SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1



                      The Global Middle Class
                                                                                   ดร.ดนัย เทียนพุฒ
                                                กรรมการผูจดการ บริษท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท จํากัด
                                                           ั        ั
                                                                DrDanaiT@gmail.com

               ประเทศในโลกที่กาลังถูกจับตามองคือ
                              ํ                        ประเทศเกิดใหมหรือกําลังพัฒนาและสิงที่มการ
                                                                                         ่ ี
เปลี่ยนแปลงในแตละประเทศนั้นๆ คือ “ชนชั้นกลาง (Middle Class)”

               ชนชั้นกลางระดับโลก (Global Middle Class) เปนคนในประเทศเกิดใหมที่มีรายไดตอ
ครัวเรือนที่สามารถบอกไดวาอยางนอยก็เปนพวก “รายไดปานกลาง (Middle Income)” โดยวัดจาก
                         
มาตรฐาน นานาชาติซึ่งมีความแตกตางไปจากคนจนทั่วโลก

               ขณะที่ธนาคารโลกประมาณวา ชนชันกลางระดับโลกจะเพิ่มขึ้นจาก 430 ลานคนในป
                                            ้
2000 ไปเปน 1.15 พันลานคนในป 2030 และไดนยามคนชนชันกลางไวจากรายไดที่ทามาหาไดระหวาง
                                           ิ        ้                    ํ
10US$ ถึง 20 US$ ตอวัน ซึ่งอาจดูไดคราวๆ จากชวงรายไดโดยเฉลียระหวางบราซิล (10US$) และอิตาลี
                                                               ่
(20 US$) จีนและอินเดียดูจะเปนประเทศที่มีบทบาทมากที่สุดเพราะวาจีนมีชนชั้นกลางเพิ่มขึน 52%และ
                                                                                     ้
อินเดียจะเพิ่มขึ้น 12% ถารวมกันจะเพิ่มขึน 2 ใน 3 ของการเพิมขึ้นทั้งหมดในป 2030
                                         ้                 ่




Dr.Danai Thieanphut                                       DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
2


                       Goldman Sacks ฉายภาพของโลกในป 2050ดังรูป




                และไดสรุปไววา ชนชันกลางระดับโลกเพิมขึ้นปละ 80 ลานคน ปรากฏการณนี้เปน
                                     ้               ่
มากกวาการทีเ่ ขาใจวาเศรษฐกิจอเมริกาและยุโรปไดหันไปใชบริการภายนอก (Outsourcing) แต
ขอเท็จจริงเปนการเติบโตในสวนของเศรษฐกิจโลก ซึงการเติบโตของชนชันกลางระดับโลกนีกําลังคอยๆ
                                               ่                ้              ้
เพิ่มขึ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจดานสินเชื่อ

                เราอาจจะใหความหมายของชนชั้นกลางระดับโลกตามนัยของ Goldman Sacks ได
ดังตอไปนี้

                • เปนชนชั้นที่มรายไดอยูระหวาง 6,000 US$ ถึง 20,000 US$ ในเทอมของ PPP
                                ี

(Purchasing Power Parity) และการกระจายรายไดของโลกเปนไปในลักษณะแคบไมใชกวาง

                การเติบโตของชนชันกลางระดับโลกนีมีสงทีนาชวนพิสมัยวา พลโลก 2,000 ลานคนจะ
                                ้              ้ ิ่ ่

เปนชนชั้นกลางระดับโลกภายในป 2030

                • ประเทศกลุม BRICs (Brazil, Russia, India ,China) มีการเติบโตอยางตอเนื่องจาก

Dr.Danai Thieanphut                                      DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
3


กําลังซื้อในประเทศไปสูการเติบโตของเศรษฐกิจโลก การศึกษาของ Goldman Sacks คาดการณวา
                                                                                  
BRICs จะเปน 4 ใน 5 ของเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดของโลกในป 2050

