SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1



                                คิดเรื่องทัศนภาพ (Scenarios)
                                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจัดการ บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท

                      ในฉบับนี้ผเู ขียนจะอนุญาตผูที่ติดตามเรื่องคาปลีกของไทยจะขอหยุดไวชั่วคราวกอนโดย
ขอตัดภาพจากที่ไดเขียนมา 2 ตอนแลวไปสูเรื่องใหม คือ ทัศนภาพ (Scenarios) เพราะมีผูที่สนใจและผู
บริหารธุรกิจสอบถามกันมากในเรื่องนีกันมาก
                                  ้

                       ดังนั้นถาจะเขียนเกียวกับ “ทัศนภาพ (Scenarios)” คงมีเรื่องราวใหหยิบมาเลาไดมากมาย
                                           ่
เพราะเปนสิ่งที่ผูเขียนใชเปนเครื่องมือในการทบทวนวิสัยทัศนและสรางทัศนภาพใหม หากตองการแปลง
รูปธุรกิจ (Business Transformation) สําหรับอนาคตที่สับสนวุนวาย และยิ่งเขมขนมากขึ้นในปจจุบันซึ่ง
ผูเขียนไดจด “การอบรมฝกปฏิบัติในเรื่องนี้แบบเต็มรูป ประมาณ 1-2 วัน” (อบรมกันแค 1-3 ชั่วโมงไมได
            ั
อะไรครับ!) ทําใหมีตวอยางและเทคนิคทีมีการปรับใชกบธุรกิจไทยไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
                    ั                ่            ั

                      ยอนความไปถาผูเขียนจําไมผิดในชวงทีทํางานอยูกับ
                                                            ่                ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร)ในสมัยนัน
                       ้               ไดเคยอานบทสัมภาษณของคุณวิโรจน ภูตระกูล คนไทยคนแรกที่เปน
ผูบริหารซึ่งประสบความสําเร็จที่บริษัทขามชาติอยางยูนลิเวอร และหลังจากนั้นนับทศวรรษก็คิดวาไมมีใคร
                                                      ิ
ลบสถิตินี้ได (จนกระทั่งคุณวิโรจน ไดเสียชีวิตไปในขณะที่ไปเดินปา) แลวมาสดุดถึง “ทัศนภาพของยูนิลิ
เวอร.............”

                      คําวา “ทัศนภาพ” ที่ผูเขียนไดยินจากคุณวิโรจนเปนอะไรที่ชอบมาก ๆในตอนนั้น ซึ่ง
แตกตางไปจากคําวา “ทิศทางธุรกิจ” เนื่องจากคําวา ทิศทางธุรกิจในสมัยตอมาไดมการพัฒนาและเรียกใหม
                                                                             ี
ในคําที่เหมาะกวาคือเราจะเรียกกันวา “วิสัยทัศนธุรกิจ (Corporate Vision)”

                      อีกอยางเนื่องจากในยุคนั้นอินเตอรเน็ตยังไมแพรหลายเหมือนปจจุบัน การที่จะสืบคนหรือ
หาตําราหรือขอเขียนในเรื่อง ทัศนภาพ (Scenarios) เพื่อทําความเขาใจจึงทําไดยากทําใหไมพบขอเขียนดาน
นี้เทาใดนักในเมืองไทย             แมปจจุบันจะมีอินเตอรเน็ตแพรหลายมากขึ้นแตเรื่องราวของทัศนภาพก็ยังไม
ชัดเจนมากนักหรือไมมีใหนาไปตอยอดความรูได ผูเขียนจึงโดดเขามาทําหนาที่ในปจจุบัน
                         ํ




ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ               Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
2


                ความจริงแลวผูเขียนเรียนเครื่องมือในการวิเคราะหหรือคาดการณอนาคตมาเรื่องหนึงคือ
                                                                                             ่
เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technic) โดยไดนํามาใชตอนทําวิทยานิพนธในระดับปริญญาโท ปจจุบันก็
นํามาใชบางแต การคิดเชิงทัศนภาพ และ กลยุทธที่เนนทัศนภาพมีเทคนิคที่นาสนใจกวา

