลัง ซึ่งแสดงไมถูกสงไปถึง ก็จะทําใหดอกไมชัดเจนโดดเดน
ออกมาจากฉากหลัง การปรับ Focus ก็ใหเลือก Focus ที่เกสรของดอกแลวใหจุดที่เสนเกสร และกลีบดอกพุง
ออกมาจากมุมบนขวาก็จะไดภาพถายดอกไมแบบในภาพดูสวยงาม เดนชัด สวนภาพดานขวาเปนการจัดให
กลีบดอกแนนๆ เต็มภาพเปนแฉกกระจายออกจากจุดตรงกลางก็ไดภาพที่ใหความสวยงามอีกแบบหนึ่ง
7.เทคนิคในการถายภาพสัตวเลี้ยง
        7.1 ใชความเร็วชัตเตอรสูงๆ
             เพื่อหยุดการเคลื่อนไหวที่อาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากสัตวขยับตัว สวนวาจะสูงแคไหน ตองลอง
ถายภาพดู หากสัตวเคลื่อนไหวตัวแลว ภาพยังชัดอยูแสดงวาความเร็วพอ หากไมพอก็ลองเพิ่มขนาดรูรับแสงให
ใหญขึ้น (เลขนอย) หากยังไมพอก็เพิ่ม ISO แตตองระวังเรื่องนอยส
        7.2 ใชขนาดรูรับแสงกวางๆ
            เพื่อแยกตัวสัตวออกจากฉากหลัง เพื่อเนนจุดสนใจอยูที่สัตวเลี้ยงของคุณอยางเดียว และจะได
ความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้นตามขอ 1 อีกดวย
        7.3 ถายภาพจากระดับสายตาของสัตว
             เพื่อใหมีมุมมองที่นาสนใจมากขึ้น เพราะสัตวเลี้ยงสวนใหญจะตัวเล็กๆ มุมมองที่เรามองเห็นแบบ
ปรกติ ก็คือกมลงมอง ดังนั้นเมื่อคุณถายภาพสัตวเลี้ยงจากมุมมองปรกติ ภาพของคุณก็จะเปนภาพแบบ
ธรรมดา ไมนาสนใจ เพราะเปนมุมมองที่เราเห็นกันอยูทั่วๆไปอยูแลว
        7.4 ซูมเขาหาตัวสัตว
           เพื่อใหจุดสนใจของสัตวเลี้ยงของคุณมีพื้นที่ในภาพมากที่สุด จะไดไมมีอะไรมาแยงความเดนไป
และจะทําใหไดมุมมองที่แตกตางจากปรกติ เพราะอยางที่เกริ่นไปแลววาสัตวเลี้ยงนั้นสวนใหญจะตัวเล็ก เราจะ
มองเห็นแบบเล็กๆเปนสวนใหญ เพราะฉะนั้นเมื่อเห็นภาพสัตวเลี้ยงแบบชัดๆใหญๆ ภาพจึงนาสนใจขึ้น หาก
เปนสัตวเลี้ยงที่เชื่องและไมตื่นกลอง อาจจะใชเลนสสั้นๆได แตหากสัตวตื่นกลอง อาจจะตองใชเลนสซูมแลว
แอบถายจากที่ไกลๆแทน
        7.5 โฟกัสที่ตาของสัตวเลี้ยง
            เหมือนกับการถายภาพบุคคล เพราะตาคือ “หนาตางของดวงใจ” หากคุณอยากรูใจสัตวเลี้ยงของ
คุณ ก็ตองมองใหลึกซึ้งเขาไปในดวงตาครับ
        7.6 ถายรัวหลายๆชอต
            ในกรณีที่สัตวเลี้ยงไมยอมอยูนิ่ง เราอาจจะตองถายภาพรัว แลวคอยมาเลือกภาพที่นารักๆเอา
        7.7 หลีกเลี่ยงการใชแฟลช
           เพราะจะทําใหสัตวตกใจ อาจจะถึงขวัญเสีย พาลกลัวกลองไปเลย และแสงแฟลชนั้นอาจจะเปน
อันตรายกับตาของสัตวเลี้ยงของคุณได
8.เทคนิคการถายแมลงบิน
        การถายภาพแมลงใหนาสนใจ นอกเหนือจากการถายภาพแมลงเกาะนิ่งๆอยาง ผีเสื้อกําลังดูดกิน
น้ําหวาน ยังสามารถถายแมลงที่กําลังบินอยูในอากาศ ดวยทาทางที่ออนชอยสวยงาม บันทึกลงบนภาพถาย
ของเรา ปญหาที่มักพบบอย คือ ภาพฉากหลังชัด แตแมลงกลับเบลอ หรือโฟกัสผิดที่ผิดทาง
        8.1 แมนนวลโฟกัส M
          อยางที่บอกกันไปแลว วาแมลงไมสามารถสั่งใหเคลื่อนไหวไดอยางใจเราได ดังนั้น เราตองดักรอ
ดวยการแมนนวลโฟกัส ในจุดที่คาดวาแมลงจะบินผาน




                            ใชออโตโฟกัส โฟกัสผิดที่ เพราะความเร็วของแมลงสูง
8.2 วัดแสงรอ
            เมื่อไดจุดที่คาดวาแมลงจะบินผานแลวใหเราคาดคะเนแสง แลววัดแสงรอ เพราะการถายภาพ
แนวนี้ตองอาศัยความรวดเร็วขั้นเทพ จะมามัวปรับแสง เมื่อแมลงบินผานก็ไมทันการณ หรือจะตั้งโหมด
อัตโนมัติ กดล็อกคาแสงแลวถายก็ได
        8.3 สปดชัตเตอรสูง
          เพื่อหยุดแมลงใหนิ่ง (1/500 ขึ้นไป) และปจจัยที่ทําใหสปดชัตเตอรสูงได นั่นคือแสงตองเพียงพอ
การดันความไวแสงใหสูง จะชวยใหถายภาพใหหยุดนิ่งงายขึ้น




8.4 รูนิสัยของแมลง
               สังเกตพฤติกรรมและรอเวลาใหแมลงชะลอความเร็ว การถายแมลงที่กําลังบินอยางปรกติอยูใน
อากาศ เปนสิ่งที่แทบจะเปนไปไมได แตดวยพฤติกรรมของแมลงแตละชนิด ยอมมีการชะลอความเร็ว เชน
ผีเสื้อและผึ้ง จะชะลอเมื่อกําลัง จะตอมดอกไม หรือแมลงปอ ที่จะมีจังหวะชะลอ เมื่อเวลาบิน และจะกลับมา
เกาะที่เดิมเสมอ ดังนั้นจึงควรสังเกตพฤติกรรม ของแมลงแตละชนิด ที่เราตองการจะถายดวย
บรรณานุกรม


ANiiNooN. ม.ป.ป. เทคนิคการถายภาพมาโคร. (ออนไลน). แหลงที่มา :
https://sites.google.com/site/aniinoonblog58/thekhnikh-kar-thay-phaph-makhor. 16 ธันวาคม
2555
Nikon. ม.ป.ป. เคล็ดลับในการถายภาพสถานการณตางๆ. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://dslr.nikon-
asia.com/amateur3/th/macro. 16 ธันวาคม 2555

