SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1



                         ธุรกิจครอบครัวมีโอกาสรอดขนาดไหน?
                                                                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ

                                                                 กรรมการผูจัดการบจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท




                 มักจะมีการพูดกันวาธุรกิจครอบครัวจะอยูไมเกิน 3 ชัวคนและโดยเฉพาะอยางยิ่งกับคําพูด
                                                                    ่
วา คนไทยทําธุรกิจหรือการคาไมเกง

                 ถาจะพิจารณาในลักษณะขอมูลจริง โดยผูเขียนไดเคยวิจยศึกษาไววาอัตรารอดของธุรกิจ
                                                                    ั         
ไทยจากขอมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการคาตั้งแตป 2455 – พ.ศ.2550 พบสิ่งที่นาสนใจสําหรับธุรกิจ
                                                                       
ดังตอไปนี้

                 1. ในชวงแรก พ.ศ.2455- พ.ศ.2540 ธุรกิจไทยมีอัตรารอดรอยละ 81.6
                                           ในชวง พ.ศ.2455-พ.ศ.2540

                ธุรกิจมีอัตรารอดหรือคงอยูที่สูงมากโดยมีผูประกอบการไทย
                                                                               จดทะเบียนธุรกิจ
                      ทั้งหมด 483,707 กิจการมีอัตราคงอยูรอยละ 81.6 และอัตราตาย(สิ้นสภาพ)
                                            เพียงรอยละ 18.4 เทานั้น

                 2. ชวงป พ.ศ.2541-พ.ศ.2550

                 ถาพิจารณาในชวงระยะเวลา 10 ปนับตั้งแตป พ.ศ.2541 จนถึงสิ้นป พ.ศ.2550 พบ
รายละเอียดเกียวกับธุรกิจไทยดังนี้
             ่




Dr.Danai Thieanphut                                                DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
2




                                            ภาพ : อัตรารอดของธุรกิจไทยในชวง 10 ป

                                                                                     อัตรารอด
                                                อัตรารอด               อัตรารอด        44.9%     อัตรารอด
                                 อัตรารอด         43.3%                  42.4%
                                                           อัตรารอด                                40.9%
                                   38.8%
                                                             35.3%




                                   ปแรก         3 ปแรก    5 ปแรก     8 ปแรก       9 ปแรก      10 ป

                 จํานวนที่
               จดทะเบียน
                                 20,364         78,196     157,891    302,038     324,761       372,236




                             * ดนัย เทียนพุฒ (2552). เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย หนา 204-208



                 (1) ในปแรกธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 38.8 จากผูประกอบการที่จดทะเบียน 20,364 กิจการ
มีกิจการคงอยู 7,900 กิจการ (38.8%) และสินสภาพ 12,464 กิจการ (61.2%)
                                         ้
                 (2) ใน 3 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2544) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 43.3 จากผูประกอบการที่
                                                                                     
จดทะเบียน 78,196 กิจการ มีกิจการคงอยู 33,840 กิจการ (43.3%) และสินสภาพ 44,356 กิจการ (56.7%)
                                                                  ้
                 (3) ใน 5 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2546) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 35.3 จากผูประกอบการที่
                                                                                     
จดทะเบียน 157,891 กิจการ มีกิจการคงอยู 55,755 กิจการ (35.3%) และสิ้นสภาพ 102,116 กิจการ (64.7%)
                 (4) ใน 8 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2549) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 42.4 จากผูประกอบการ
                                                                                     
302,038 กิจการ มีกิจการคงอยู 127,983 กิจการ (42.4%) และสิ้นสภาพ 174,055 กิจการ (64.7%)
                 (5) โดยรวมแลวใน 9 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2550) ธุรกิจมีอตรารอดรอยละ 44.9 จาก
                                                                       ั
ผูประกอบการที่จดทะเบียน 324,761 กิจการ มีกิจการคงอยู 153,160 กิจการ (44.9%) และสิ้นสภาพ 188,851
กิจการ (55.1%) โดยไมไดคํานวณป พ.ศ.2543 เพราะมีอัตราสิ้นสภาพ (ตาย) เกินรอยเปอรเซ็นต


Dr.Danai Thieanphut                                                           DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
3