คิดเชิงกลยุทธ คิดทัศนภาพ

                ในการจัดทําเรือง การวางแผนเชิงกลยุทธ (Strategic Planning) ผูเขียนไมไดเรียนใน
                              ่
สํานัก MBA ของเมืองไทยแตไดมีโอกาสเรียนรูตอนที่ทางานอยู ธกส. จากผูเชี่ยวชาญของ EU มาสอนใหที่
                                                  ํ
ธนาคาร      ตอมาไดรับการติวเขมเมื่อตองรับผิดชอบดานนี้ที่หางสรรพสินคาโรบินสัน        แตกยงไมลึกซึ้ง
                                                                                               ็ั
เทากับที่ไดเรียนเมื่อตอนทํางานกับบริษัททีปรึกษาจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งเขามาเปดดําเนินการเรื่องนี้เกือบๆ
                                           ่
20 ปแลว (บริษัท SRI: Strategic Resources International)

                ระหวางทีตองเตรียมการบรรยายเมื่อเกือบ 2 ทศวรรษที่แลวในเรื่องการคิดเชิงกลยุทธเพื่อ
                         ่
สรางสิ่งที่เรียกวา “วิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Vision)” หรือบางทีก็เรียก Strategic Profile (โปรไฟล
เชิงกลยุทธ) ซึ่งเปนเรื่องเดียวกันทําใหผูเขียนรูชัดเจนยิงขึ้นวา การคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking)
                                                           ่
หากจะคิดทําเรื่องวิสยทัศนธุรกิจใหไดดแลว การวิเคราะหทัศนภาพ (Scenario Analysis) เปนเครื่องมือที่
                    ั                  ี
เหมาะสมมากและดีกวาวิธีการอื่นๆ

                แตสิ่งที่แปลกมาก คือเมืองไทยในขณะนันรูจักเรื่องนีนอยมากแบบเหลือเชื่อจริงๆ!!
                                                    ้              ้ 

                 การคิดทัศนภาพ เราไมคอยพูดถึงกันเทากับ การวิเคราะหทัศนภาพและกลยุทธที่เนน
                                      
ทัศนภาพ (Scenario Based Strategy)

                อะไรคือ สิ่งที่เรียกวา ทัศนภาพ (Scenarios)

                สรุปงายๆ ทัศนภาพคือ เรื่องราวของอนาคตที่เปนไปได (Stories of possible futures,
Ralston & Wilson (2006); The Scenario Planning Handbook) ขณะที่ Sharpe & Heijden (2007;
Scenario for Success) บอกวา ทัศนภาพเปนเครื่องมือสําหรับการคิดอนาคต

                ความจริงแลวคําวา ทัศนภาพนั้นยืมมาจากโลกภาพยนตรที่ใชบรรยายเลาเรื่องและสิ่งที่เปน
ภาพที่เกิดขึ้น คําดังกลาวไดถูกแปลมาใชในโลกธุรกิจ



ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ           Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
3


                ดังนั้น การวางแผนทัศนภาพ (Scenario Planning) เปนหรือควรจะเปนการออกแบบที่
ชวยใหเราเห็นทั้งปจจุบันและอนาคตที่เปนเหมือนเรื่องราวที่เกียวของดําเนินตอเนื่องไป
                                                              ่

                เรามักจะใชคําวา Scenarios ที่เปนพหูพจนเพราะอนาคตเปนสิ่งที่ไมแนนอนที่ซอนเรนอยู
ซึ่งเราจําเปนตองพิจารณาจํานวนของอนาคตที่เปนทางเลือก (ทัศนภาพ) ถาเราสามารถคนหาชวงทั้งหมด
ของความเปนไปไดกจะทําใหมีการวางแผนที่ตระเตรียมไวเพื่อการเผชิญกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
                 ็

                ทัศนภาพ ไมใช การทํานาย

        แต     เปนการบรรยายทางเลือกในอนาคตที่เปนไปได

                ทัศนภาพไมใชสิ่งแปรเปลี่ยนรอบๆ จุดศูนยกลาง

        แต     เปนสิ่งที่มีนัยสําคัญ จัดโครงสรางได เปนมุมมองที่แตกตางกันในภาพอนาคต

                ทัศนภาพไมใชจับภาพที่จุดปลาย (ต.ย. ตลาดในป 2015)

        แต     เปนภาพยนตรของสิ่งที่เกี่ยวของกันในพลวัตของอนาคต

                ทัศนภาพไมใชมุมมองทั่วๆ ไปของความกลัวหรืออนาคตที่ตองการ

        แต     เปนมุมมองของอนาคตที่มี “จุดมุงในการตัดสินใจ” โดยเฉพาะเจาะจง

                ทัศนภาพไมใชผลผลิตของนักอนาคตภายนอก(องคกร)