More Related Content

More from edtech29

Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyedtech29
 
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรมการถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรมedtech29
 
การถ่ายภาพทิวทัศน์
การถ่ายภาพทิวทัศน์การถ่ายภาพทิวทัศน์
การถ่ายภาพทิวทัศน์edtech29
 
การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพเคลื่อนไหวการถ่ายภาพเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพเคลื่อนไหวedtech29
 

More from edtech29 (6)

Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
Amplifier
AmplifierAmplifier
Amplifier
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copy
 
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรมการถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
การถ่ายภาพสถาปัตยกรรม
 
การถ่ายภาพทิวทัศน์
การถ่ายภาพทิวทัศน์การถ่ายภาพทิวทัศน์
การถ่ายภาพทิวทัศน์
 
การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพเคลื่อนไหวการถ่ายภาพเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพเคลื่อนไหว
 

Macro photography

  • 1. การถายภาพแบบมาโคร เสนอ อาจารยชไมพร อินทรแกว จัดทําโดย นางสาวซานีซะห ลาเตะ 54201100 นางสาวลาตีปะห ลอแมง 5420110016 นางสาวคอดีเยาะห วาโซะ 5420110022 รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 263-205 Photographic Technology in Education ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. คํานํา กลุมของขาพเจาไดจัดทํารายงานเลมนี้จุดประสงคเพื่อใหผูเรียนหรือผูที่มีความสนใจในเรื่องของการ ถายภาพมาโครไดศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาความรูที่เกี่ยวกับการถายภาพมาโครในเลมนี้ซึ้งจะมีขอมูลตางๆในการ ถายภาพและอุปกรณ เครื่องมือที่จําเปนตองใช และเทคนิคตางๆ และจะมีภาพตัวอยางใหไดดูเปนตัวอยาง ซึ้งถาเกิดกลุมของดิฉันไดใหขอมูลอะไรที่ผิดพลาดไปหรือไมมีในรายงายเลมนี้ก็ตองขออภัย ณ โอกาสนี้ดวย จัดทําโดย สมาชิกในกลุม
  • 3. Macro Photography การถายภาพแบบมาโคร ทุกครั้งที่มีการถายภาพแมลงหรือดอกไมชนิดที่เจาะเขาไปเห็นรายละเอียดอยางนาตื่นตาตื่นใจ คนดู ภาพมักจะมีอาการหยุดเพื่อใชเวลาพิจารณาภาพนั้นๆ เสมอ นั้นเปนเพราะมันนําเสนอมุมมองอันแตกตางจาก สายตาปกติในชีวิตประจําวันที่ไมมีทางจะมองเห็นอะไรแบบนั้นไดเลย นั่นแหละคือเสนหและความนาสนใจ ของภาพถายที่เราเรียกมันวา “Macro” 1.ความหมายของ Macro ภาพ Macro คือการถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็กไปจนถึงเล็กจิ๋วเพื่อเปดเผยรายละเอียดของมันผาน กลองถายภาพ รายละเอียดเล็กๆ นี้ไมสามารถมองเห็นดวยไดสายตาปกติลวนๆ แตดวยความสามารถในดาน กําลังขยายสูงของภาพ Macro นั้นจะชวยเปดมุมมองใหมๆ ของโลกใบเล็กใหเราไดเห็นเปนที่อัศจรรย Macro มิใชการถายภาพเลนๆ สนุกเพียงอยางเดียว มันยังถูกนําไปใชในงานเก็บรายละเอียดของวัตถุ สิ่งของคอนขางหลากหลายเชน เครื่องประดับ, พระเครื่อง, งานชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส, หรือใครที่เปนแฟนซีรี่ส CSI ของฝรั่งก็จะไดเห็นกลองที่ทําหนาที่บันทึกภาพแบบ Macro เขาไปรวมอยูในฉากเสมอๆ เพราะหนวยงาน พิสูจนหลักฐานจําเปนตองเก็บรายละเอียดชนิดละเอียดยิบ แนนอนวารวมถึงสิ่งที่สายตาปกติอาจจะมองไมเห็น หรือมองขามไปดวย 2.กลองที่เรามีละ สามารถเลน Macro ไดดวยไหม กลอง Digital Compact โดยมากจะมีโหมด Macro มาใหใชงานดวย แตถาพูดถึง DSLR แลวเราจะ พุงประเด็นไปที่ “เลนส” และอุปกรณประกอบเลนสเปนหลัก แนนอนวาอุปกรณสําหรับถายภาพ Macro อันดับหนึ่งก็ยอมจะตองเปนเลนส Macro ที่เราจําใจตองบอกวาแพงใชไดเลย นอกจากเลนส Macro แทๆ แลวก็ยังมีอุปกรณเสริมอยางอื่นที่ยังพอชวยใหกลอมแกลมไปไดบาง เหมือนกัน แตเราตองทําความเขาใจเสียกอนวา Macro และ Close-Up นั้นอาจจะดูคลายคลึงกัน แตไมใช อยางเดียวกันแนนอน สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันสําหรับทั้งสองคํานี้ก็คือ มันชวยใหเราโฟกัสแบบเขาใกลวัตถุได มากกวาปกติทั่วไป ที่ตางกันก็คือ กําลังใจการขยายวัตถุเพื่อที่จะสงเขาสูกลองถายภาพนั่นเอง 2.1 กําลังขยายขนาดวัตถุ กําลังในการขยายขนาดของวัตถุคือสิ่งที่ทําใหมันตางกัน แลวอะไรคือกําลังขยายขนาดของวัตถุกัน ละ กอนอื่นตองทําความเขาใจเสียกอนวา เราจะใชเลขอัตราสวนในการพูดคุยเรื่องนี้โดยการแทนคาแบบนี้ :