                  ดังนั้นสรุปแลวตั้งแตป พ.ศ.2541จนถึงปพ.ศ.2550 (รวมป 2543) มีจานวน 372,236 กิจการ
                                                                                   ํ
มีอัตรารอดหรือคงอยูรอยละ 40.9 และอัตราสิ้นสภาพรอยละ 59.1
                  แตถาพิจารณาอัตราตายของธุรกิจไทย ในปจดทะเบียนตังแตป พ.ศ.2541 จนถึง พ.ศ.2550
                                                                   ้
มีกิจการจดทะเบียนเฉลี่ยปละ 37,223 กิจการ โดยการตายเฉลี่ย 21,985 กิจการ ซึ่งแยกประเภทการตายของ
ธุรกิจไดดังนี้
                  • เลิกกิจการรวม 145,115 กิจการ เฉลี่ยปละ 14,511 กิจการ
                  • รางรวม 69,021 กิจการ เฉลี่ยปละ 6,902 กิจการ
                  • ลมละลายรวม 3,432 กิจการ เฉลี่ยปละ 343 กิจการ
                  • อื่นๆ รวม 2,296 กิจการ เฉลียปละ 229 กิจการ
                                               ่
                      สรุปแลวธุรกิจไทยมีอตราการตายเฉลี่ยอยูที่อัตรารอยละ 59.1
                                          ั                 
                  3. มูลเหตุหรือปฐมบทที่ทําใหเกิดธุรกิจครอบครัวไทย
                  ประเทศไทยมี พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชยในป พ.ศ.2479 และฉบับตอมาในป พ.ศ.2490 และ
พ.ศ.2499 ระบุวา
                  “ผูประกอบการพาณิชยกิจ” หมายความวา บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งประกอบ
พาณิชยเปนอาชีพปกติและใหหมายความรวมทั้งผูเปนหุนสวนที่ไมจํากัดความรับผิด กรรมการหรือผูจัดการ
                                                  
ดวย”
                  ผูเขียนไดสังเคราะหงานเขียนของบัณฑพ ตั้งศรีวงศ (2543) และผาสุก พงษไพจิตร (2549)
จนเปนภาพความเปนมาของธุรกิจครอบครัวไทย ซึ่งถาพิจารณา “Thai Family Business Time Capsule”
โดยนับตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ป ค.ศ.1939-1945) คือหลังป พ.ศ.2488 ธุรกิจครอบครัวไทยไดรับ
อิทธิพลจากกลุมพอคาจีน 5 กลุมคือ กลุมจีนแตจิ๋ว ฮกเกี้ยน กวางตุง ไหหลํา และจีนแคะ ที่ครอบคลุมธุรกิจ
การคาในประเทศไทยเกือบทังหมด ซึ่งธุรกิจครอบครัวในยุคนี้มี 2 กลุมหลักไดแก ธุรกิจธนาคารพาณิชย
                        ้
และธุรกิจอุตสาหกรรมน้ําตาล
                  ในป พ.ศ.2490 ถือเปนการปดฉากธุรกิจตางชาติโดยการรัฐประหารของจอมพล ป.พิบูล-
สงคราม เชน การสงออกขาว โรงสีขาว ธนาคารพาญิชย กิจการเดินเรือและประกันภัย
                  พอป พ.ศ.2497 รัฐบาลไดใหกําเนิด พ.ร.บ.สงเสริมการลงทุน ป พ.ศ.2500 มีแผนพัฒนา
เศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1 และในป พ.ศ.2503 มีการจัดตั้ง BOI (คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน)




Dr.Danai Thieanphut                                               DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
4


                 ธุรกิจพอคาจีนไดปรับจากผูนําเขามาเปนผูผลิตสินคาและยกระดับเปนบริษัทรวมทุนกับ
                                                          
ตางชาติ
                 ดังนั้นในชวงป พ.ศ.2503 –พ.ศ.2516 ธุรกิจครอบครัวไทยจะมีลกษณะสําคัญคือ
                                                                          ั
                 (1) เติบโตโดยอิงกับอิทธิพลทางการเมือง และ (2) อาศัยพื้นฐานจากตางชาติเปนหลัก

                 โดยมีกลุมทุนนายหนาที่โดดเดน เชน กลุมโพธิรัตนังกูร กลุมพรประภา กลุมโชควัฒนา
                                                        
กลุมสหยูเนียน กลุมเจริญโภคภัณฑ กลุมศรีไทยปศุสัตวและกลุมจิราธิวัฒน
            ่

                 พอถึงป 2516 ในชวง 14 ตุลาคม เศรษฐกิจชะลอตัว อัตราเงินเฟอสูงกวา 10% ธุรกิจ
ครอบครัวในชวงนี้มการปรับตัวโดย
                  ี