        แต     เปนผลลัพธของการรับรูและหยั่งเห็นของผูบริหาร

ทัศนภาพธุรกิจ

                ผูเขียนไดสอนใหธุรกิจไดเรียนรูถึงเรื่อง การวิเคราะหทัศนภาพและกลยุทธที่เนนทัศนภาพ
มานานพอสมควรโดยเฉพาะในภาคธุรกิจ

                      การเริ่มใหองคกรของรัฐไดเรียนรูเรื่องทัศนภาพเมื่อราวๆ 10 ปที่แลวในระหวางที่
ผูเขียนทําหนาที่ “ที่ปรึกษาดานการสรางโมเดลความสามารถใหกับสํานักงาน ก.พ.” ซึ่งขอใหผูเขียนสอน
วิธีการคิดเชิงกลยุทธ จึงนําเรื่องการวิเคราะหทัศนภาพผนวกเขามาดวย



ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ           Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
4


                      หลังจากนันไดบรรยายเรื่องนี้เรื่อยมา ประมาณ 5 ปที่ผานมาไดเริ่มทดลองสอนใน
                                ้
วิชา Strategic Management สําหรับ นศ.MBA ที่ผูเขียนสอนอยู พบวาคอนขางยากสําหรับ นศ.MBA ที่จะ
มีขีดความสามารถพอในการวิเคราะหใหเห็นทัศนภาพของอนาคตที่เปนไปไดโดยเฉพาะการใหชื่อทัศนภาพ
ที่โดนๆ!!
                      ไดมีโอกาสอีก 2 ครั้งเมื่อไมนานนักในการไปสอนใหกบ PTT GAS ที่ จ.ระยอง
                                                                        ั
ซึ่งตองการเครื่องมือใหมๆในการวิเคราะหกลยุทธ            กับการเปนที่ปรึกษาดานวางแผนกลยุทธใหกบ
                                                                                                 ั
ศูนยการคาฟวเจอรปารครังสิต    ….”พบวาหากทําการวิเคราะหทัศนภาพไดอยางถุกตอง          จะสามารถ
จัดรูปแบบทัศนภาพและใหชื่อทัศนภาพทีดี-เดนๆ ได”
                                   ่

                และยิ่งกวานั้นลาสุดเมื่อเดือน ตุลาคม 2552 ที่ผานมานี้ยังพบอีกวา การใชเทคนิคการ
วิเคราะหทัศนภาพโดยการสราง         เมทริกซทัศนภาพ 2x2 มีวิธการที่สามารถพัฒนาไดหลากหลายวิธี
                                                             ี
โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําไปใชบรรยายเพือ “สรางกลยุทธทัศนภาพสําหรับธุรกิจโรงพยาบาล”
                                     ่

                สรุปแลวผูเขียนไดขยายแนวคิดออกไปอีกพอสมควรโดยเฉพาะอยางยิงสิ่งที่พบในชวง 1-2
                                                                           ่
ปน้คอ
    ีื

            1. การวิเคราะหทัศนภาพ หากทํามากกวาการวิเคราะห PEST (P คือ การเมือง, E คือ
                 เศรษฐกิจ, S คือสังคมและวัฒนธรรม, T คือเทคโนโลยี) โดยเพิ่มวิเคราะหปจจัยดานการ
                 แขงขันหรือแรงขับ 5 อยาง (Five Forces Model) ของ Porter จะทําใหเห็นแนวโนม
                 (Trends) ที่นาสนใจมากยิ่งขึ้น เมื่อจะสรุปแนวโนมออกเปนสิ่งทีแนนอน (Certainty)
                                                                               ่
                 และสิ่งที่ไมแนนอน (Uncertainty)
            2. การที่จะหยิบสิ่งที่เปนสิ่งที่แนนอนและสิงที่ไมแนนอนเขามาแทนทัศนภาพ
                                                        ่                                     ตองมีการ
                 วิเคราะหเมทริกซผลกระทบกับระดับความสําคัญมากอน หากทําไดการนําไปสูเมทริกซ
                 ทัศนภาพ 2x2 จะนาสนใจมาก
            3. การทบทวนและสรางวิสัยทัศน หากการทําเพียง “SWOT Analysis” ในแบบวิธีเดิมๆ
                 พบวากวาจะเขียนขอความวิสัยทัศนและภารกิจที่บอกภาพอนาคตที่อยากจะเปนและสิ่งที่
                 ตองทําทั้งปจจุบันและอนาคตหรือจุดประสงคของธุรกิจ        สูการใชเทคนิคการวิเคราะห
                 ทัศนภาพไมได



ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ        Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
5



อนาคตประเทศไทยมีทัศนภาพอยางไร?