  • 4. ขนาดที่ปรากฏบนเซนเซอรรับภาพ : (ตอ) ขนาดของวัตถุจริง ขนาดที่เราจะพูดถึงนี้คือขนาดเปน “เทาตัว” ซึ่งเราพบเห็นไดทั่วไปในชีวิตประจําวัน เชนจํานวน ผูสอบแขงขันมีรอยคน รับเพียง 10 คน ก็จะเปนอัตรา 10:1 – โจทยของเรายกพวกมา 6 คน ในขณะที่เรายืน หนาซีดอยูคนเดียวก็เปนอัตราสวน 6:1 (ไมเกี่ยวกับ Macro แคยกตัวอยางทั่วไปเฉยๆ) สําหรับอัตราสวนในการถายภาพอยางที่บอกไปขางตนนั้น จะสามารถอธิบายไดวา เลนสหรือ อุปกรณเสริมตัวนั้นๆ สามารถถายทอดขนาดของวัตถุจริงเขาสูเซนเซอรรับภาพไดระดับ(ขนาด)ใดในระยะ โฟกัสใกลสุด ถาเปน 1:1 ก็หมายความวา ขนาดของวัตถุจริงจะปรากฏบนเซนเซอรรับภาพในขนาดที่เทากัน เลย แตถาเปน 1:2 ก็จะหมายความวาขนาดบนเซนเซอรรับภาพเปน 1 (เทา) ในขณะที่วัตถุจริงมีขนาดเปน 2 (เทา) หากเราถายภาพเหรียญบาทซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 2 cm อัตราสวน 1:1 หมายความวา เหรียญบาทก็จะมีขนาด 2 cm บนเซนเซอรรับภาพเชนกัน (ขนาดเทาจริง) หากเปน 1:2 ก็หมายความวา เหรียญบาทจะมีขนาดเล็กกวาของจริง 1 (เทา) หรืออีกกรณีหนึ่งก็เชน 2:1 ก็จะหมายความวาขนาดที่ปรากฏ บนเซนเซอรรับภาพจะใหญกวาของจริง 1 เทาตัว
  • 5. 2.2 Macro & Close-Up คนทั่วไปจะไมรูวาสองคํานี้แตกตางกัน แตสําหรับชางภาพและคนที่บากลองเขาขั้นจะรูวาสองคํา นี้ไมเหมือนกัน แยกแยะโดย “อัตราสวนกําลังขยาย” ที่เราพูดไปเมื่อสักครู สําหรับ Close-Up แลวจะหมายถึง “โฟกัสไดใกล” ไมวาจะดวยอัตราสวนใดก็ตาม แตสําหรับ มาตรฐานของ Macro แลว ตองวากันที่ 1:1 เปนตนไปเทานั้น อัตราสวน 1:1 มันสําคัญยังไง ก็ตอบไดวามันเปนเรื่องของความไดเปรียบทางดานคุณภาพของ การนําไปใชงาน ซึ่งเริ่มมาตั้งแตยุคกลองฟลมที่นําภาพถายไปใชในงานสิ่งพิมพ อัตราขยาย 1:1 ทําใหขนาด คุณภาพของภาพที่พิมพออกมาดี ไมตองนําไปขยายซ้ําอีกครั้งซึ่งจะทําใหคุณภาพของภาพแยลง (หรือที่เรียกวา “ภาพแตก”) หรือถาตองขยายจริงๆ อัตราสวน 1:1 ก็จะไดเปรียบกวามาก และถึงแมวาจะเปนยุคปจจุบันที่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรล้ําสุดๆ การขยายภาพขึ้นมาจากขนาดจริงก็ยังลดคุณภาพของภาพลงไปเชนกันอยูดี ยิ่ง ขยายมากคุณภาพก็ยิ่งต่ําลงมาก ดังนั้นอัตราขยายแบบ 1:1 ของ Macro แทๆ จึงไดเปรียบดวยประการฉะนี้
  • 6. 3.ทําความเขาใจกับการถายภาพ Macro อยางนอยเราควรจะตองรูจักคําสามคําตอไปนี้ 3.1 MFD (Minimum Focal Distance) ระยะโฟกัสใกลสุดจากจุดโฟกัสถึงระนาบเซนเซอรภาพ 3.2 MWD (Minimum Working Distance) ระยะจากวัตถุถึงหนาเลนสของกลอง มันคือ “ระยะ พื้นที่ทํางาน” ของผูถายภาพ 3.3 Magnification ซึ่งก็คือกําลังขยายที่เราคุยกันไปแลวนั่นเอง ทั้งสามคํานี้มีความสําคัญตอการพิจารณาการถายภาพ Macro ในแตละสถานการณเปนอยางมาก เพราะถาเราไมเขาใจมัน ก็บอกไดวายากและเหนื่อยหนอย ทั้งวิธีการถายภาพและการเลือกใชอุปกรณซึ่งมี เหตุผลสนับสนุนซึ่งกันและกัน ถาจะแยกประเภทของการถายภาพ Macro ดวยลักษณะของตัวแบบ เราสามารถแยกไดงายๆ 2 แบบคือ ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหว+สามารถจับตองได และตัวแบบที่คอยแตจะหนีเราไปอยูเรื่อย
  • 7. ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหวและเราสามารถจับตองไดก็เชน เครื่องประดับ พระเครื่อง ชิ้นสวนอะไหล ตางๆ นาฬิกา ฯลฯ สวนตัวแบบที่คอยจะหนีเราตลอดเวลาก็คือ สิ่งมีชีวิตเชนพวกแมลง ผีเสื้อ ฯลฯ ที่เหมือน จะไมเคยอยูนิ่ง MFD และ MWD จะเขามามีสวนในการพิจารณาตอนนี้แหละ อุปกรณที่ใหพื้นที่ MFD และ MWD แกเรามากๆ จะชวยใหเราไดเปรียบกวาในแงของตัวแบบที่คอยแตจะหนีเรา เพราะเราไมจําเปนตองเขา ใกลใหมันตื่นตกใจ (เพื่อที่มันจะไดอยูนิ่งๆ) แตอาจจะทําใหเราเมื่อยเพราะตองเดินไปเดินมาในกรณีการ ถายภาพตัวแบบที่เราสามารถจับตองได เพราะเราตองขยับจับเปลี่ยนมุมอยูเรื่อย การเดินไปเดินมาระหวาง กลองกับตัวแบบนั้นก็ไมใชเรื่องเล็กๆ ซึ่งอยางหลังนี้อุปกรณที่มีระยะ MFD และ MWD สั้นกวาจึงไดเปรียบกวา ผูถายภาพนั่งอยูหลังกลองแลวเอื้อมมือไปหยิบไปจับตัวแบบไดทันที ไมตองเดินใหเมื่อย 4.อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up มีตั้งแตราคายอมเยาไปจนถึงนาตกใจ แตแนนอนวา ประสิทธิภาพและคุณภาพก็ยอมจะตางกันดวย 4.1 Close-Up Filter