                 (1) ธุรกิจครอบครัวเริ่มคิดถึงการอยูรอดของธุรกิจในรุนลูกรุนหลาน
                                                                            
                 (2) สิ่งที่ทําใหธรกิจครอบครัวอยูรอดไดคือ การปรับตัวดานการบริหารองคกรและ
                                   ุ              
บริหารทุน
                 ในป พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตการเงิน ซึ่งนําไปสูการลมสลายของกลุมทุนนิยมธุรกิจครอบครัว
ไทย เชน ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินและธุรกิจประกันภัย
                 กลุมที่อยูรอดไดแก กลุมที่เขาถึงอํานาจรัฐโดยตรงมีอํานาจเหนือรัฐ ดํารงเสนสายทาง
การเมืองแบบแอบแฝงและตองรวมทุนกับตางชาติ อาทิ ธุรกิจกึ่งผูกขาดที่มีผูผลิตนอยราย (Oligopoly)
ธุรกิจผูกขาด เชน ธุรกิจสุรา ธุรกิจโทรคมนาคมและบรรษัทครอบครัวไทย (Thai Family Conglomerates)
เชน เครือเจริญโภคภัณฑ
                 ธุรกิจครอบครัวไทยจะมีฐานะพิเศษในการดําเนินธุรกิจดวยปจจัยสําคัญ ไดแก
                 (1) สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีจํากัดจากธนาคาร
                 (2) ไดรับเทคโนโลยีสมัยใหม
                 (3) การรวมทุนกับบรรษัทขามชาติ
                 (4) ไดรับใบอนุญาตและเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
                 (5) สามารถเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ เชน ที่ดิน

                 ความอยูรอดของธุรกิจครอบครัวไทยภายใตกระแสโลกาภิวัตน (ผาสุก พงษไพจิตร, 2549)
ระบุวาจะตองมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีและปรับปรุงคุณภาพของผูบริหาร
                                                          

                 ผูเขียนไดประมวลองคความรูทั้งหมดเกียวกับธุรกิจครอบครัวไทย ไวดงรูป
                                                       ่                          ั

Dr.Danai Thieanphut                                                DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
5




                                  ธุรกิจครอบครัวในยุคนี้มี 2 กลุมหลัก
                                                  - ธุรกิจธนาคารพาณิชย
                                                  - ธุรกิจอุตสาหกรรมน้ําตาล
                                                                                                       ปดฉากธุรกิจตางชาติ
                 กลุมคนจีนโพนทะเลที่เขามาปกหลักธุรกิจในประเทศไทย                                   โดยการทํารัฐประหาร
                      5 กลุม                                                                          ของจอมพล ป.พิบูล
                  - จีนแตจิ๋วมีตั้งแตรับราชการ เปนเจาของกิจการใหญ ในชาวจีนระดับสูง                สงคราม เชน การ
                              (ทําโรงสี โรงเลื่อย) ชาวจีนระดับกลาง (ลูกจางอูตอเรือ รับจาง
                                                                                                      สงออกขาว โรงสีขาว
                              ขุดคลอง รับจางในโรงงาน)                                                 ธนาคารพาณิชย
         ธุรกิจ - จีนฮกเกี๋ยน คลายจีนแตจว เปนพอคาใหญ ควบคุมการคาโดยเฉพาะ
                                              ิ๋                                                       กิจการเดินเรือ
         ครอบ                 การคาใบชา ระดับลางเปนกรรมกรรับจางทั่วไป                              ประกันภัย
          ครัว   หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
          ไทย                                                                         2490
                                มีฐานะมั่งคัง มักประกอบอาชีพ ชาวจีนระดับสูงนิยม เชน เจาของโรงสี โรงเลื่อย
                                            ่
                - จีนกวางตุง ธุรกิจกอสราง กิจการโรงแรม รานคาเครืองโลหะ เครื่องจักรกล ชางกอสราง ระดับลาง
                                                                     ่
                                เปนกรรมกรใชแรงงาน
                  - จีนไหหลํา        ประกอบอาชีพในระดับกลางไปถึงระดับลาง เปนชางไม ชางฝมอ พนักงานรับใชบริษท
                                                                                             ื                  ั
                                     หางราน รานอาหารและพอคาหาบเร
                  - จีนแคะ           มีเปนพอคายอย ชางฝมือตางๆ เชน ชางเงิน ชางทอง ชางตัดผม




                                                                             ธุรกิจครอบครัวไทยจะมี 2 ลักษณะสําคัญ
                                                                                     A - เติบโตโดยอิงกับอิทธิพลทางการเมือง
                                                         มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
                                                                                   B - อาศัยพื้นฐานจากตางชาติเปนหลัก
                                                         สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1
        ธุรกิจ                   พ.ร.บ.สงเสริม          ตั้งคณะกรรมการสงเสริมการ
        ครอบ                      การลงทุน               ลงทุน (BoI) ในป 2503
         ครัว                        2 4 97              2 500                            2 5 0 3 -2 5 16
                                                            ธุรกิจพอคาคนจีนได            กลุมทุนนายหนา
         ไทย                                                ปรับจากผูนําเขามา             - กลุมโพธิรัตนังกูร
                                                            เปนผูผลิตสินคา
                                                                                            - กลุมพรประภา
                                                            ยกระดับเปนบริษัท               - กลุมโชควัฒนา
                                                            รวมทุนกับตางชาติ              - กลุมสหยูเนี่ยน
                                                                                            - กลุมเจริญโภคภัณฑ
                                                                                            - กลุมศรีไทยปศุสัตว
                                                                                            - กลุมจิราธิวัฒน