                  • การเกิดขึ้นของ N-11 (The Next Eleven ประกอบดวย Bangladesh, Egypt,

Indonesia, Iran, Mexico, Nigeria, Pakistan, The Philippines, South Korea, Turkey and Vietnam) ที่
นิยามโดย Goldman Sacks Investment Bank นั้นเปนประเทศมีศักยภาพที่สงมากตอการที่จะเปน
                                                                  ู
เศรษฐกิจขนาดใหญของโลกในศตวรรษที่ 21 ควบคูไปกับประเทศกลุม BRICs
                                                         

                  Mauro Guillen แหงวารตันชี้วา เดิมที่กลุมชนชั้นกลางนั้นจะอยูในเขตที่เปนสามเหลี่ยมของยุโรป

อเมริกาเหนือและญี่ปุน

                  ในป 1970 และ 1980 ประเทศเกาหลีใต บราซิลและอาเจนตินา เม็กซิโกไดเพิ่มจํานวนชน
ชั้นกลางมากขึน
             ้

                  ในป 2005 จีนมีปริมาณการใชไฟฟาเทากับอังกฤษผลิตใน 1 ป ฝนป 2006 ไดเพิ่มขึ้น
เทากับปริมาณไฟฟาสํารองทังหมดของฝรั่งเศส ขณะทีคนจีนขาดความเสถียรในการใชกระแสไฟฟา
                          ้                    ่
ประเทศคูขนานเชนอินเดีย มีประชากรมากกวา 400 ลานคนที่ไมมีไฟฟาใช และความตองการในอินเดียจะ
เพิ่มขึ้นอีก 5 เทาตัวในอีก 25 ปขางหนา
                                  

                  Homi Kharas นักวิจัยแหง Brookings Institution ประมาณวา ในป 2025 ประเทศจีนจะ
มีประชากรชนชั้นกลางมากที่สุดในโลก ขณะที่อินเดียจะมีประชากรชนชั้นกลางมากกวาปจจุบน 10 เทา
                                                                                 ั

                 องคการทองเที่ยวโลก (World Tourism Organization) ประมาณวานักทองเที่ยวจะ
เดินทางไปทองเทียวโดยจะมีการเติบโตจากปจจุบนที่ 846 ลานคนไปเปน 1.6 พันลานคนในป 2020
                ่                          ั




Dr.Danai Thieanphut                                                DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
4

      แลวโลกสามารถรองรับกลุมชนชั้นกลางไดไหม?

                      โลกป 2050: การเติบโตอยางรวดเร็วของประเทศเกิดใหม

               ประเทศ                                         การทํานาย
จีน                                   จะมีเศรษฐกิจแซงหนาสหรัฐในป 2005 (เติบโต 130% ของขนาด
                                      เศรษฐกิจสหรัฐ)
อินเดีย                               จะเติบโตเกือบ 90% ของขนาดเศรษฐกิจสหรัฐในป 2050
บราซิล                                จะแซงหนาญี่ปุนใน 2050 โดยขึ้นมาอยูในอันดับที่ 4 ของโลก
รัสเซีย เม็กซิโกและอินโดนีเซีย        จะมีศักยภาพทางเศรษฐกิจใหญกวาเยอรมันหรือสหราช
                                      อาณาจักรในกลางศตวรรษที่ 21
เวียตนาม                              จะเติบโต 10% ตอปในเทอมของดอลลารที่แทจริงและผลักดัน
                                      ขึ้นมาไดถึงขนาด 70%ของเศรษฐกิจ UK ในป 2050
ไนจีเรีย                              จะโตมากกวาอัฟริกาใตในป 2050
ฟลิปปนส, อียปต บังคลาเทศ
               ิ                      จะเติบโตสูงมากแตก็มีความเสี่ยงที่สงเชนเดียวกัน
                                                                         ู
เวียตนาม, ตุรกี                       คาดวาจะมีความเปนไปไดในการเติบโตเชนเดียวกัน
*การศึกษาของ Pricewaterhouse Coopers (March, 2008)

                ในดานการตลาดสําหรับการเติบโตของชนชั้นกลางระดับโลก
                ชนชั้นกลางระดับโลกนี้คอ กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่เศรษฐกิจขยายตัว ตลาด
                                      ื
         ภายในประเทศเติบโตมากขึนจนกลายเปน “ตลาดชนชันกลาง”
                               ้                    ้