  • 8. นี่คืออุปกรณที่งายและยอมเยา มันก็คือฟลเตอรสําหรับสวมหนาเลนสโดยที่มันจะมีความหนาของ ชิ้นแกวมากกวาฟลเตอรปกติทั่วไปอยูสักหนอย ซึ่งดูเผินๆ แลวก็เหมือนกับการเอาแวนขยายมาติดที่หนาเลนส นั่นแหละ และหนาที่ของมันก็คือทําตัวเปนแวนขยายใหกับเลนสธรรมดานั่นเอง Close-Up Filter มีหลายขนาดทางดานกําลังขยายใหเลือกใชตั้งแต +1 ขึ้นไป (เชนเดียวกับแวน ขยาย) เราอาจจะสวมมันซอนกันหลายชั้นเพื่อเพิ่มกําลังขยายเขาไปอีก ถึงแมวามันจะขยายขนาดของวัตถุไดก็ จริง แตขอเสียของมันก็คือยิ่งขยายมากคุณภาพก็ยิ่งต่ําลงมาก และบริเวณขอบภาพก็จะเกิดอาการ “ฟุง” (ซึ่ง เปนธรรมดาในเลนสนูนของฟลเตอรชนิดนี้) ยิ่งซอนทับกันหลายชั้นนอกจากคุณภาพจะต่ําลงแลวยังลดปริมาณ แสงที่จะเขาสูกลองอีกตางหาก 4.2 Reversing Ring : แหวนกลับเลนส มีลักษณะเปนแหวนพรอมเกลียวเพื่อใหเลนสสองตัวหันหนามาประกบกันได ซึ่งสวนทายเลนส ของเลนสตัวปลายจะกลายเปนหนาเลนสแทน วิธีการนี้จะใหกําลังขยายสูง แตก็อาจจะเสี่ยงกับอันตรายที่ อาจจะเกิดขึ้นกับทายเลนสและขั้วสัมผัสตางๆ ซึ่งควรจะถูกปดมิดชิดอยูภายในกลองโดยปกติ อีกแบบหนึ่งก็คือเปนแหวนกลับเลนสที่ใชกลับเลนสตัวเดียวจากเมาทแปลนของตัวกลองเลย ทาย เลนสมาอยูดานหนาเหมือนกัน (สวนหนาเลนสปกติมุดไปอยูในกลองเพื่อเซยฮัลโหลกับเซนเซอร) ให กําลังขยายไดเหมือนกัน แตเราจะไมสามารถใชระบบโฟกัสอัตโนมัติหรือควบคุมรูรับแสงไดเลย ดังนั้นวิธีนี้จึง เหมาะกับเลนสรุนเกาที่สามารถปรับทั้งสองอยางไดโดยการหมุนบนตัวเลนสโดยตรงมากกวา
  • 9. 4.3 Extension Tube : ทอตอเลนส มีลักษณะเหมือนกับกระบอกเลนสแตไมมีชิ้นเลนสอยูภายใน มันจะทําหนาที่ในการยึดระยะโฟกัส ออกไปจากเดิมโดยมาแทรกอยูตรงกลางระหวางกลองและเลนส ซึ่งก็จะชวยใหเขาไปโฟกัสที่วัตถุไดใกล กวาเดิม กําลังขยายสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด ขอดีของมันก็คือน้ําหนักเบา ราคาไมแพง (ถาเปนรุนที่มีขั้วสัญญาณ สื่อสารเพื่อสงขอมูลโฟกัสและรูรับแสงราคาจะสูงขึ้นมาอีกกวาเทาตัว) Extension Tube มี 3 ขนาดใหเลือกใชเพื่อความเหมาะสมในการเพิ่มกําลังขยาย หรือจะบาพลัง ใสซอนกันหลายๆ ตัวก็ได แตขอเสียของมันก็คือจะทําใหปริมาณแสงที่เขาสูกลองสูญเสียไปมากพอสมควร และจะไมสามารถโฟกัสที่ระยะอนันต (Infinity) ได
  • 10. 4.4 Bellow ลักษณะเปนทอยึดเหมือนกับกลองในสมัยโบราณ ติดตั้งอยูที่ตําแหนงระหวางกลองและเลนส (หลักการเดียวกับ Extension Tube) สามารถยึด-หดระยะไดอยางอิสระโดยการวางบนรางเลื่อน แตอาจจะ วุนวายในการพกพาหรือใชงานอยูสักหนอย อุปกรณตัวนี้ใหกําลังขยายคอนขางสูงแตก็ใชงานคอนขางยากและ ไมคอยคลองตัว เราจึงไมคอยไดเห็นมันสักเทาไหรนัก และเชนกันอุปกรณตัวนี้ทําใหปริมาณแสงเขาสูกลอง นอยลงดวย 4.5 เลนส Macro หลายคนอาจจะสงสัยวาเลนสหลายๆ ตัวมีคําวา “Macro” อยูดวยเชนกัน และก็ตองตามมาดวย อัตราสวนกําลังขยายดวย ก็เปนอันรูกันวา ถาไมใช 1:1 ก็ยังไมใชเลนส Macro ในระดับมาตรฐาน เลนส Macro นั้นก็มีเรื่องระยะโฟกัสเปน mm และการควบคุมรูรับแสงเชนเดียวกับเลนสอื่นๆ ทั่วไป ความพิเศษของมันก็คือความสามารถในการโฟกัสวัตถุในระยะใกลไดถึงระดับ 1:1 ซึ่งจะมากกวา ชาวบานเขานั่นเอง เลนส Macro ในทองตลาดปจจุบันมีตั้งแตระยะ 35mm ไปจนถึง 200mm ใหเลือกใชงานตาม ความเหมาะสม (และกําลังทรัพย) ในแนวคิดเดียวกับเลนสอื่นๆ แตกอนที่จะพูดถึงงบประมาณในการเลือกซื้อ ก็อยาลืมเอาเรื่องของ MFD และ MWD เขามาพิจารณาดวย ยกตัวอยางเชน เลนส Macro ระยะ 60mm ยอมจะมีราคาต่ํากวาเลนส Macro ระยะ 180mm แตทั้งสองตัวนี้ใหในเรื่อง MFD และ MWD ที่ตางกัน เลนส 60mm ตองเขาใกลตัวแบบมากกวา ในขณะที่ 180mm ตองออกหางจากตัวแบบ (มีระยะ MFD และ MWD มากกวา) การเลือกอุปกรณไมมีแบบไหนที่ดีที่สุด ขึ้นอยูกับสถานการณและวิธีการถายภาพของเราเอง ถา เลือกใชอุปกรณที่ไมเหมาะสมและก็ยังสามารถถายไดแตอาจจะหืดขึ้นคออีกสักนิด ใครที่เคยถายภาพผีเสื้อดวย
  • 11. เลนส Macro ระยะสั้นคงจะรูดีวามันสาหัสขนาดไหนกวาจะไดแตละภาพ เพราะขยับนิดเดียวพวกมันก็กระพือ ปกบินหนีไปอีกแลว 4.6 ขาตั้งกลอง การถาย Macro ความนิ่ง เปนสวนสําคัญ เพราะการถายรูประยะใกลๆ การสั่นเพียงนิดเดียวจะ สงผลตอภาพที่ไดอยางมาก คุณสมบัติที่ตองการก็มี ขากางราบกับพื้นไดมากแคไหน สามารถถอดแกนขาตั้งออกเพื่อถาย แนวราบหรือกลับหัวขาตั้งไดไหม เพราะวาในกรณีที่เราตองการถายสิ่งที่อยูบนพื้น เราจะไดสามารถเขาใกล มากขึ้น สวนหัวก็ควรจะเปนหัวบอลเพราะจะคลองตัวกวา หลักการเลือกซื้อก็ไมยาก อันดับแรกก็เหมือนการเลือกซื้อขาตั้งทั่วไปคือดูน้ําหนักที่รับไดของขา ตั้ง จากนั้นก็ดูคุณสมบัติเพิ่มเติมที่เราตองการที่ไดบอกไวในตอนแรก นอกจากนั้นก็คงเปนงบประมาณ เพราะวาคุณภาพที่ไดก็คงเปนไปตามราคาอยางที่รูๆกัน