Dr.Danai Thieanphut                                                                  DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
6




                                              ธุรกิจครอบครัวปรับตัว
                                              - 14 ต.ค. 16
            ธุรกิจ                            - เงินเฟอกวา 10%
            ครอบ                              - เศรษฐกิจชะลอตัว
             ครัว
                                              2 5 14 -2 5 16
             ไทย
                                                  A ธุรกิจครอบครัวเริ่มคิดถึงการอยูรอดของธุรกิจใน
                                                      รุนลูกรุนหลาน
                                                  B สิ่งที่ทําใหอยูรอดไดคือ การปรับตัวดานการบริหาร
                                                      องคกรและบริหารทุน




                                                   ธุรกิจผูกขาด
                      ธุรกิจกึ่งผูกขาดที่มี                             บรรษัทครอบครัวไทย
                                                  เชน ธุรกิจสุรา           (Thai Family
                         ผูผลิตนอยราย                                                                   ความอยูรอดของธุรกิจ
                                                       ธุรกิจ           Conglomerates) เชน
                            Oligopolies                                                                    ครอบครัว ไทยภายใต
                                                   โทรคมนาคม            เครือเจริญโภคภัณฑ
         การลมสลายของ                                                                                      กระแสโลกาภิวัฒน
         กลุมทุนนิยมธุรกิจ
         ครอบครัวไทย เชน                                                                                  จะตองมีการพัฒนาดาน
         ธนาคารพาณิชย                                                                                     เทคโนโลยี
  ธุรกิจ เงินทุน ประกันภัย                                                                                 ปรับปรุงคุณภาพของ
                                                                                                           ผูบริหาร
  ครอบ หลังป
   ครัว     2540                                                                                                            2560
   ไทย                                กลุมที่เขาถึงอํานาจรัฐโดยตรง            ฐานะพิเศษของธุรกิจครอบครัวไทย
                 กลุมธุรกิจ
                                      มีอํานาจเหนือรัฐ                            สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีจากัดจากธนาคาร
                                                                                                                 ํ
                 ครอบครัว
                                      ดํารงเสนสายทางการเมือง                     ไดรับเทคโนโลยีสมัยใหม
                  ที่อยูรอด
                                      แบบแอบแฝง                                   การรวมทุนกับบรรษัทขามชาติ
                                      ตองรวมทุนกับตางชาติ                      ไดรับใบอนุญาตและเงินอุดหนุนจากรัฐบาล
                                                                                  สามารถเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ เชน ที่ดิน




                         และผูเขียนไดศึกษาวา ธุรกิจครอบครัวไทยสําหรับผูประกอบการที่ตองการประสบ
ความสําเร็จ จะมี “โมเดลคุณลักษณะความสามารถของผูประกอบการ ใน 6 ความสามารถคือ วิสยทัศนธุรกิจ
                                                                                ั
(Corporate Vision) ไฮเปอรฟอรแมนซ (High Performance) พัฒนาทีมธุรกิจ (Team Building) ทักษะ



Dr.Danai Thieanphut                                                                   DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
7


การบริหาร (Managerial Skills) นวัตกรรม (Innovation) คุณลักษณะแหงตน (Personal Attribute) โดย
รายละเอียดดังรูป



                              ความสามารถหลัก                         รายการความสามารถ
                                                            ภาวะผูนํา
                             วิสัยทัศนธุรกิจ               คิดการณไกล
                            (Corporate Vision)              กลาเสี่ยง
           6 คุณ                                            สนองตอบในทั นที
          ลักษณะ         ไฮเปอรฟอรแมนซ       (High       มุงผลสําเร็จ
                              Performance)                  กระหายตอการดําเนินธุรกิจ
           ความ
                                                            การเรียนรูดวยตนเองในมิ ติที่กวาง
          สามารถ             พัฒนาทีมธุรกิจ                 สรางทีมงาน
           ของผู            (Team Building)                แสวงหาความรูใหมๆ ทั้งที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับ
                                                            ธุรกิจ
          ประกอบ
                                                            ทักษะในการจัดการคน
            การ             ทักษะการบริหาร                  ความเกงดานจัดองคกร
        (6 Compe-           (Managerial Skills)             มีวิธีการทางการเงินและการควบคุมภายในที่มี
          tencies                                           ประสิทธิภาพ
            of
        Successful                                          ความคิดริเริ่ม
          Entre-                นวัตกรรม                    ความยืดหยุน
         preneurs)             (Innovation)                 การปรับปรุงวิธีการทํางานใหม

                                                            มองโลกในแงดี
                           คุณลักษณะแหงตน
                           (Personal Attributes)            เชื่อมั่นในตนเอง




                 ธุรกิจครอบครัวไทยถาจะรอดตองมีคุณลักษณะความสามารถตามโมเดลครับ!