                ในดานการตลาดแลวทํานายไดวาธุรกิจใดก็ตามที่สามารถปรับการจัดจําหนายไปยังชน
ชั้นกลางระดับโลกไดจะสามารถคงไวซงความไดเปรียบในเศรษฐกิจโลก
                                 ึ่

                นักการตลาดตองใสใจอยางใกลชิดกับประชากรในกลุมนี้ที่จะใหผลประโยชนทางธุรกิจ
จากการเติบโตในชนชันกลางระดับโลก
                  ้

                ตัวอยางเชน Coca-Cola ไดวางกลยุทธสําหรับ Coke ในประเทศจีน โดยขายในหัวเมือง

หางไกลที่ราคาต่ํากวาในตลาดตะวันตก ผลที่ไดคือ Coke สามารถสรางตัวเองใหเปนแบรนดที่ผูบริโภครุน
ใหมตองการ ในขณะเดียวกัน Coke ก็ขายในชนบทดวยราคาถูกอีกเชนกัน แตผูบริโภคตองดื่ม ณ จุดขาย



Dr.Danai Thieanphut                                       DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
5


และคืนขวดใหกับผูคาสินคา.....”กลยุทธนี้เปนการลดตนทุนและทําใหราคาต่ําได” อีกทังขวดที่ใชบรรจุยัง
                                                                                    ้
ลดขนาดใหเล็กลงกวาที่ขายในประเทศตะวันตก

                Coca-Cola ไดปรับผลิตภัณฑใหตอบสนองกับจุดที่ขายในราคาต่ํา ดังนันผูบริโภคจึง
                                                                                ้
สามารถไดสัมผัสรสชาติของผลิตภัณฑแบบชาติตะวันตก

                ชนชั้นกลางในประเทศไทย

                สําหรับประเทศไทยในป 2008 Euromonitor International ไดมีการศึกษากลุมชนชัน
                                                                                          ้
กลางของประเทศไทยตังแตป 1999 ภายหลังจากที่ประเทศไดฟนตัวจากภาวะวิกฤตทางการเงินในป
                  ้
1997/98 พบวา

                    ชนชั้นกลางจะเปนกลุมที่กระตุนการบริโภคจับจายใชสอยซึ่งเปนประโยชนตอธุรกิจใน
                    ระดับกวางของทุกๆ ภาคธุรกิจ
                    ขณะที่ความไมเทาเทียมกันของรายไดยังคงมีอยูในประเทศไทยซึงอาจจะทําใหโอกาส
                                                                              ่
                    ของธุรกิจลดนอยลงจากการใชจายของชนชั้นกลาง
                    รายไดของครัวเรือน (รายไดที่หกภาษีแลว) ตอปอยูที่ประมาณ 10,000 US$ จะเติบโต
                                                  ั
                    จาก 15.4% ในป 2005 ไปเปนประมาณ 21.8% ในป 2007

                   สรุปแลวการเพิ่มขึ้นของชนชั้นกลางในประเทศไทยจะกระตุนการจับจายและการ
                บริโภคมากถึง 120.4 พันลานดอลลารสหรัฐ

                    การใชจายของชนชันกลางจะครอบคลุมในสินคาหรูหรา การสื่อสารและกิจกรรม
                                     ้
                    พักผอน โดยในชวงป 2002-2007 ปริมาณการซื้อโทรศัพทมือถือไดเพิมขึ้นจาก
                                                                                   ่
                    30.0% ถึง 74.2% และในชวงเวลาเดียวกัน การเปนเจาของเครื่องคอมพิวเตอรสวน
                                                                                           
                    บุคคลไดเติบโตขึ้นจาก 6.7% ไปถึง 21.7%
                    ธุรกิจคาปลีกในประเทศไทยมียอดขายสูงมากซึงเห็นไดจาก การเพิ่มขึนของจํานวน
                                                            ่                     ้
                    รานคาปลีกหรือชอปปงเซ็นเตอรสไตลตะวันตก รวมทั้งทําใหปริมาณการใชบัตร
                    เครดิตเพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว




Dr.Danai Thieanphut                                         DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
6


                    ทัศนภาพของประเทศไทย หากเปนไปไดที่ไตรมาสที่ 3 ของป 2009 เศรษฐกิจจะ
                    เติบโตในแดนบวก และสงผลใหชนชันกลางมีอัตราการขยายตัวมากขึ้น ซึงคาดวามี
                                                  ้                               ่
                    จํานวน 6 ลานครัวเรือนที่จะมีรายไดมากกวา 15,000 US$ ในป 2020

                นักการตลาดคงไดเห็นยาหอมจากรัฐบาลวาประเทศไทยมีอันดับการแขงขันจาก IMD

ขยับสูงขึ้นเปนอันดับที่ 26 จากทังหมด 57 ประเทศ (ป 2009) โดยสูงกวาอินเดีย อินโดนีเซียและฟลปปนส
                                 ้                                                           ิ
รวมถึงเกาหลีใต หากไดพิจารณาขอมูลมาตั้งแตตนจะรูไดทันทีวาอันดับการแขงขันที่ไดมานันจะมี
                                                          ่                            ้
ประโยชนมากนอยเพียงใดแคไหน หากการเติบโตของกลุม BRICs และ N-11 แซงหนาไทยทั้งหมดและ
จะขยับไปแซงหนากลุม G7 ในอนาคตอีก 2-3 ทศวรรษทีจะถึงนี้
                                               ่

                คงตองทิงคําถามใหชวยกันหาคําตอบในทศวรรษใหมนี้วา
                        ้                                      

                    ใครควรทําหนาที่กาหนดยุทธศาสตรชาติไทยหรือขับเคลื่อนยุทธศาสตรประเทศไทย
                                     ํ
                    การขับเคลื่อนดวยการจัดการคุณภาพของภาครัฐ (PMQA) ที่ขับเคลื่อนโดย กพร. ทํา
                    หนาทีเ่ หมาะสมไหมทีจะเปนผูนําในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติไทยดวยรางวัล
                                        ่
                    คุณภาพ PMQA ระบบวัดผลงาน 4 มิติและแผนปฏิบติราชการ 4 ปเพราะทั้งหมดนี้
                                                             ั
                    เปนเรื่องของการจัดการระบบราชการ ไมใชยุทธศาสตรชาติ
                    การตลาดประเทศไทยควรมี Thailand Business Model อยางไร หากยังคงใชซาก
                    ความคิดของ Creative Economy จากเศรษฐกิจทุนนิยมของรัฐบาลในอดีตที่ทําลาย
                    ประเทศชาติจนบอบช้ําถึงรากหญาและเกิดความแตกแยกความคิดในทุกระดับและ
                    ทุกกลุมทังเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การศึกษาและศาสนาจะสามารถนํามาใชฟน
                           ้
                    ประเทศไดจริงหรือ?

                คําถามเหลานีคงชวยใหเราไดเห็นวา “ทศวรรษใหมนี้เราจะเปลี่ยนประเทศไทยได
                             ้
                อยางไร???”




Dr.Danai Thieanphut                                        DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009

More Related Content

Viewers also liked

Sosyal Medya ve Kriz Yönetimi
Sosyal Medya ve Kriz YönetimiSosyal Medya ve Kriz Yönetimi
Sosyal Medya ve Kriz Yönetimierdalerdogdu
 
Kasım 2016 sosyal medya trendleri
Kasım 2016 sosyal medya trendleriKasım 2016 sosyal medya trendleri
Kasım 2016 sosyal medya trendleriAltavia Dekatlon
 
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla Z
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla ZCome creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla Z
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla ZBizup
 
Pravin_SAP MM-CIN
Pravin_SAP MM-CINPravin_SAP MM-CIN
Pravin_SAP MM-CINPravin R
 
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se..."Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...Edge AI and Vision Alliance
 