  • 12. 4.7 รีโมท / สายลั่นชัตเตอร เพราะวาความนิ่งนั้นมีความสําคัญ การที่เรากดชัตเตอรเองอาจจะทําใหเกิดอาการสั่นได ยังไงซะ เพื่อความแนนอน 4.8 แฟลช เพราะการถาย Macro เราจะหรี่รูรับแสงใหแคบ ทําให Speed shutter ชาลงอาจทําใหภาพเกิด อาการสั่นไหวหรือเบลอได แฟลชชวยใหเห็นรายละเอียดในสวนที่มืดของวัตถุ นอกจากนี้ยังมีผลพลอยได เชน การถายใหฉากหลังดํา ก็ทําใหภาพที่ไดดูนาสนใจขึ้น นอกจากนี้ยังมีอุปกรณแบบอื่นๆ เชน ริงแฟลช สําหรับ การใชงานที่ตางออกไป 5.เทคนิคการถายภาพแบบ Macro 5.1 การวัดแสง เมื่อคุณใชระบบวัดแสงจากตัวกลอง ซึ่งเปนระบบวัดแสงแบบสะทอนที่ผานเลนสเขามา อาจจะดู ไมซับซอนนัก เพราะเพียงแคกดปุมชัดเตอรลงครึ่งหนึ่งกลองก็วัดแสง คาแสงที่ปรากฏเปนการแสดงถึงคาแสงที่ หายไปจากการถายภาพในระยะใกล จากนั้นก็ชดเชยแสงตามคาการสะทอนของสี หรือชดเชยแสงไปในทิศทาง ที่คุณตองการ
  • 13. แตถาหากคุณใชระบบวัดแสงแบบตกกระทบ ซึ่งใชในเครื่องวัดแสงแบบมือถือ แยกออกนอกตัว กลอง หรือใชการคํานวณแฟลชแบบแมนวล จะตองชดเชยแสงใหกับการเสียแสงดวย เปนทฤษฎีเรื่องแสง เนื่องจากการถายภาพระยะใกลกําลังขยายสูง แสงจะเดินทางและสะทอนภายในกระบอกเลนส คาแสงจะ ลดลงราว 2 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 และประมาณราว 1 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขาย 1:2 เมื่อถายภาพดวยกําลังขยายมากขึ้น ก็จะเสียแสงมากขึ้นตามไปดวย กลองบางรุนบางยี่หอ แสดง ระดับคาแสงโดยแสดงคาขนาดรูรับแสงที่ปรับลดลงไปใหโดยอัตโนมัติ 5.2 การจัดองคประกอบภาพ งานถายภาพ Macro จัดเปนการถายภาพเฉพาะทาง มีหลักคิดที่ใชในการจัดองคประกอบภาพ และการนําเสนอไมมากนัก ประการแรกคือ ตองการถายภาพเพื่อแสดงใหเห็นถึงวัตถุที่มีขนาดเล็ก คมชัดและ ขยายใหญขึ้น ดวยมุมมองแบบ Magnification Eye ดวยความแตกตางของการมองที่ผิดแผกไปจากปกติ ความแปลกตาที่เราไมไดเห็นวัตถุ หรือภาพเหลานี้ในระยะใกลกําลังขยายมาก ภาพจึงดูนาสนใจ ประการที่สองคือ เราตองการถายภาพวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เพื่อการใชงานในดานใดดาน หนึ่ง งานที่ตองการใชการถายภาพ Macro เปนประจําคือ การถายภาพวัตถุที่มีความสําคัญ เชน การถายภาพ เครื่องประดับ เพชร พลอย ตาง ๆ หรือแมแตอุปกรณอิเล็กทรอนิคสขนาดเล็ก ๆ งานเหลานี้เปนงานถายภาพ เชิงธุรกิจที่ใชการถายภาพ Macro การถายภาพพระเครื่อง ปลาสวยงาม เปนตัวอยางงานถายภาพ Macro ที่ ใกลตัว นักถายภาพหลายทานมีรายไดจํานวนไมนอยกับการถายภาพงานเหลานี้
  • 14. อีกงานหนึ่งที่เปนตัวอยางในการใชการถายภาพ Macro คือการถายภาพในงานเชิงวิชาการดาน วิทยาศาสตร ซึ่งมีทั้งการถายภาพดวยกลองถายภาพแบบปกติ อยางเชน การถายภาพดอกไม แมลง สิ่งมีชีวิต ขนาดเล็ก และการถายภาพผานกลองกําลังขยายสูงมาก ๆ อยางกลองจุลทรรศน กลองสเตอริโอแบบสองตา หรือแมแตการถายภาพดวยกลองจุลทรรศนอิเล็คตรอน ที่ใชถายภาพจุลชีพ ในทางการแพทยก็มีการถายภาพผิวหนัง ถายภาพฟนในชองปาก ซึ่งอาจจะไกลตัวสําหรับนัก ถายภาพทั่วไป การจัดองคประกอบภาพสําหรับงานถายภาพแบบนี้ มักเนนที่ความคมชัดของวัตถุที่ตองการ ถายภาพ เนนความสําคัญที่รายละเอียดของรูปราง สัดสวน ลักษณะพื้นผิว และมองเห็นในมุมที่ตองการเปน สําคัญ การจัดองคประกอบภาพจึงมักวางตําแหนงไวกลางภาพ เพื่อใหไดภาพที่คมชัดและนําไปใชงานอื่นตอไป ไดงาย อยางไรก็ตาม การเลือกมุมมอง การควบคุมระยะชัด การเลือกฉากหลัง จะไมเปนกฎตายตัว ขึ้นอยูกับ นักถายภาพและจุดประสงคในการนําภาพนั้นไปใชงาน สําหรับ การวางตําแหนงจุดเดนในภาพ ลวดลาย สีสันของซับเจกต ฉากหลัง และการควบคุม ระยะชัดที่พอเหมาะคือ หลักงาย ๆ ในการถายภาพ Macro และความสําคัญของสิ่งที่เราถายภาพ จะเปนตัว สงเสริมใหภาพมีคุณคามากยิ่งขึ้น 5.3 การควบคุมระยะชัด การถายภาพ Macro นั้นมีผลของระยะชัดที่แตกตางไปจากการถายภาพทั่วไป ดวยเลนสตัว เดียวกันซึ่งอาจจะเปน Macro หรือไมก็ได หากคุณทดลองถายภาพในระยะหางปกติโดยใชขนาดรูรับแสง f/11-16 ระยะชัดของภาพอาจครอบคลุมไดไกลจนถึงระยะอนันต แตเมื่อคุณนําเลนสตัวเดียวกันนี้มาถายภาพ ในระยะใกล ถายภาพ Macro ที่กําลังขยาย 1:1 ระยะชัดของภาพเมื่อใชขนาดรูรับแสง f/11-16 ระยะชัดของ ภาพอาจครอบคลุมเพียงระยะ 2-3 มิลลิเมตรเทานั้น เพราะฉะนั้น การควบคุมระยะชัดของการถายภาพ Macro จึงมีความสําคัญมาก การเลือกใช ขนาดรูรับแสงใหเหมาะสม ครอบคลุมระยะชัดที่ตองการ และตองไมลืมวาขนาดของรูรับแสง นอกจากจะมีผล ตอระยะชัดของซับเจกตแลวยังมีผลตอการควบคุมฉากหลังดวย โดยปกตินักถายภาพสวนใหญมักเลือกใช