Dr.Danai Thieanphut                                                DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009

More Related Content

Similar to ธุรกิจครอบครัวมีโอกาสรอดขนาดไหน

ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดfreelance
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2pairart
 

Similar to ธุรกิจครอบครัวมีโอกาสรอดขนาดไหน (18)

ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
Good Governance Cooperatives
Good Governance CooperativesGood Governance Cooperatives
Good Governance Cooperatives
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
Se Ed Book Slide
Se Ed Book SlideSe Ed Book Slide
Se Ed Book Slide
 
Se Ed Book Slide
Se Ed Book SlideSe Ed Book Slide
Se Ed Book Slide
 
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาดกลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
กลุ่มLng505 --โมโนโปลี พลังงานในเกมผูกขาด
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Anna
AnnaAnna
Anna
 
88
8888
88
 
Opp 2010(happy life)
Opp 2010(happy life)Opp 2010(happy life)
Opp 2010(happy life)
 
Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2Edvoc0447wp ch2
Edvoc0447wp ch2
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

ธุรกิจครอบครัวมีโอกาสรอดขนาดไหน

  • 1. 1 ธุรกิจครอบครัวมีโอกาสรอดขนาดไหน? ดร.ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจัดการบจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท มักจะมีการพูดกันวาธุรกิจครอบครัวจะอยูไมเกิน 3 ชัวคนและโดยเฉพาะอยางยิ่งกับคําพูด ่ วา คนไทยทําธุรกิจหรือการคาไมเกง ถาจะพิจารณาในลักษณะขอมูลจริง โดยผูเขียนไดเคยวิจยศึกษาไววาอัตรารอดของธุรกิจ ั  ไทยจากขอมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการคาตั้งแตป 2455 – พ.ศ.2550 พบสิ่งที่นาสนใจสําหรับธุรกิจ  ดังตอไปนี้ 1. ในชวงแรก พ.ศ.2455- พ.ศ.2540 ธุรกิจไทยมีอัตรารอดรอยละ 81.6 ในชวง พ.ศ.2455-พ.ศ.2540 ธุรกิจมีอัตรารอดหรือคงอยูที่สูงมากโดยมีผูประกอบการไทย  จดทะเบียนธุรกิจ ทั้งหมด 483,707 กิจการมีอัตราคงอยูรอยละ 81.6 และอัตราตาย(สิ้นสภาพ) เพียงรอยละ 18.4 เทานั้น 2. ชวงป พ.ศ.2541-พ.ศ.2550 ถาพิจารณาในชวงระยะเวลา 10 ปนับตั้งแตป พ.ศ.2541 จนถึงสิ้นป พ.ศ.2550 พบ รายละเอียดเกียวกับธุรกิจไทยดังนี้ ่ Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 2. 2 ภาพ : อัตรารอดของธุรกิจไทยในชวง 10 ป อัตรารอด อัตรารอด อัตรารอด 44.9% อัตรารอด อัตรารอด 43.3% 42.4% อัตรารอด 40.9% 38.8% 35.3% ปแรก 3 ปแรก 5 ปแรก 8 ปแรก 9 ปแรก 10 ป จํานวนที่ จดทะเบียน 20,364 78,196 157,891 302,038 324,761 372,236 * ดนัย เทียนพุฒ (2552). เจาะ DNA ธุรกิจครอบครัวไทย หนา 204-208 (1) ในปแรกธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 38.8 จากผูประกอบการที่จดทะเบียน 20,364 กิจการ มีกิจการคงอยู 7,900 กิจการ (38.8%) และสินสภาพ 12,464 กิจการ (61.2%) ้ (2) ใน 3 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2544) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 43.3 จากผูประกอบการที่  