SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง 
เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน 
โดย 
1. นางสาวดวงใจ กันยาประสิทธิ์ 
2. นายนรากร แก้วพิมพ์ 
3. นายกิตติศักดิ์ คายวน 
ครูที่ปรึกษา 
1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
2. นางรัชนู บัวพันธ์ 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ 
ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 
เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน 2554 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน 
โดย 
1. นางสาวดวงใจ กันยาประสิทธิ์ 
2. นายนรากร แก้วพิมพ์ 
3. นายกิตติศักดิ์ คายวน 
ครูที่ปรึกษา 
3. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 
4. นางรัชนู บัวพันธ์ 
โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ 
บทคัดย่อ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน เป็นโครงงานประเภททดลอง 
มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทาถ่านจากผลมะตูมโดยใช้ดินเป็นตัวประสาน นาพืชสมุนไพรใน ท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน และเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่ง จากมะตูม กับถ่านไม้ที่ใช้อยู่ตามบ้านทั่วไป การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 หาอัตราส่วนระหว่างผงมะตูมสดกับดินเหนียวซึ่งเป็นตัวประสานให้ได้ถ่านมะตูมอัดแท่ง และหา อัตราส่วนระหว่างผงถ่านมะตูมกับดินเหนียว ตอนที่ 2 เปรียบเทียบพลังงานระหว่างถ่านอัดแท่งจาก มะตูมทั้งสองแบบ กับถ่านไม้ที่ใช้ตามบ้าน ผลการทดลอง พบว่า การผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวใน อัตราส่วน 2:1 จะได้ถ่านมะตูมอัดแท่งที่ติดไฟง่าย มีควันมาก และหม้อต้มน้าดาเล็กน้อย การผสม ผงถ่านมะตูมกับดินเหนียวในอัตราส่วน 2:1 จะได้ถ่านมะตูมอัดแท่งที่ติดไฟง่าย มีควันน้อยและหม้อ ต้มน้าไม่ดา ส่วนการเปรียบเทียบพลังงานถ่านอัดแท่งจากผงถ่านมะตูมเผา ให้พลังงานมากกว่า ถ่าน อัดแท่งจากผงมะตูมสด แต่น้อยกว่า ถ่านไม้เพียงเล็กน้อย แสดงให้เห็นว่า ถ่านอัดแท่งจากมะตูม ใช้ เป็นเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจากถ่านไม้ทั่วไปได้ และสามารถลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานได้ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
กิตติกรรมประกาศ 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน จัดทาขึ้นศึกษาวิธีการทาถ่าน จากผลมะตูมโดยใช้ดินเป็นตัวประสาน นาพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ลดปัญหา การขาดแคลนพลังงาน และเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่ง จากมะตูม กับถ่านไม้ 
คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดในการทาถ่านพลังงานทดแทนไว้ใช้เอง หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะ เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 
ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นายสายันต์ คง สุข รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทา โครงงาน ในครั้งนี้ 
ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางรัชนู บัวพันธ์ ที่ให้คาปรึกษา แนะนา 
ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ 
คณะผู้จัดทาโครงงาน
บทที่ 1 
บทนา 
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยกาลังประสบปัญหาว่าพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน 