  • 15. ขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/8 ขึ้นไป เพื่อใหไดระยะชัดลึก แตหากเลือกใชคาขนาดรุรับแสงที่ f/4-8 กับการ ถายภาพในสภาพแสงธรรมชาติก็ใหผลลัพธที่ดีไมนอย สําหรับการใชงานกับกลองแบบ APS-C ซึ่งมีระยะชัดที่สูงกวากลองแบบฟูลเฟรม ถาหากใชแฟลช ในการถายจะแตกตางไปจากนี้ ตองปรับใหรูรับแสงแคบลงกวานี้ เพราะถาโฟกัสไปยังตําแหนงที่ตองการได ถูกตองเขาโฟกัสแลว ภาพจะคมชัดและมีระยะตามขนาดรูรับแสงที่เลือกใช สวนการโฟกัสผิดตําแหนง แมจะ เพียงเล็กนอย แลวคิดจะใชรูรับแสงแคบคุมระยะชัดใหไดภาพที่คมชัดนั้น อยางไรเสีย ภาพก็ยังจะดูไมคมชัดอยู ดี ทั้งนี้ การโฟกัสใหเขาตําแหนงที่ตองการสําคัญมาก ระยะชัดนี้เปนชวงคาขนาดรูรับแสง ที่ตอง เลือกใชใหเหมาะกับกําลังขยาย ขนาดของซับเจกตและระยะหางของฉากหลังกับซับเจกต หากไมแนใจ ก็ตอง กดปุมชัดลึกเพื่อดูผลของระยะชัดที่แทจริงกอนกดชัดเตอรเพื่อถายภาพ 5.4 การควบคุมฉากหลัง การถายภาพ Macro ที่ตองการแสดงใหเห็นถึงบรรยากาศสิ่งแวดลอม ก็ตองเลือกเก็บรายละเอียด ของฉากหลังมาดวย เลนสไวดที่มีระยะโฟกัสใกลสุดนั้น จะมีกําลังขยายสูง ถายภาพไดกําลังขยาย 1:3-4 ก็ เหมาะกับการถายภาพแบบโคลสอัพเพื่อเก็บฉากหลัง เทคนิคในการถายภาพ Macro ใหฉากหลังเขมดํานั้น มีอยูดวยกันหลายวิธี แตที่จะแนะนําคือการ เลือกฉากหลังที่มีคาแสงแตกตางจากซับเจกตมาก ๆ ปรับมุมถายภาพดูสักครู ก็จะเห็นวามีฉากหลังบางสวนที่ ไมไดรับแสง ความเปรียบตางแสงที่สูงเกินกวากันราว 2 สตอป เมื่อถายภาพดวยคาแสงที่ตกลงบนซับเจกต ก็ จะทําใหฉากหลังเขมดําไดเอง นอกจากนี้ การถายภาพในทิศทางแบบยอนแสง แสงเฉียงหลังหรือขาง ก็จะไดภาพฉากหลังเขม ๆ ถาหากสภาพแสงไมเอื้ออํานวย แลวอยากไดฉากหลังที่เขมดํา การใชฉากหลังสีดําอยางกระดาษดําดาน ผา กํามะหยี่แลวนําไปวางไวใหหางจากซับเจกตสักหนอย ก็เปนวิธีที่ใชกันมาแตไหนแตไร อีกวิธีหนึ่งของการควบคุมฉากหลังใหเขมดําคือ การใชแสงแฟลชเปนแสงหลักในการถายภาพ ซับ เจกตไดรับแสงแฟลช สวนฉากหลังที่หางออกไปก็จะเขมดําลงไปเอง 5.5 การใชแฟลชในการถายภาพ Macro การใชแฟลชกับการถายภาพ Macro มีขอควรระวังหลายประการ ซึ่งแตกตางไปกับการใชแฟลช ถายภาพในระยะปกติ เนื่องจากการถายภาพ Macro เปนการถายภาพในระยะใกลมาก แฟลชที่ติดตั้งอยูบน Hot Shoe ของกลองอาจทําใหองศาในการยิงแสงแฟลชไมครอบคลุมพื้นที่ถายภาพ เพราะเลนสอาจบังแสง แฟลช ตองปรับกดมุมของแฟลช แตถาถายภาพใกลมาก ๆ ก็จะยังไมสามารถยิงแสงไดครอบคลุมอยูดี
  • 16. การแกไขคือ การใชสายซิงคแยกแฟลชออกนอกตัวกลอง เพื่อเปดมุมในการยิงแสงแฟลชไดกวาง มากขึ้น โดยที่แฟลชยังมีการทํางานในระบบ TTL เลนส Macro ทางยาวโฟกัส 50-60 mm มีระยะหาง ระหวางซับเจกตกับหนาเลนสที่สั้นมาก เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 หนาเลนสเกือบชิดติดกับซับเจกต เปน อุปสรรคในการใชแสงแฟลชอยางมาก สวนเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm มีระยะหางใกลสุดโดยเฉลี่ยที่ 10-14 เซนติเมตร ซึ่งเปนระยะหางที่เพียงพอกับที่เปดมุมใหยิงแสงแฟลชไดงายกวา เปนอีกหนึ่งเหตุผลของความนิยมในการ เลือกใชเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm อีกประเด็นหนึ่งที่สําคัญในการใชแฟลชในการถายภาพก็คือ แฟลชยิงแสงโอเวอร เนื่องจากระยะ การทํางานที่ใกลมาก ทําใหแฟลชที่มีระบบการทํางานแบบ TTL มักยิงแฟลชผิดพลาดโอเวอรกวาพอดี ถาใช ขนาดรูรับแสงกวาง กําลังไฟที่ถูกยิงออกไป ระบบการคํานวณจะปดการรับแสงแฟลชไมทัน การแกไขคือ ตอง ใชขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/11 ขึ้นไป นอกจากนี้ การใชการแบงกําลังไฟแฟลชแบบแมนวลก็ไดผลดีเชนกัน ปรับกําลังไฟใหเหมาะสม กับขนาดรูรับแสง และตองไมลืมวาจะเสียแสงไปกับการถายภาพดวยกําลังขยายสูงดวย 