จดทะเบียน 78,196 กิจการ มีกิจการคงอยู 33,840 กิจการ (43.3%) และสินสภาพ 44,356 กิจการ (56.7%) ้ (3) ใน 5 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2546) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 35.3 จากผูประกอบการที่  จดทะเบียน 157,891 กิจการ มีกิจการคงอยู 55,755 กิจการ (35.3%) และสิ้นสภาพ 102,116 กิจการ (64.7%) (4) ใน 8 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2549) ธุรกิจมีอัตรารอดรอยละ 42.4 จากผูประกอบการ  302,038 กิจการ มีกิจการคงอยู 127,983 กิจการ (42.4%) และสิ้นสภาพ 174,055 กิจการ (64.7%) (5) โดยรวมแลวใน 9 ปแรก (พ.ศ.2541-พ.ศ.2550) ธุรกิจมีอตรารอดรอยละ 44.9 จาก ั ผูประกอบการที่จดทะเบียน 324,761 กิจการ มีกิจการคงอยู 153,160 กิจการ (44.9%) และสิ้นสภาพ 188,851 กิจการ (55.1%) โดยไมไดคํานวณป พ.ศ.2543 เพราะมีอัตราสิ้นสภาพ (ตาย) เกินรอยเปอรเซ็นต Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 3. 3 ดังนั้นสรุปแลวตั้งแตป พ.ศ.2541จนถึงปพ.ศ.2550 (รวมป 2543) มีจานวน 372,236 กิจการ ํ มีอัตรารอดหรือคงอยูรอยละ 40.9 และอัตราสิ้นสภาพรอยละ 59.1 แตถาพิจารณาอัตราตายของธุรกิจไทย ในปจดทะเบียนตังแตป พ.ศ.2541 จนถึง พ.ศ.2550 ้ มีกิจการจดทะเบียนเฉลี่ยปละ 37,223 กิจการ โดยการตายเฉลี่ย 21,985 กิจการ ซึ่งแยกประเภทการตายของ ธุรกิจไดดังนี้ • เลิกกิจการรวม 145,115 กิจการ เฉลี่ยปละ 14,511 กิจการ • รางรวม 69,021 กิจการ เฉลี่ยปละ 6,902 กิจการ • ลมละลายรวม 3,432 กิจการ เฉลี่ยปละ 343 กิจการ • อื่นๆ รวม 2,296 กิจการ เฉลียปละ 229 กิจการ ่ สรุปแลวธุรกิจไทยมีอตราการตายเฉลี่ยอยูที่อัตรารอยละ 59.1 ั  3. มูลเหตุหรือปฐมบทที่ทําใหเกิดธุรกิจครอบครัวไทย ประเทศไทยมี พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชยในป พ.ศ.2479 และฉบับตอมาในป พ.ศ.2490 และ พ.ศ.2499 ระบุวา “ผูประกอบการพาณิชยกิจ” หมายความวา บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ซึ่งประกอบ พาณิชยเปนอาชีพปกติและใหหมายความรวมทั้งผูเปนหุนสวนที่ไมจํากัดความรับผิด กรรมการหรือผูจัดการ  ดวย” ผูเขียนไดสังเคราะหงานเขียนของบัณฑพ ตั้งศรีวงศ (2543) และผาสุก พงษไพจิตร (2549) จนเปนภาพความเปนมาของธุรกิจครอบครัวไทย ซึ่งถาพิจารณา “Thai Family Business Time Capsule” โดยนับตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ป ค.ศ.1939-1945) คือหลังป พ.ศ.2488 ธุรกิจครอบครัวไทยไดรับ อิทธิพลจากกลุมพอคาจีน 5 กลุมคือ กลุมจีนแตจิ๋ว ฮกเกี้ยน กวางตุง ไหหลํา และจีนแคะ ที่ครอบคลุมธุรกิจ การคาในประเทศไทยเกือบทังหมด ซึ่งธุรกิจครอบครัวในยุคนี้มี 2 กลุมหลักไดแก ธุรกิจธนาคารพาณิชย ้ และธุรกิจอุตสาหกรรมน้ําตาล ในป พ.ศ.2490 ถือเปนการปดฉากธุรกิจตางชาติโดยการรัฐประหารของจอมพล ป.พิบูล- สงคราม เชน การสงออกขาว โรงสีขาว ธนาคารพาญิชย กิจการเดินเรือและประกันภัย พอป พ.ศ.2497 รัฐบาลไดใหกําเนิด พ.ร.บ.สงเสริมการลงทุน ป พ.ศ.2500 มีแผนพัฒนา เศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1 และในป พ.ศ.2503 มีการจัดตั้ง BOI (คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน) Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 4. 