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero 500 Startups
 

Viewers also liked (10)

Sosyal Medya ve Kriz Yönetimi
Sosyal Medya ve Kriz YönetimiSosyal Medya ve Kriz Yönetimi
Sosyal Medya ve Kriz Yönetimi
 
Kasım 2016 sosyal medya trendleri
Kasım 2016 sosyal medya trendleriKasım 2016 sosyal medya trendleri
Kasım 2016 sosyal medya trendleri
 
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla Z
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla ZCome creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla Z
Come creare un Contenuto SEO-friendly dalla A alla Z
 
Slaid biodiversiti
Slaid biodiversitiSlaid biodiversiti
Slaid biodiversiti
 
Smartphone based ADAS
Smartphone based ADASSmartphone based ADAS
Smartphone based ADAS
 
Pravin_SAP MM-CIN
Pravin_SAP MM-CINPravin_SAP MM-CIN
Pravin_SAP MM-CIN
 
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se..."Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...
"Sensing Technologies for the Autonomous Vehicle," a Presentation from NXP Se...
 
Digtial PR Strategy in 8 Steps
Digtial PR Strategy in 8 StepsDigtial PR Strategy in 8 Steps
Digtial PR Strategy in 8 Steps
 
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero
unSEXY Conf 2013: Jamie Sutherland, Xero
 
Test 1
Test 1Test 1
Test 1
 

Similar to The Global Middle Class

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetWhy Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetSarinee Achavanuntakul
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกVilaiwun Bunya
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11Ong-art Chanprasithchai
 
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55Alisa Singtongla
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_officialTonlers Rabertjim
 

Similar to The Global Middle Class (20)

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are UpsetWhy Occupy Wall Street Protesters are Upset
Why Occupy Wall Street Protesters are Upset
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
รายงาน Baby boomer
รายงาน Baby boomer รายงาน Baby boomer
รายงาน Baby boomer
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
Seminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลกSeminar เศรษฐกิจโลก
Seminar เศรษฐกิจโลก
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
 
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_official
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