มีจานวนลดน้อยลง เพราะเกิดจากการที่มีประชากรเพิ่มมากขึ้น และมีเทคโนโลยีมากขึ้นทาให้ ประชากรมีความต้องการในการใช้พลังงานมีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน และการทาลายทรัพยากรก็มีเพิ่มมากขึ้น เพราะพลังงานต่างๆ ที่ใช้กันอยู่ต้องนาทรัพยากรต่างๆ มาผลิต จึงเป็นเหตุให้ทรัพยากรเหล่านี้ลงน้อยลง เพราะในการผลิตพลังงานแต่ละครั้ง ทรัพยากรที่ใช้ผลิตเมื่อ ใช้ผลิตแล้วจะหมดไป บางตัวก็สามารถสร้างขึ้นมากทดแทนได้แต่ก็มีส่วนน้อยที่สามารถสร้างขึ้นมา ทดแทนได้ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศที่ตกต่าประเทศไทยยังต้องเสียเงิน จานวนมากมายในการนาเข้าพลังงาน อาทิเช่น น้ามันจากต่างประเทศ ซึ่งน้ามันเป็นหนึ่งในทรัพยากร ที่มีความจาเป็นต่อมนุษย์ และการพัฒนาประเทศ ดังนั้นเพื่อลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานที่ใกล้จะ หมดไปในอนาคต คณะผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดว่า น่าจะหาวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการนา สิ่งที่เหลือใช้มาประยุกต์เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานความร้อน โดยจัดทาให้อยู่ในรูปของถ่านอัดแท่ง ซึ่งผู้จัดทาโครงงานได้นาผลมะตูมซึ่งเป็นผลไม้สมุนไพรในหมู่บ้านที่เหลือจากการต้มน้าหวาน มาทาเป็นถ่านอัดแท่ง เพื่อใช้ในการหุงต้มอาหาร แทนถ่านไม้ที่มีราคาแพงมากในปัจจุบัน ซึ่งนับว่า เป็นการใช้พลังงานทดแทนอีกทางเลือกหนึ่งในอนาคต 
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 
1. เพื่อศึกษาวิธีการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง 
2. เพื่อนาสิ่งของที่เหลือใช้กลับมาใช้ใหม่อย่างคุ้มค่า 
3. เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน 
4. เปรียบเทียบพลังงานถ่านอัดแท่งกับถ่านไม้ 
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 
1. ศึกษาการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง จากผงมะตูมสดตากแห้ง และผงถ่านมะตูมที่ได้จาก การเผาถ่าน 
2. การทาถ่านโดยใช้วิธีการตากแห้ง และเผาให้เป็นถ่าน แล้วนามาบดให้ละเอียดผสมกับ ดินเหนียวอัดให้แน่นโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นพิมพ์สาหรับอัดแท่ง ตัดถ่านให้มี ความหนา 2 เซนติเมตร 
3. การทาโครงงานนี้ดาเนินการทดลองในบริเวณสนาม โรงเรียนเมืองราดวิทยาคมและ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
1.4 สมมติฐานของการทดลอง 
ผงมะตูมสดและผงมะตูมเผา น่าจะนามาทาถ่านอัดแท่ง และใช้เป็นพลังงานทดแทน ถ่านไม้ได้ 
1.5 การกาหนดตัวแปร 
ตัวแปรต้น คือ ถ่านอัดแท่งจากมะตูม 
ตัวแปรตาม คือ พลังงานความร้อนที่ได้จากถ่านอัดแท่งมะตูม 
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณถ่านจากมะตูม ปริมาณถ่านไม้ ระยะเวลาการวัดอุณหภูมิ ปริมาณน้า ขนาดของเตา ชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ต้มน้า 
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1. ได้พลังงานเชื้อเพลิงชนิดใหม่ 
2. ช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน 
3. ได้ถ่านอัดแท่งจากมะตูม ทดแทนพลังงาน
บทที่ 2 
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 
พลังงานทดแทนโดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่มีอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติและสามารถ มีทดแทนได้อย่างไม่จากัด (เมื่อเทียบกับพลังงานหลักในปัจจุบัน เช่น น้ามัน หรือ ถ่านหิน ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สาคัญเช่น พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานแสงอาทิตย์ ไบโอฟิล พลังงานน้าขึ้นน้าลง พลังงานคลื่น และความร้อนจากใต้ผิวโลก พลังงานจากกระบวนการ ชีวภาพเช่น บ่อก๊าซชีวภาพ เป็นต้น 
พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมา ใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้า และไฮโดรเจน เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะศักยภาพ และสถานภาพการใช้ประโยชน์ของพลังงานทดแทน การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และ 
มีความเหมาะสมทั้งทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม 
พลังงานทางเลือกในยุคน้ามันแพง พูดถึงเรื่องพลังงานทางด้านเชื้อเพลิง “ ถ่าน” ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ในครัวเรือน ในการประกอบอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ฯลฯ โดยเฉพาะอาชีพ ค้าขายประเภทดังกล่าว เช่น ไก่ย่าง เป็นต้น ที่ต้องใช้ถ่านเป็นประจา เมื่อหลายปีก่อน คนเราจะ คุ้นเคยและเคยชินกับถ่านไม้เท่านั้น ซึ่งได้จากการนาแท่งฟื้นไม้ มาเผาเป็นถ่าน แต่ด้วยพระ อัจฉริยภาพอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเล็งเห็นเกี่ยวกับการขาด แคลนไม้ในอนาคต รวมทั้งพลังงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านน้ามัน พระองค์ทรงมี พระราชดาริ ให้วิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนน้ามันตั้งแต่ราคาน้ามันยังถูกๆ แต่ด้วยสายพระ เนตรอันยาวไกลของพระองค์ท่าน จึงเกิดโครงการในพระราชดาริต่างๆมากมายในปัจจุบัน ใน ด้านการผลิตถ่าน พระองค์ทรงมีพระราชดาริในการนาวัสดุเหลือใช้ เช่น ผักตบชวา มาอัดเป็น แท่งเชื้อเพลิง ซึ่งเรียกว่า “เชื้อเพลิงเขียว” และถ่านจากแกลบ ซึ่งปัจจุบันโครงการส่วนพระองค์ ในสวนจิตรดา ก็มีโครงการเกี่ยวกับการผลิตถ่านอัดแท่ง ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเยี่ยมชม เพื่อจะได้นาความรู้ไปพัฒนาสาหรับการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเองเพื่อความเป็นอยู่ ที่พอเพียงต่อไป
ประเภทของพลังงานทดแทน 
ในปัจจุบันเรื่องพลังงานเป็นปัญหาใหญ่ของโลก และนับวันจะมีผลกระทบรุนแรง 
ต่อมวลมนุษยชาติมากขึ้นทุกที การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยก็เป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่ให้ ความสาคัญ ในการร่วมหาหนทางแก้ไข ทาการศึกษา ค้นคว้า สารวจ ทดลอง ติดตามเทคโนโลยี อย่างจริงจังและต่อเนื่องมาโดยตลอด เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการนาพลังงานทดแทนและเทคโนโลยี ใหม่ๆในด้านพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในประเทศไทยต่อไป โดยคานึงถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ซึ่งพอจะจาแนกประเภทของพลังงานทดแทนได้ดังนี้ 
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้เป็นต้นกาเนิด 
ของวัฏจักรของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าและธาตุต่างๆ เช่น คาร์บอน พลังงาน แสงอาทิตย์จัดเป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ อีกทั้งเกิดใหม่ได้ไม่สิ้นสุด พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันของ บรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก พลังงานความร้อนใต้พิภพ น้าร้อนที่ถูกนาไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าแล้วนั้น แม้อุณหภูมิจะลดลง บ้าง แต่ก็ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการอบแห้ง และใช้ในห้องเย็นสาหรับเก็บรักษาพืชผลทางการ เกษตรได้ พลังงานชีวมวล เชื้อเพลิงที่มาจากชีวะ หรือสิ่งมีชีวิตเช่น ไม้ฟืน แกลบ กากอ้อย เศษไม้ เศษ หญ้า เศษเหลือทิ้งจากการเกษตร เหล่านี้ใช้เผาให้ความร้อนได้ พลังงานน้า เป็นรูปแบบหนึ่งการสร้างกาลังโดยการอาศัยพลังงานของน้าที่เคลื่อนที่ ปัจจุบันนี้ พลังงานน้าส่วนมากจะถูกใช้เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า พลังงานจากขยะ พลังงานจากขยะจากบ้านเรือนและกิจการต่างๆ เป็นแหล่งพลังงานที่มี ศักยภาพสูง ขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพ เช่น กระดาษ เศษอาหาร และไม้ ซึ่งสามารถใช้เป็น เชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงได้ 