4 ธุรกิจพอคาจีนไดปรับจากผูนําเขามาเปนผูผลิตสินคาและยกระดับเปนบริษัทรวมทุนกับ   ตางชาติ ดังนั้นในชวงป พ.ศ.2503 –พ.ศ.2516 ธุรกิจครอบครัวไทยจะมีลกษณะสําคัญคือ ั (1) เติบโตโดยอิงกับอิทธิพลทางการเมือง และ (2) อาศัยพื้นฐานจากตางชาติเปนหลัก โดยมีกลุมทุนนายหนาที่โดดเดน เชน กลุมโพธิรัตนังกูร กลุมพรประภา กลุมโชควัฒนา  กลุมสหยูเนียน กลุมเจริญโภคภัณฑ กลุมศรีไทยปศุสัตวและกลุมจิราธิวัฒน ่ พอถึงป 2516 ในชวง 14 ตุลาคม เศรษฐกิจชะลอตัว อัตราเงินเฟอสูงกวา 10% ธุรกิจ ครอบครัวในชวงนี้มการปรับตัวโดย ี (1) ธุรกิจครอบครัวเริ่มคิดถึงการอยูรอดของธุรกิจในรุนลูกรุนหลาน  (2) สิ่งที่ทําใหธรกิจครอบครัวอยูรอดไดคือ การปรับตัวดานการบริหารองคกรและ ุ  บริหารทุน ในป พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตการเงิน ซึ่งนําไปสูการลมสลายของกลุมทุนนิยมธุรกิจครอบครัว ไทย เชน ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินและธุรกิจประกันภัย กลุมที่อยูรอดไดแก กลุมที่เขาถึงอํานาจรัฐโดยตรงมีอํานาจเหนือรัฐ ดํารงเสนสายทาง การเมืองแบบแอบแฝงและตองรวมทุนกับตางชาติ อาทิ ธุรกิจกึ่งผูกขาดที่มีผูผลิตนอยราย (Oligopoly) ธุรกิจผูกขาด เชน ธุรกิจสุรา ธุรกิจโทรคมนาคมและบรรษัทครอบครัวไทย (Thai Family Conglomerates) เชน เครือเจริญโภคภัณฑ ธุรกิจครอบครัวไทยจะมีฐานะพิเศษในการดําเนินธุรกิจดวยปจจัยสําคัญ ไดแก (1) สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีจํากัดจากธนาคาร (2) ไดรับเทคโนโลยีสมัยใหม (3) การรวมทุนกับบรรษัทขามชาติ (4) ไดรับใบอนุญาตและเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (5) สามารถเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ เชน ที่ดิน ความอยูรอดของธุรกิจครอบครัวไทยภายใตกระแสโลกาภิวัตน (ผาสุก พงษไพจิตร, 2549) ระบุวาจะตองมีการพัฒนาดานเทคโนโลยีและปรับปรุงคุณภาพของผูบริหาร  ผูเขียนไดประมวลองคความรูทั้งหมดเกียวกับธุรกิจครอบครัวไทย ไวดงรูป ่ ั Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 5. 5 ธุรกิจครอบครัวในยุคนี้มี 2 กลุมหลัก - ธุรกิจธนาคารพาณิชย - ธุรกิจอุตสาหกรรมน้ําตาล ปดฉากธุรกิจตางชาติ กลุมคนจีนโพนทะเลที่เขามาปกหลักธุรกิจในประเทศไทย โดยการทํารัฐประหาร 5 กลุม ของจอมพล ป.พิบูล - จีนแตจิ๋วมีตั้งแตรับราชการ เปนเจาของกิจการใหญ ในชาวจีนระดับสูง สงคราม เชน การ (ทําโรงสี โรงเลื่อย) ชาวจีนระดับกลาง (ลูกจางอูตอเรือ รับจาง  สงออกขาว โรงสีขาว ขุดคลอง รับจางในโรงงาน) ธนาคารพาณิชย ธุรกิจ - จีนฮกเกี๋ยน คลายจีนแตจว เปนพอคาใหญ ควบคุมการคาโดยเฉพาะ ิ๋ กิจการเดินเรือ ครอบ การคาใบชา ระดับลางเปนกรรมกรรับจางทั่วไป ประกันภัย ครัว หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ไทย 2490 มีฐานะมั่งคัง มักประกอบอาชีพ ชาวจีนระดับสูงนิยม เชน เจาของโรงสี โรงเลื่อย ่ - จีนกวางตุง ธุรกิจกอสราง กิจการโรงแรม รานคาเครืองโลหะ เครื่องจักรกล ชางกอสราง ระดับลาง ่ เปนกรรมกรใชแรงงาน - จีนไหหลํา ประกอบอาชีพในระดับกลางไปถึงระดับลาง เปนชางไม ชางฝมอ พนักงานรับใชบริษท ื ั หางราน รานอาหารและพอคาหาบเร - จีนแคะ มีเปนพอคายอย ชางฝมือตางๆ เชน ชางเงิน ชางทอง ชางตัดผม ธุรกิจครอบครัวไทยจะมี 2 ลักษณะสําคัญ A - เติบโตโดยอิงกับอิทธิพลทางการเมือง มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ B - อาศัยพื้นฐานจากตางชาติเปนหลัก สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ธุรกิจ พ.