                  ความจริงหลายยุคหลายสมัยที่พดถึง “อนาคตประเทศไทย” มักจะทําอยูบนตํารา 1-2 เลม
                                             ู
ของบรรดากุนซือฟากรัฐบาลที่มาจากสถาบันการศึกษา เราจึงไมเห็นอนาคตของประเทศไทยที่ชดเจนมาก
                                                                                ั
หรืออาจจะบอกไดวา “อนาคตประเทศไทยไมไดมอะไรทีจะเปนไปไดมาตลอดชวง 10 ปที่ผานมา วนเวียน
                                         ี     ่
กันอยูแครากหญา ประชานิยมและเศรษฐกิจสรางสรรค
      

                  ในปจจุบนเราจะเห็นวาการวิเคราะหเกี่ยวกับอนาคต หรือ ทัศนภาพ นันไดเขามามีบทบาท
                          ั                                                      ้
สูงมากกวาแตกอนโดยเฉพาะในระดับโลกไดนําเทคนิคนีเ้ ขามาใชกนแพรหลายมากขึนเพราะวา
                                                             ั             ้

                  1.อนาคตไดถูกนิยามใหมวา เปนสิ่งทีไมแนนอน เปนความสับสนวุนวาย และทํานาย
                                                      ่
อนาคตไกล ๆ ไดยากมากวาแตกอน (อาจจะพูดไดชด ๆ ดัง ๆ วา บอกอะไรไกล ๆ แทบไมไดแลวดวย
                                            ั
วิธีการแบบเดิม)

                  2.ทั้งนักกลยุทธและนักการตลาดระดับโลก ตางก็ออกมาบอกหรือชี้แนะให ประเทศและ
ธุรกิจทําในเรืองของการวิเคราะหทัศนภาพ เพื่อจะได วาดภาพเรื่องราวของอนาคตที่เปนไปไดและไมหลง
              ่
ทางเสียเวลาไปกับเครื่องและวิธีการแบบเดิม ๆ ที่ไมอาจบอกภาพอนาคตไดอีกตอไป

                  3.อนาคตประเทศไทยแบบที่เรานิยมทํากัน คือ การมาระดมความคิดจากตัวแทนทุก ๆ
สวนของประเทศ พรอมการนําเสนองานวิจัย-ศึกษาของนักวิชาการทั้งอดีต-ปจจุบัน-และอนาคต ในรูปแบบ
ที่เราคุนเคย เราจะพบอนาคตแบบที่ผูเขียนบอกไวขางตน รากหญา ประชานิยม            ยาเสพติด เมาไมขับ
เศรษฐกิจสรางสรรค ลําพังแค “ไขหวัดสายพันธุใหม 2009......ยุทธศาสตรการรับมือรอบแรกยังมือไม
ปนปวน นีไดเตือนกันวาจะเกิด การระบาดรอบ 2 ทั้งๆ ที่ อีก 2 เดือน ป 2010 จะมาถึงในไมชายิ่งเขาหนา
           ่                                                                             
หนาวจะระบาดเร็วกวาหนารอน เหตุการณนี้บอกไดชัดเจนถึง การใชวิธีการคิดและเครื่องมือแบบที่เคยชิน

                   สิ่งเหลานี้ใชหรือเปลาไมรในสิ่งที่เรียกวา อนาคตประเทศไทย ลองมาวิเคราะหใหมถึง
                                                ู
“ทัศนภาพใหมของประเทศไทย” นาจะทําใหหลุดวังวนขางตนก็ไดครับใครจะไปรูจริงมั๊ย!!




ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ         Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.