5.6 เทคนิคการสรางสรรคภาพ Macro ภาพ Macro เปนการถายภาพที่เปดโอกาสใหนักถายภาพไดคิดทดลองเทคนิคการถายภาพตาง ๆ ไดดี โดยเฉพาะกับแสงแฟลช เพราะพื้นที่แคบควบคุมแสงไดงาย การใชแฟลชแยกออกนอกตัวกลอง และเพิ่ม แฟลชมากกวา 1 ตัว ก็จะยิ่งไดภาพที่ใสเคลียร ไมมีเงาได นอกจากแฟลชที่ใชจัดแสงมากกวา 1 ตัวแลว การจัดแสงดวยไฟตอเนื่อง อยางไฟฉายขนาดเล็กที่ มีกําลังไฟใหความสวางสูง และมีสีขาวก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่ใชงานไดดี หรือใชกระจกเงาสะทอนแสงเขาไป ในบริเวณที่ตองการ หรือจะลงทุนกับแฟลชแบบ Ring Flash หรือแฟลชที่ออกแบบสําหรับการถายภาพ Macro โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาไมถูกเลย เพิ่มเงินอีกนิดซื้อแฟลชสองตัวใชดีกวา ในการถายภาพดอกไมใหบรรยากาศดูชุมฉ่ํา ก็อาจใชสเปรยขนาดเล็กที่ฉีดละอองน้ําไดละเอียด เพิ่มความชุมฉ่ํา หรือเพิ่มขนาด Texture ของเสนใยแมงมุมขนออนบนดอกไมไดดี เทคนิคในการถายภาพวัตถุ สินคาขนาดเล็ก หรือพระเครื่องก็เปนหนึ่งในการถายภาพ Macro เชนกัน ใชแผนกระจกใส หรืออะคริลิคก็ได วางพาดใหสูงจากพื้นราว 0.5-1 เมตร เอาฉากหลังสีที่ตองการ อยางผากํามะหยี่หรือกระดาษวางไวดานลาง ระยะหางขางตนจะทําใหฉากหลังไมมีรายละเอียด มีแตสี วาง วัตถุที่ตองการถายลงบนกระจก อาจใชแสงธรรมชาติ แฟลชหรือหลอดไฟเปนแหลงกําเนิดแสงก็ได ระวังการ สะทอนของแสงกระจก และปรับคาสมดุลแสงสีขาวใหถูกตอง ตั้งกลองในมุมที่ตั้งฉากกับกระจก จัด องคประกอบภาพอยูบนฉากหลังแลวถายภาพ เปนเทคนิคงาย ๆ ที่ไดผลดีกับการถายภาพพระเครื่อง
  • 17. 6. เทคนิคการถายภาพดอกไม การถายภาพดอกไมแบบใกลใหสวยงาม หรือที่เรียกกันวา การถายภาพ Macro มีสิ่งที่จะตองเรียนรู และเขาใจ คือ เรื่องของอุปกรณ ถายภาพ เรื่องของการตั้งคาตางๆ ของกลองถายภาพ เรื่องของการวัดแสง เรื่องของการเลือกฉากหลัง บทความการถายภาพดอกไมแบบใกลๆ การถายภาพดอกไมแบบใกลๆ ที่นิยมกันสวนใหญจะเปนการถายใหเห็นเกสรของดอก หรือใหเห็น ลายเสนของกลีบดอกของดอกไม ซึ่งสิ่งที่จะเปนตัวกําหนดวาจะถายภาพใหไดรายละเอียดขนาดไหนนั้นก็ ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพเรื่องกําลังขยายของเลนส หากเปนเรื่องของกลองดิจิตอล ก็คือ กําลังในการ Zoom นั่นเอง โดยกลองดิจิตอลจะมีการการตั้งคา Mode Macro Mode เพื่อถายภาพใกล โดยกลองแตละรุน แตละ ยี่หอจะมีระยะใกลสุดในการถายภาพวัตถุแตกตางกันจะตองเปดอานเอาเองในคูมือ โดยเขาจะกําหนดไวเปนคา close up range เชน บางรุน ใกลสุด 43 mm บางรุน 2 นิ้ว ซึ่งระยะนี้นี่เองที่เปนตัวกําหนดการถายใกลวา จะไดขนาดขยายใหญขนาดไหน (เนนวาใหอานคูมือ) สวนคนที่ใชกลอง DSLR ที่เปลี่ยนเลนสไดก็ใหไปดูที่เลนส ซึ่งจะมีระบุระยะใกลสุดเขียนไวที่กระบอกเลนสอยูตรงขามกับเครื่องหมาย infinite เมื่อเขาใจเรื่องของอุปกรณเบื้องตนแลว ในการถายภาพดอกไมแบบใกล บางครั้งดอกไมมีลมมา กระทบจะไหวเอนไปตามลม การถายภาพอาจจะไดภาพที่ไมชัด เราอาจจะตองหาขาตั้งกลอง หรือแผนบังลม มาบังที่ดอกไม แตก็ตองระมัดระวังเรื่องของการบังแสงดวย ตองไมทําใหแสงผิดเพี้ยนไปจากที่เราตองการ นอกจากนั้นแลวการถายภาพดอกไมใหดูสดชื่นอาจจะตองหาน้ํามาราดที่ดอกไมใหมีหยดน้ําเกาะอยูตามดอกไม ก็จะทําใหไดภาพที่ดูดี เปนธรรมชาติ อีกแบบหนึ่ง เริ่มตนการถายภาพดอกไมไมตองไปไหนไกลก็หาดอกไมหนาบานหลังบานของเรานั่นเอง ฝกการ ถายภาพจากบานกอนออกไปลุยถายภาพตาม สวนสาธารณะ รวมทั้งตามสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติตางๆ เชน อุทยานแหงชาติภูกระดึง หรือที่อื่นๆ การวัดแสงในการถายภาพดอกไม ควรจะวัดแสงที่กลีบดอกและหามุมที่ฉากหลังของดอกไมเขม ดวย ความเปรียบตางของแสงระหวางกลีบดอก และฉากหลังจะชวยให ไดภาพที่ดอกสวยงามโดดเดน ในขณะที่ฉาก หลังมืดขึ้น อีกหลาย Stop หมายถึงมืดกวา ดอก การจัดองคประกอบภาพก็เปนปจจัยอีกอันหนึ่งในการทําใหไดภาพที่สวยงาม เชน การใหมีเสนนํา สายตาจากเกสร หรืออาจจะหาจุดเดน ของดอก แลววางในตําแหนงที่เหมาะสมก็จะไดภาพดอกไมที่สวยงาม ครบองคประกอบ อุปกรณที่ขอแนะนําในการถายภาพดอกไมก็คือ เลนส Macro และ ฟลเตอร ถายภาพใกล (Close Up filter) เพื่อนํามาสวมเขาไปที่หนากระบอกเลนส กลองดิจิตอลรุนเล็กหลายๆ รุนอุปกรณเสริมอาจจะ เรียกวา Convertor ทําหนาที่ขยายภาพใกลใหใหญขึ้น ใชในการถายภาพใกลไดดวย ราคาไมแพงมาก สวน