ร.บ.สงเสริม ตั้งคณะกรรมการสงเสริมการ ครอบ การลงทุน ลงทุน (BoI) ในป 2503 ครัว 2 4 97 2 500 2 5 0 3 -2 5 16 ธุรกิจพอคาคนจีนได กลุมทุนนายหนา ไทย ปรับจากผูนําเขามา - กลุมโพธิรัตนังกูร เปนผูผลิตสินคา - กลุมพรประภา ยกระดับเปนบริษัท - กลุมโชควัฒนา รวมทุนกับตางชาติ - กลุมสหยูเนี่ยน - กลุมเจริญโภคภัณฑ - กลุมศรีไทยปศุสัตว - กลุมจิราธิวัฒน Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 6. 6 ธุรกิจครอบครัวปรับตัว - 14 ต.ค. 16 ธุรกิจ - เงินเฟอกวา 10% ครอบ - เศรษฐกิจชะลอตัว ครัว 2 5 14 -2 5 16 ไทย A ธุรกิจครอบครัวเริ่มคิดถึงการอยูรอดของธุรกิจใน รุนลูกรุนหลาน B สิ่งที่ทําใหอยูรอดไดคือ การปรับตัวดานการบริหาร องคกรและบริหารทุน ธุรกิจผูกขาด ธุรกิจกึ่งผูกขาดที่มี บรรษัทครอบครัวไทย เชน ธุรกิจสุรา (Thai Family ผูผลิตนอยราย ความอยูรอดของธุรกิจ ธุรกิจ Conglomerates) เชน Oligopolies ครอบครัว ไทยภายใต โทรคมนาคม เครือเจริญโภคภัณฑ การลมสลายของ กระแสโลกาภิวัฒน กลุมทุนนิยมธุรกิจ ครอบครัวไทย เชน จะตองมีการพัฒนาดาน ธนาคารพาณิชย เทคโนโลยี ธุรกิจ เงินทุน ประกันภัย ปรับปรุงคุณภาพของ ผูบริหาร ครอบ หลังป ครัว 2540 2560 ไทย กลุมที่เขาถึงอํานาจรัฐโดยตรง ฐานะพิเศษของธุรกิจครอบครัวไทย กลุมธุรกิจ มีอํานาจเหนือรัฐ สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีจากัดจากธนาคาร ํ ครอบครัว ดํารงเสนสายทางการเมือง ไดรับเทคโนโลยีสมัยใหม ที่อยูรอด แบบแอบแฝง การรวมทุนกับบรรษัทขามชาติ ตองรวมทุนกับตางชาติ ไดรับใบอนุญาตและเงินอุดหนุนจากรัฐบาล สามารถเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ เชน ที่ดิน และผูเขียนไดศึกษาวา ธุรกิจครอบครัวไทยสําหรับผูประกอบการที่ตองการประสบ ความสําเร็จ จะมี “โมเดลคุณลักษณะความสามารถของผูประกอบการ ใน 6 ความสามารถคือ วิสยทัศนธุรกิจ ั (Corporate Vision) ไฮเปอรฟอรแมนซ (High Performance) พัฒนาทีมธุรกิจ (Team Building) ทักษะ Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 7. 7 การบริหาร (Managerial Skills) นวัตกรรม (Innovation) คุณลักษณะแหงตน (Personal Attribute) โดย รายละเอียดดังรูป ความสามารถหลัก รายการความสามารถ ภาวะผูนํา วิสัยทัศนธุรกิจ คิดการณไกล (Corporate Vision) กลาเสี่ยง 6 คุณ สนองตอบในทั นที ลักษณะ ไฮเปอรฟอรแมนซ (High มุงผลสําเร็จ Performance) กระหายตอการดําเนินธุรกิจ ความ การเรียนรูดวยตนเองในมิ ติที่กวาง สามารถ พัฒนาทีมธุรกิจ สรางทีมงาน ของผู (Team Building) แสวงหาความรูใหมๆ ทั้งที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับ ธุรกิจ ประกอบ ทักษะในการจัดการคน การ ทักษะการบริหาร ความเกงดานจัดองคกร (6 Compe- (Managerial Skills) มีวิธีการทางการเงินและการควบคุมภายในที่มี tencies ประสิทธิภาพ of Successful ความคิดริเริ่ม Entre- นวัตกรรม ความยืดหยุน preneurs) (Innovation) การปรับปรุงวิธีการทํางานใหม มองโลกในแงดี คุณลักษณะแหงตน (Personal Attributes) เชื่อมั่นในตนเอง ธุรกิจครอบครัวไทยถาจะรอดตองมีคุณลักษณะความสามารถตามโมเดลครับ! Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants Co.,Ltd. Copyright 2009