More Related Content

Similar to Scenario Thinking

ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนDrDanai Thienphut
 
Visualizing for impact final
Visualizing for impact finalVisualizing for impact final
Visualizing for impact finalBAINIDA
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1DrDanai Thienphut
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒDrDanai Thienphut
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่DrDanai Thienphut
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่DrDanai Thienphut
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทสุชาติ องค์มิ้น
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
Academic article guideline2012
Academic article guideline2012Academic article guideline2012
Academic article guideline2012DrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015Zabitan
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบtelecentreacademy
 

Similar to Scenario Thinking (20)

ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอนก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
ก้าวสู่ยุคการจัดการความไม่แน่นอน
 
Visualizing for impact final
Visualizing for impact finalVisualizing for impact final
Visualizing for impact final
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
News
NewsNews
News
 
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒการหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
การหยั่งเห็นเชิงกลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
 
1
11
1
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
Academic article guideline2012
Academic article guideline2012Academic article guideline2012
Academic article guideline2012
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015TAT Review Magazine 2/2015
TAT Review Magazine 2/2015
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

Scenario Thinking

  • 1. 1 คิดเรื่องทัศนภาพ (Scenarios) ดร.ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผูจัดการ บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท ในฉบับนี้ผเู ขียนจะอนุญาตผูที่ติดตามเรื่องคาปลีกของไทยจะขอหยุดไวชั่วคราวกอนโดย ขอตัดภาพจากที่ไดเขียนมา 2 ตอนแลวไปสูเรื่องใหม คือ ทัศนภาพ (Scenarios) เพราะมีผูที่สนใจและผู บริหารธุรกิจสอบถามกันมากในเรื่องนีกันมาก ้ ดังนั้นถาจะเขียนเกียวกับ “ทัศนภาพ (Scenarios)” คงมีเรื่องราวใหหยิบมาเลาไดมากมาย ่ เพราะเปนสิ่งที่ผูเขียนใชเปนเครื่องมือในการทบทวนวิสัยทัศนและสรางทัศนภาพใหม หากตองการแปลง รูปธุรกิจ (Business Transformation) สําหรับอนาคตที่สับสนวุนวาย และยิ่งเขมขนมากขึ้นในปจจุบันซึ่ง ผูเขียนไดจด “การอบรมฝกปฏิบัติในเรื่องนี้แบบเต็มรูป ประมาณ 1-2 วัน” (อบรมกันแค 1-3 ชั่วโมงไมได ั อะไรครับ!) ทําใหมีตวอยางและเทคนิคทีมีการปรับใชกบธุรกิจไทยไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ั ่ ั ยอนความไปถาผูเขียนจําไมผิดในชวงทีทํางานอยูกับ ่ ธกส.(ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร)ในสมัยนัน ้ ไดเคยอานบทสัมภาษณของคุณวิโรจน ภูตระกูล คนไทยคนแรกที่เปน ผูบริหารซึ่งประสบความสําเร็จที่บริษัทขามชาติอยางยูนลิเวอร และหลังจากนั้นนับทศวรรษก็คิดวาไมมีใคร ิ ลบสถิตินี้ได (จนกระทั่งคุณวิโรจน ไดเสียชีวิตไปในขณะที่ไปเดินปา) แลวมาสดุดถึง “ทัศนภาพของยูนิลิ เวอร.............” คําวา “ทัศนภาพ” ที่ผูเขียนไดยินจากคุณวิโรจนเปนอะไรที่ชอบมาก ๆในตอนนั้น ซึ่ง แตกตางไปจากคําวา “ทิศทางธุรกิจ” เนื่องจากคําวา ทิศทางธุรกิจในสมัยตอมาไดมการพัฒนาและเรียกใหม ี ในคําที่เหมาะกวาคือเราจะเรียกกันวา “วิสัยทัศนธุรกิจ (Corporate Vision)” อีกอยางเนื่องจากในยุคนั้นอินเตอรเน็ตยังไมแพรหลายเหมือนปจจุบัน การที่จะสืบคนหรือ หาตําราหรือขอเขียนในเรื่อง ทัศนภาพ (Scenarios) เพื่อทําความเขาใจจึงทําไดยากทําใหไมพบขอเขียนดาน นี้เทาใดนักในเมืองไทย แมปจจุบันจะมีอินเตอรเน็ตแพรหลายมากขึ้นแตเรื่องราวของทัศนภาพก็ยังไม ชัดเจนมากนักหรือไมมีใหนาไปตอยอดความรูได ผูเขียนจึงโดดเขามาทําหนาที่ในปจจุบัน ํ ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
  • 2. 2 ความจริงแลวผูเขียนเรียนเครื่องมือในการวิเคราะหหรือคาดการณอนาคตมาเรื่องหนึงคือ ่ เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technic) โดยไดนํามาใชตอนทําวิทยานิพนธในระดับปริญญาโท ปจจุบันก็ นํามาใชบางแต การคิดเชิงทัศนภาพ และ กลยุทธที่เนนทัศนภาพมีเทคนิคที่นาสนใจกวา คิดเชิงกลยุทธ คิดทัศนภาพ ในการจัดทําเรือง การวางแผนเชิงกลยุทธ (Strategic Planning) ผูเขียนไมไดเรียนใน ่ สํานัก MBA ของเมืองไทยแตไดมีโอกาสเรียนรูตอนที่ทางานอยู ธกส. จากผูเชี่ยวชาญของ EU มาสอนใหที่ ํ ธนาคาร ตอมาไดรับการติวเขมเมื่อตองรับผิดชอบดานนี้ที่หางสรรพสินคาโรบินสัน แตกยงไมลึกซึ้ง ็ั เทากับที่ไดเรียนเมื่อตอนทํางานกับบริษัททีปรึกษาจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งเขามาเปดดําเนินการเรื่องนี้เกือบๆ ่ 20 ปแลว (บริษัท SRI: Strategic Resources International) ระหวางทีตองเตรียมการบรรยายเมื่อเกือบ 2 ทศวรรษที่แลวในเรื่องการคิดเชิงกลยุทธเพื่อ ่ สรางสิ่งที่เรียกวา “วิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Vision)” หรือบางทีก็เรียก Strategic Profile (โปรไฟล เชิงกลยุทธ) ซึ่งเปนเรื่องเดียวกันทําใหผูเขียนรูชัดเจนยิงขึ้นวา การคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking) ่ หากจะคิดทําเรื่องวิสยทัศนธุรกิจใหไดดแลว การวิเคราะหทัศนภาพ (Scenario Analysis) เปนเครื่องมือที่ ั ี เหมาะสมมากและดีกวาวิธีการอื่นๆ แตสิ่งที่แปลกมาก คือเมืองไทยในขณะนันรูจักเรื่องนีนอยมากแบบเหลือเชื่อจริงๆ!! ้ ้  การคิดทัศนภาพ เราไมคอยพูดถึงกันเทากับ การวิเคราะหทัศนภาพและกลยุทธที่เนน  ทัศนภาพ (Scenario Based Strategy) อะไรคือ สิ่งที่เรียกวา