  • 18. ทานที่ใชกลองที่ถอดเลนสได DSLR จะมีความสามารถในการถายภาพ Macro ไดดีกวา เนื่องจากสามารถหา ซื้อเลนส Macro มาใชไดโดยตรง จากภาพประกอบ ภาพแรกดอกไมสีสมถูกวางตําแหนงใหแสดงแดดสองโดยตรง เมื่อเราวัดแสงที่ ดอกไม หมายถึงเล็งกลองไปที่ดอกไมโดยตรง ฉากหลัง ซึ่งแสดงไมถูกสงไปถึง ก็จะทําใหดอกไมชัดเจนโดดเดน ออกมาจากฉากหลัง การปรับ Focus ก็ใหเลือก Focus ที่เกสรของดอกแลวใหจุดที่เสนเกสร และกลีบดอกพุง ออกมาจากมุมบนขวาก็จะไดภาพถายดอกไมแบบในภาพดูสวยงาม เดนชัด สวนภาพดานขวาเปนการจัดให กลีบดอกแนนๆ เต็มภาพเปนแฉกกระจายออกจากจุดตรงกลางก็ไดภาพที่ใหความสวยงามอีกแบบหนึ่ง 7.เทคนิคในการถายภาพสัตวเลี้ยง 7.1 ใชความเร็วชัตเตอรสูงๆ เพื่อหยุดการเคลื่อนไหวที่อาจจะเกิดขึ้นเนื่องจากสัตวขยับตัว สวนวาจะสูงแคไหน ตองลอง ถายภาพดู หากสัตวเคลื่อนไหวตัวแลว ภาพยังชัดอยูแสดงวาความเร็วพอ หากไมพอก็ลองเพิ่มขนาดรูรับแสงให ใหญขึ้น (เลขนอย) หากยังไมพอก็เพิ่ม ISO แตตองระวังเรื่องนอยส 7.2 ใชขนาดรูรับแสงกวางๆ เพื่อแยกตัวสัตวออกจากฉากหลัง เพื่อเนนจุดสนใจอยูที่สัตวเลี้ยงของคุณอยางเดียว และจะได ความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้นตามขอ 1 อีกดวย 7.3 ถายภาพจากระดับสายตาของสัตว เพื่อใหมีมุมมองที่นาสนใจมากขึ้น เพราะสัตวเลี้ยงสวนใหญจะตัวเล็กๆ มุมมองที่เรามองเห็นแบบ ปรกติ ก็คือกมลงมอง ดังนั้นเมื่อคุณถายภาพสัตวเลี้ยงจากมุมมองปรกติ ภาพของคุณก็จะเปนภาพแบบ ธรรมดา ไมนาสนใจ เพราะเปนมุมมองที่เราเห็นกันอยูทั่วๆไปอยูแลว 7.4 ซูมเขาหาตัวสัตว เพื่อใหจุดสนใจของสัตวเลี้ยงของคุณมีพื้นที่ในภาพมากที่สุด จะไดไมมีอะไรมาแยงความเดนไป และจะทําใหไดมุมมองที่แตกตางจากปรกติ เพราะอยางที่เกริ่นไปแลววาสัตวเลี้ยงนั้นสวนใหญจะตัวเล็ก เราจะ
  • 19. มองเห็นแบบเล็กๆเปนสวนใหญ เพราะฉะนั้นเมื่อเห็นภาพสัตวเลี้ยงแบบชัดๆใหญๆ ภาพจึงนาสนใจขึ้น หาก เปนสัตวเลี้ยงที่เชื่องและไมตื่นกลอง อาจจะใชเลนสสั้นๆได แตหากสัตวตื่นกลอง อาจจะตองใชเลนสซูมแลว แอบถายจากที่ไกลๆแทน 7.5 โฟกัสที่ตาของสัตวเลี้ยง เหมือนกับการถายภาพบุคคล เพราะตาคือ “หนาตางของดวงใจ” หากคุณอยากรูใจสัตวเลี้ยงของ คุณ ก็ตองมองใหลึกซึ้งเขาไปในดวงตาครับ 7.6 ถายรัวหลายๆชอต ในกรณีที่สัตวเลี้ยงไมยอมอยูนิ่ง เราอาจจะตองถายภาพรัว แลวคอยมาเลือกภาพที่นารักๆเอา 7.7 หลีกเลี่ยงการใชแฟลช เพราะจะทําใหสัตวตกใจ อาจจะถึงขวัญเสีย พาลกลัวกลองไปเลย และแสงแฟลชนั้นอาจจะเปน อันตรายกับตาของสัตวเลี้ยงของคุณได 8.เทคนิคการถายแมลงบิน การถายภาพแมลงใหนาสนใจ นอกเหนือจากการถายภาพแมลงเกาะนิ่งๆอยาง ผีเสื้อกําลังดูดกิน น้ําหวาน ยังสามารถถายแมลงที่กําลังบินอยูในอากาศ ดวยทาทางที่ออนชอยสวยงาม บันทึกลงบนภาพถาย ของเรา ปญหาที่มักพบบอย คือ ภาพฉากหลังชัด แตแมลงกลับเบลอ หรือโฟกัสผิดที่ผิดทาง 8.1 แมนนวลโฟกัส M อยางที่บอกกันไปแลว วาแมลงไมสามารถสั่งใหเคลื่อนไหวไดอยางใจเราได ดังนั้น เราตองดักรอ ดวยการแมนนวลโฟกัส ในจุดที่คาดวาแมลงจะบินผาน ใชออโตโฟกัส โฟกัสผิดที่ เพราะความเร็วของแมลงสูง
  • 20. 8.2 วัดแสงรอ เมื่อไดจุดที่คาดวาแมลงจะบินผานแลวใหเราคาดคะเนแสง แลววัดแสงรอ เพราะการถายภาพ แนวนี้ตองอาศัยความรวดเร็วขั้นเทพ จะมามัวปรับแสง เมื่อแมลงบินผานก็ไมทันการณ หรือจะตั้งโหมด อัตโนมัติ กดล็อกคาแสงแลวถายก็ได 8.3 สปดชัตเตอรสูง เพื่อหยุดแมลงใหนิ่ง (1/500 ขึ้นไป) และปจจัยที่ทําใหสปดชัตเตอรสูงได นั่นคือแสงตองเพียงพอ การดันความไวแสงใหสูง จะชวยใหถายภาพใหหยุดนิ่งงายขึ้น 8.4 รูนิสัยของแมลง สังเกตพฤติกรรมและรอเวลาใหแมลงชะลอความเร็ว การถายแมลงที่กําลังบินอยางปรกติอยูใน อากาศ เปนสิ่งที่แทบจะเปนไปไมได แตดวยพฤติกรรมของแมลงแตละชนิด ยอมมีการชะลอความเร็ว เชน ผีเสื้อและผึ้ง จะชะลอเมื่อกําลัง จะตอมดอกไม หรือแมลงปอ ที่จะมีจังหวะชะลอ เมื่อเวลาบิน และจะกลับมา เกาะที่เดิมเสมอ ดังนั้นจึงควรสังเกตพฤติกรรม ของแมลงแตละชนิด ที่เราตองการจะถายดวย
  • 21. บรรณานุกรม ANiiNooN. ม.ป.ป. เทคนิคการถายภาพมาโคร. (ออนไลน). แหลงที่มา : https://sites.google.com/site/aniinoonblog58/thekhnikh-kar-thay-phaph-makhor. 16 ธันวาคม 2555 Nikon. ม.ป.ป. เคล็ดลับในการถายภาพสถานการณตางๆ. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://dslr.nikon- asia.com/amateur3/th/macro. 16 ธันวาคม 2555