The Global Middle Class

  • 1. 1 The Global Middle Class ดร.ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจดการ บริษท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท จํากัด ั ั DrDanaiT@gmail.com ประเทศในโลกที่กาลังถูกจับตามองคือ ํ ประเทศเกิดใหมหรือกําลังพัฒนาและสิงที่มการ ่ ี เปลี่ยนแปลงในแตละประเทศนั้นๆ คือ “ชนชั้นกลาง (Middle Class)” ชนชั้นกลางระดับโลก (Global Middle Class) เปนคนในประเทศเกิดใหมที่มีรายไดตอ ครัวเรือนที่สามารถบอกไดวาอยางนอยก็เปนพวก “รายไดปานกลาง (Middle Income)” โดยวัดจาก  มาตรฐาน นานาชาติซึ่งมีความแตกตางไปจากคนจนทั่วโลก ขณะที่ธนาคารโลกประมาณวา ชนชันกลางระดับโลกจะเพิ่มขึ้นจาก 430 ลานคนในป ้ 2000 ไปเปน 1.15 พันลานคนในป 2030 และไดนยามคนชนชันกลางไวจากรายไดที่ทามาหาไดระหวาง ิ ้ ํ 10US$ ถึง 20 US$ ตอวัน ซึ่งอาจดูไดคราวๆ จากชวงรายไดโดยเฉลียระหวางบราซิล (10US$) และอิตาลี ่ (20 US$) จีนและอินเดียดูจะเปนประเทศที่มีบทบาทมากที่สุดเพราะวาจีนมีชนชั้นกลางเพิ่มขึน 52%และ ้ อินเดียจะเพิ่มขึ้น 12% ถารวมกันจะเพิ่มขึน 2 ใน 3 ของการเพิมขึ้นทั้งหมดในป 2030 ้ ่ Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 2. 2 Goldman Sacks ฉายภาพของโลกในป 2050ดังรูป และไดสรุปไววา ชนชันกลางระดับโลกเพิมขึ้นปละ 80 ลานคน ปรากฏการณนี้เปน ้ ่ มากกวาการทีเ่ ขาใจวาเศรษฐกิจอเมริกาและยุโรปไดหันไปใชบริการภายนอก (Outsourcing) แต ขอเท็จจริงเปนการเติบโตในสวนของเศรษฐกิจโลก ซึงการเติบโตของชนชันกลางระดับโลกนีกําลังคอยๆ ่ ้ ้ เพิ่มขึ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจดานสินเชื่อ เราอาจจะใหความหมายของชนชั้นกลางระดับโลกตามนัยของ Goldman Sacks ได ดังตอไปนี้ • เปนชนชั้นที่มรายไดอยูระหวาง 6,000 US$ ถึง 20,000 US$ ในเทอมของ PPP ี (Purchasing Power Parity) และการกระจายรายไดของโลกเปนไปในลักษณะแคบไมใชกวาง การเติบโตของชนชันกลางระดับโลกนีมีสงทีนาชวนพิสมัยวา พลโลก 2,000 ลานคนจะ ้ ้ ิ่ ่ เปนชนชั้นกลางระดับโลกภายในป 2030 • ประเทศกลุม BRICs (Brazil, Russia, India ,China) มีการเติบโตอยางตอเนื่องจาก Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 3. 3 กําลังซื้อในประเทศไปสูการเติบโตของเศรษฐกิจโลก การศึกษาของ Goldman Sacks คาดการณวา  BRICs จะเปน 4 ใน 5 ของเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดของโลกในป 2050 • การเกิดขึ้นของ N-11 (The Next Eleven ประกอบดวย Bangladesh, Egypt, Indonesia, Iran, Mexico, Nigeria, Pakistan, The Philippines, South Korea, Turkey and Vietnam) ที่ นิยามโดย Goldman Sacks Investment Bank นั้นเปนประเทศมีศักยภาพที่สงมากตอการที่จะเปน ู เศรษฐกิจขนาดใหญของโลกในศตวรรษที่ 21 ควบคูไปกับประเทศกลุม BRICs  Mauro Guillen แหงวารตันชี้วา เดิมที่กลุมชนชั้นกลางนั้นจะอยูในเขตที่เปนสามเหลี่ยมของยุโรป อเมริกาเหนือและญี่ปุน ในป 1970 และ 1980 ประเทศเกาหลีใต