ทัศนภาพ (Scenarios) สรุปงายๆ ทัศนภาพคือ เรื่องราวของอนาคตที่เปนไปได (Stories of possible futures, Ralston & Wilson (2006); The Scenario Planning Handbook) ขณะที่ Sharpe & Heijden (2007; Scenario for Success) บอกวา ทัศนภาพเปนเครื่องมือสําหรับการคิดอนาคต ความจริงแลวคําวา ทัศนภาพนั้นยืมมาจากโลกภาพยนตรที่ใชบรรยายเลาเรื่องและสิ่งที่เปน ภาพที่เกิดขึ้น คําดังกลาวไดถูกแปลมาใชในโลกธุรกิจ ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
  • 3. 3 ดังนั้น การวางแผนทัศนภาพ (Scenario Planning) เปนหรือควรจะเปนการออกแบบที่ ชวยใหเราเห็นทั้งปจจุบันและอนาคตที่เปนเหมือนเรื่องราวที่เกียวของดําเนินตอเนื่องไป ่ เรามักจะใชคําวา Scenarios ที่เปนพหูพจนเพราะอนาคตเปนสิ่งที่ไมแนนอนที่ซอนเรนอยู ซึ่งเราจําเปนตองพิจารณาจํานวนของอนาคตที่เปนทางเลือก (ทัศนภาพ) ถาเราสามารถคนหาชวงทั้งหมด ของความเปนไปไดกจะทําใหมีการวางแผนที่ตระเตรียมไวเพื่อการเผชิญกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ็ ทัศนภาพ ไมใช การทํานาย แต เปนการบรรยายทางเลือกในอนาคตที่เปนไปได ทัศนภาพไมใชสิ่งแปรเปลี่ยนรอบๆ จุดศูนยกลาง แต เปนสิ่งที่มีนัยสําคัญ จัดโครงสรางได เปนมุมมองที่แตกตางกันในภาพอนาคต ทัศนภาพไมใชจับภาพที่จุดปลาย (ต.ย. ตลาดในป 2015) แต เปนภาพยนตรของสิ่งที่เกี่ยวของกันในพลวัตของอนาคต ทัศนภาพไมใชมุมมองทั่วๆ ไปของความกลัวหรืออนาคตที่ตองการ แต เปนมุมมองของอนาคตที่มี “จุดมุงในการตัดสินใจ” โดยเฉพาะเจาะจง ทัศนภาพไมใชผลผลิตของนักอนาคตภายนอก(องคกร) แต เปนผลลัพธของการรับรูและหยั่งเห็นของผูบริหาร ทัศนภาพธุรกิจ ผูเขียนไดสอนใหธุรกิจไดเรียนรูถึงเรื่อง การวิเคราะหทัศนภาพและกลยุทธที่เนนทัศนภาพ มานานพอสมควรโดยเฉพาะในภาคธุรกิจ  การเริ่มใหองคกรของรัฐไดเรียนรูเรื่องทัศนภาพเมื่อราวๆ 10 ปที่แลวในระหวางที่ ผูเขียนทําหนาที่ “ที่ปรึกษาดานการสรางโมเดลความสามารถใหกับสํานักงาน ก.พ.” ซึ่งขอใหผูเขียนสอน วิธีการคิดเชิงกลยุทธ จึงนําเรื่องการวิเคราะหทัศนภาพผนวกเขามาดวย ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
  • 4. 4  หลังจากนันไดบรรยายเรื่องนี้เรื่อยมา ประมาณ 5 ปที่ผานมาไดเริ่มทดลองสอนใน ้ วิชา Strategic Management สําหรับ นศ.MBA ที่ผูเขียนสอนอยู พบวาคอนขางยากสําหรับ นศ.MBA ที่จะ มีขีดความสามารถพอในการวิเคราะหใหเห็นทัศนภาพของอนาคตที่เปนไปไดโดยเฉพาะการใหชื่อทัศนภาพ ที่โดนๆ!!  ไดมีโอกาสอีก 2 ครั้งเมื่อไมนานนักในการไปสอนใหกบ PTT GAS ที่ จ.ระยอง ั ซึ่งตองการเครื่องมือใหมๆในการวิเคราะหกลยุทธ กับการเปนที่ปรึกษาดานวางแผนกลยุทธใหกบ ั ศูนยการคาฟวเจอรปารครังสิต ….”