บราซิลและอาเจนตินา เม็กซิโกไดเพิ่มจํานวนชน ชั้นกลางมากขึน ้ ในป 2005 จีนมีปริมาณการใชไฟฟาเทากับอังกฤษผลิตใน 1 ป ฝนป 2006 ไดเพิ่มขึ้น เทากับปริมาณไฟฟาสํารองทังหมดของฝรั่งเศส ขณะทีคนจีนขาดความเสถียรในการใชกระแสไฟฟา ้ ่ ประเทศคูขนานเชนอินเดีย มีประชากรมากกวา 400 ลานคนที่ไมมีไฟฟาใช และความตองการในอินเดียจะ เพิ่มขึ้นอีก 5 เทาตัวในอีก 25 ปขางหนา  Homi Kharas นักวิจัยแหง Brookings Institution ประมาณวา ในป 2025 ประเทศจีนจะ มีประชากรชนชั้นกลางมากที่สุดในโลก ขณะที่อินเดียจะมีประชากรชนชั้นกลางมากกวาปจจุบน 10 เทา ั องคการทองเที่ยวโลก (World Tourism Organization) ประมาณวานักทองเที่ยวจะ เดินทางไปทองเทียวโดยจะมีการเติบโตจากปจจุบนที่ 846 ลานคนไปเปน 1.6 พันลานคนในป 2020 ่ ั Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 4. 4 แลวโลกสามารถรองรับกลุมชนชั้นกลางไดไหม? โลกป 2050: การเติบโตอยางรวดเร็วของประเทศเกิดใหม ประเทศ การทํานาย จีน จะมีเศรษฐกิจแซงหนาสหรัฐในป 2005 (เติบโต 130% ของขนาด เศรษฐกิจสหรัฐ) อินเดีย จะเติบโตเกือบ 90% ของขนาดเศรษฐกิจสหรัฐในป 2050 บราซิล จะแซงหนาญี่ปุนใน 2050 โดยขึ้นมาอยูในอันดับที่ 4 ของโลก รัสเซีย เม็กซิโกและอินโดนีเซีย จะมีศักยภาพทางเศรษฐกิจใหญกวาเยอรมันหรือสหราช อาณาจักรในกลางศตวรรษที่ 21 เวียตนาม จะเติบโต 10% ตอปในเทอมของดอลลารที่แทจริงและผลักดัน ขึ้นมาไดถึงขนาด 70%ของเศรษฐกิจ UK ในป 2050 ไนจีเรีย จะโตมากกวาอัฟริกาใตในป 2050 ฟลิปปนส, อียปต บังคลาเทศ ิ จะเติบโตสูงมากแตก็มีความเสี่ยงที่สงเชนเดียวกัน ู เวียตนาม, ตุรกี คาดวาจะมีความเปนไปไดในการเติบโตเชนเดียวกัน *การศึกษาของ Pricewaterhouse Coopers (March, 2008) ในดานการตลาดสําหรับการเติบโตของชนชั้นกลางระดับโลก ชนชั้นกลางระดับโลกนี้คอ กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่เศรษฐกิจขยายตัว ตลาด ื ภายในประเทศเติบโตมากขึนจนกลายเปน “ตลาดชนชันกลาง” ้ ้ ในดานการตลาดแลวทํานายไดวาธุรกิจใดก็ตามที่สามารถปรับการจัดจําหนายไปยังชน ชั้นกลางระดับโลกไดจะสามารถคงไวซงความไดเปรียบในเศรษฐกิจโลก ึ่ นักการตลาดตองใสใจอยางใกลชิดกับประชากรในกลุมนี้ที่จะใหผลประโยชนทางธุรกิจ จากการเติบโตในชนชันกลางระดับโลก ้ ตัวอยางเชน Coca-Cola ไดวางกลยุทธสําหรับ Coke ในประเทศจีน โดยขายในหัวเมือง หางไกลที่ราคาต่ํากวาในตลาดตะวันตก ผลที่ไดคือ Coke สามารถสรางตัวเองใหเปนแบรนดที่ผูบริโภครุน ใหมตองการ ในขณะเดียวกัน Coke ก็ขายในชนบทดวยราคาถูกอีกเชนกัน แตผูบริโภคตองดื่ม ณ จุดขาย Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 5. 5 และคืนขวดใหกับผูคาสินคา.....”กลยุทธนี้เปนการลดตนทุนและทําใหราคาต่ําได” อีกทังขวดที่ใชบรรจุยัง ้ ลดขนาดใหเล็กลงกวาที่ขายในประเทศตะวันตก Coca-Cola ไดปรับผลิตภัณฑใหตอบสนองกับจุดที่ขายในราคาต่ํา ดังนันผูบริโภคจึง ้ สามารถไดสัมผัสรสชาติของผลิตภัณฑแบบชาติตะวันตก ชนชั้นกลางในประเทศไทย สําหรับประเทศไทยในป 2008 Euromonitor International ไดมีการศึกษากลุมชนชัน ้ กลางของประเทศไทยตังแตป 1999 ภายหลังจากที่ประเทศไดฟนตัวจากภาวะวิกฤตทางการเงินในป ้ 1997/98 พบวา ชนชั้นกลางจะเปนกลุมที่กระตุนการบริโภคจับจายใชสอยซึ่งเปนประโยชนตอธุรกิจใน ระดับกวางของทุกๆ ภาคธุรกิจ ขณะที่ความไมเทาเทียมกันของรายไดยังคงมีอยูในประเทศไทยซึงอาจจะทําใหโอกาส ่ ของธุรกิจลดนอยลงจากการใชจายของชนชั้นกลาง รายไดของครัวเรือน (รายไดที่หกภาษีแลว) ตอปอยูที่ประมาณ 10,000 US$ จะเติบโต ั จาก 15.4% ในป 2005 ไปเปนประมาณ 21.8% ในป 2007 สรุปแลวการเพิ่มขึ้นของชนชั้นกลางในประเทศไทยจะกระตุนการจับจายและการ บริโภคมากถึง 120.4 พันลานดอลลารสหรัฐ การใชจายของชนชันกลางจะครอบคลุมในสินคาหรูหรา การสื่อสารและกิจกรรม ้ พักผอน โดยในชวงป 2002-2007 ปริมาณการซื้อโทรศัพทมือถือไดเพิมขึ้นจาก ่ 30.0% ถึง 74.2% และในชวงเวลาเดียวกัน การเปนเจาของเครื่องคอมพิวเตอรสวน  บุคคลไดเติบโตขึ้นจาก 6.7% ไปถึง 21.7% ธุรกิจคาปลีกในประเทศไทยมียอดขายสูงมากซึงเห็นไดจาก การเพิ่มขึนของจํานวน ่ ้ รานคาปลีกหรือชอปปงเซ็นเตอรสไตลตะวันตก รวมทั้งทําใหปริมาณการใชบัตร เครดิตเพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009
  • 6. 6 ทัศนภาพของประเทศไทย หากเปนไปไดที่ไตรมาสที่ 3 ของป 2009 เศรษฐกิจจะ เติบโตในแดนบวก และสงผลใหชนชันกลางมีอัตราการขยายตัวมากขึ้น ซึงคาดวามี ้ ่ จํานวน 6 ลานครัวเรือนที่จะมีรายไดมากกวา 15,000 US$ ในป 2020 นักการตลาดคงไดเห็นยาหอมจากรัฐบาลวาประเทศไทยมีอันดับการแขงขันจาก IMD ขยับสูงขึ้นเปนอันดับที่ 26 จากทังหมด 57 ประเทศ (ป 2009) โดยสูงกวาอินเดีย อินโดนีเซียและฟลปปนส ้ ิ รวมถึงเกาหลีใต หากไดพิจารณาขอมูลมาตั้งแตตนจะรูไดทันทีวาอันดับการแขงขันที่ไดมานันจะมี  ่ ้ ประโยชนมากนอยเพียงใดแคไหน หากการเติบโตของกลุม BRICs และ N-11 แซงหนาไทยทั้งหมดและ จะขยับไปแซงหนากลุม G7 ในอนาคตอีก 2-3 ทศวรรษทีจะถึงนี้ ่ คงตองทิงคําถามใหชวยกันหาคําตอบในทศวรรษใหมนี้วา ้   ใครควรทําหนาที่กาหนดยุทธศาสตรชาติไทยหรือขับเคลื่อนยุทธศาสตรประเทศไทย ํ การขับเคลื่อนดวยการจัดการคุณภาพของภาครัฐ (PMQA) ที่ขับเคลื่อนโดย กพร. ทํา หนาทีเ่ หมาะสมไหมทีจะเปนผูนําในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติไทยดวยรางวัล ่ คุณภาพ PMQA ระบบวัดผลงาน 4 มิติและแผนปฏิบติราชการ 4 ปเพราะทั้งหมดนี้ ั เปนเรื่องของการจัดการระบบราชการ ไมใชยุทธศาสตรชาติ การตลาดประเทศไทยควรมี Thailand Business Model อยางไร หากยังคงใชซาก ความคิดของ Creative Economy จากเศรษฐกิจทุนนิยมของรัฐบาลในอดีตที่ทําลาย ประเทศชาติจนบอบช้ําถึงรากหญาและเกิดความแตกแยกความคิดในทุกระดับและ ทุกกลุมทังเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การศึกษาและศาสนาจะสามารถนํามาใชฟน  ้ ประเทศไดจริงหรือ? คําถามเหลานีคงชวยใหเราไดเห็นวา “ทศวรรษใหมนี้เราจะเปลี่ยนประเทศไทยได ้ อยางไร???” Dr.Danai Thieanphut DNT Consultants. Co.,Ltd. Copyright 2009