พบวาหากทําการวิเคราะหทัศนภาพไดอยางถุกตอง จะสามารถ จัดรูปแบบทัศนภาพและใหชื่อทัศนภาพทีดี-เดนๆ ได” ่ และยิ่งกวานั้นลาสุดเมื่อเดือน ตุลาคม 2552 ที่ผานมานี้ยังพบอีกวา การใชเทคนิคการ วิเคราะหทัศนภาพโดยการสราง เมทริกซทัศนภาพ 2x2 มีวิธการที่สามารถพัฒนาไดหลากหลายวิธี ี โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําไปใชบรรยายเพือ “สรางกลยุทธทัศนภาพสําหรับธุรกิจโรงพยาบาล” ่ สรุปแลวผูเขียนไดขยายแนวคิดออกไปอีกพอสมควรโดยเฉพาะอยางยิงสิ่งที่พบในชวง 1-2 ่ ปน้คอ ีื 1. การวิเคราะหทัศนภาพ หากทํามากกวาการวิเคราะห PEST (P คือ การเมือง, E คือ เศรษฐกิจ, S คือสังคมและวัฒนธรรม, T คือเทคโนโลยี) โดยเพิ่มวิเคราะหปจจัยดานการ แขงขันหรือแรงขับ 5 อยาง (Five Forces Model) ของ Porter จะทําใหเห็นแนวโนม (Trends) ที่นาสนใจมากยิ่งขึ้น เมื่อจะสรุปแนวโนมออกเปนสิ่งทีแนนอน (Certainty) ่ และสิ่งที่ไมแนนอน (Uncertainty) 2. การที่จะหยิบสิ่งที่เปนสิ่งที่แนนอนและสิงที่ไมแนนอนเขามาแทนทัศนภาพ ่ ตองมีการ วิเคราะหเมทริกซผลกระทบกับระดับความสําคัญมากอน หากทําไดการนําไปสูเมทริกซ ทัศนภาพ 2x2 จะนาสนใจมาก 3. การทบทวนและสรางวิสัยทัศน หากการทําเพียง “SWOT Analysis” ในแบบวิธีเดิมๆ พบวากวาจะเขียนขอความวิสัยทัศนและภารกิจที่บอกภาพอนาคตที่อยากจะเปนและสิ่งที่ ตองทําทั้งปจจุบันและอนาคตหรือจุดประสงคของธุรกิจ สูการใชเทคนิคการวิเคราะห ทัศนภาพไมได ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.
  • 5. 5 อนาคตประเทศไทยมีทัศนภาพอยางไร? ความจริงหลายยุคหลายสมัยที่พดถึง “อนาคตประเทศไทย” มักจะทําอยูบนตํารา 1-2 เลม ู ของบรรดากุนซือฟากรัฐบาลที่มาจากสถาบันการศึกษา เราจึงไมเห็นอนาคตของประเทศไทยที่ชดเจนมาก ั หรืออาจจะบอกไดวา “อนาคตประเทศไทยไมไดมอะไรทีจะเปนไปไดมาตลอดชวง 10 ปที่ผานมา วนเวียน ี ่ กันอยูแครากหญา ประชานิยมและเศรษฐกิจสรางสรรค  ในปจจุบนเราจะเห็นวาการวิเคราะหเกี่ยวกับอนาคต หรือ ทัศนภาพ นันไดเขามามีบทบาท ั ้ สูงมากกวาแตกอนโดยเฉพาะในระดับโลกไดนําเทคนิคนีเ้ ขามาใชกนแพรหลายมากขึนเพราะวา ั ้ 1.อนาคตไดถูกนิยามใหมวา เปนสิ่งทีไมแนนอน เปนความสับสนวุนวาย และทํานาย ่ อนาคตไกล ๆ ไดยากมากวาแตกอน (อาจจะพูดไดชด ๆ ดัง ๆ วา บอกอะไรไกล ๆ แทบไมไดแลวดวย ั วิธีการแบบเดิม) 2.ทั้งนักกลยุทธและนักการตลาดระดับโลก ตางก็ออกมาบอกหรือชี้แนะให ประเทศและ ธุรกิจทําในเรืองของการวิเคราะหทัศนภาพ เพื่อจะได วาดภาพเรื่องราวของอนาคตที่เปนไปไดและไมหลง ่ ทางเสียเวลาไปกับเครื่องและวิธีการแบบเดิม ๆ ที่ไมอาจบอกภาพอนาคตไดอีกตอไป 3.อนาคตประเทศไทยแบบที่เรานิยมทํากัน คือ การมาระดมความคิดจากตัวแทนทุก ๆ สวนของประเทศ พรอมการนําเสนองานวิจัย-ศึกษาของนักวิชาการทั้งอดีต-ปจจุบัน-และอนาคต ในรูปแบบ ที่เราคุนเคย เราจะพบอนาคตแบบที่ผูเขียนบอกไวขางตน รากหญา ประชานิยม ยาเสพติด เมาไมขับ เศรษฐกิจสรางสรรค ลําพังแค “ไขหวัดสายพันธุใหม 2009......ยุทธศาสตรการรับมือรอบแรกยังมือไม ปนปวน นีไดเตือนกันวาจะเกิด การระบาดรอบ 2 ทั้งๆ ที่ อีก 2 เดือน ป 2010 จะมาถึงในไมชายิ่งเขาหนา ่  หนาวจะระบาดเร็วกวาหนารอน เหตุการณนี้บอกไดชัดเจนถึง การใชวิธีการคิดและเครื่องมือแบบที่เคยชิน สิ่งเหลานี้ใชหรือเปลาไมรในสิ่งที่เรียกวา อนาคตประเทศไทย ลองมาวิเคราะหใหมถึง ู “ทัศนภาพใหมของประเทศไทย” นาจะทําใหหลุดวังวนขางตนก็ไดครับใครจะไปรูจริงมั๊ย!! ดร.ดนัย เทียนพุฒ –การวิเคราะห SWOT และการวางแผนทัศนภาพ Copyright 2009 : DNT Consultants Co.,Ltd.