การเผาถ่าน การเผาถ่านโดยใช้ถังน้ามัน 200 ลิตร เป็นวิธีการเผาที่ง่ายที่สุดวิธีหนึ่ง และได้ผลเป็นที่ น่าพอใจ การเผาถ่านในแบบถังแดงในแต่ละครั้งจะได้ถ่านประมาณ 15 กก. และเก็บน้าควันไม้ได้ ถึง 5 ลิตร การติดตั้งสามารถทาได้ดังนี้ 
1.ตัดฝาถังด้านบน เพื่อใช้เป็นส่วนของฝาเตาที่สามารถเปิดปิดได้ เพื่อนาไม้เข้าในเตาและนา ถ่านออกมาจากเตา 2.เจาะรูในส่วนที่เป็นฝาถัง ขนาดประมาณ 20x25 cm. เพื่อทาหน้าที่เป็นปากเตา ใช้สาหรับ ปล่อยให้อากาศเข้า และเจาะรูด้านก้นถังใหม่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12 ซม. เพื่อที่จะสามารถติดตั้ง สามทางปูนขนาด 4 นิ้ว ซึ่งจะใช้ต่อกับท่อใยหินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 1 เมตร
3. ขุดหลุมลึกขนาด 1/3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของถัง เพื่อติดตั้งถังลงในหลุมตามแนวนอน และติดตั้งปล่องควัน และกลบตัวถังด้วยดินหรือทรายเพื่อทาหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน 4. ตัดไม้ที่จะใช้เผาถ่าน มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. ยาวประมาณ 80 ซม. บรรจุใส่ถัง ในแนวนอนตามยาวของถังไม้ที่มีขนาดใหญ่ก็ควรจะผ่าเสียก่อน 5. ปิดฝาถังให้แน่นหนาอุดรอยต่าง ๆ ด้วยดินเหนียวไม่ให้เป็นช่องทางให้อากาศเข้า ได้ นอกจากทางปากเตา 6. จุดไฟที่ปากเตาเพื่อเริ่มต้นเผาถ่าน ระมัดระวังตาแหน่งของกองไฟหน้าเตาไม่ให้เข้าใกล้ เตาจนเกินไป ตาแหน่งที่เหมาะสมคือประมาณ 1 ฟุต ปล่อยให้ไอร้อนเท่านั้นที่ไหลเข้าไปในเตา 7. ดักเก็บน้าส้มควันไม้ทางปล่องที่ควันออก โดยสังเกตจากสีของควัน 8. ควันที่เกิดจากการเผาถ่าน จะแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะได้แก่ - ควันสีขาว จะเป็นช่วงการระเหยของไอน้าจากภายในเนื้อไม้ - อุณหภูมิที่ปากปล่องช่วงนี้อยู่ระหว่าง 82 – 120 องศาเซลเซียส แต่การดักเก็บน้าส้ม ควันไม้ - กาหนดให้เก็บในช่วงอุณหภูมิ 82 –120 องศาเซลเซียส ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย จากสารทาร์ (Tar) 9. เมื่อเวลาถ่านสุกให้สังเกตว่าไม่มีควัน ออกมาจากปากปล่องอีก ให้ทาการอุดปากเตาและ ปากปล่องด้วยดินเหนียวรวมทั้งรอยรั่วอื่น ๆ จนควันไม่สามารถเล็ดลอดออกมาได้โดยเด็ดขาด 10. ทิ้งเตาไว้ 1 คืน เตาจะเย็นลงจนสามารถเปิดเตานาถ่านออกมาได้ในเช้าของวันถัดไป 11. ปกติการเผาถ่านด้วยเตาถังแดงนี้จะใช้เวลาประมาณ 6 – 8 ชั่วโมง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับถ่านอัดแท่ง 
เมื่อไม้ได้รับความร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงถึง 300?C จะลุกไหม้จนเกิดก๊าซ เกิดถ่าน ซึ่งถ้าเป็นการเผาไหม้ในอากาศเปิด การเผาไหม้จะดาเนินไปจนถึงที่สุด กล่าวคือ จนกระทั่งเหลือแต่ ขี้เถ้า แต่ถ้าถูกเผาในสภาพอากาศปิดหรือจากัดอากาศ ไม้จะเปลี่ยนสภาพกลายเป็นถ่าน ซึ่งเป็น หลักการเบื้องต้นที่จะอธิบายได้ง่าย ๆ ว่าไม้เป็นถ่านได้อย่างไร กรรมวิธีการผลิต หลักการผลิตถ่านอัดแท่งมี 2 วิธี คือ 
1. การอัดร้อน เป็นการอัดวัสดุโดยที่วัสดุไม่จาเป็นต้องเป็นถ่านมาก่อน เมื่ออัด 
เป็นแท่งเสร็จแล้ว ค่อยนาเข้าเตาให้เป็นถ่านอีกครั้งหนึ่ง วัสดุที่สามารถผลิตโดยวิธีการอัดร้อน ขณะนี้มี 2 ชนิด คือ แกลบ และขี้เลื้อย เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโดนอัดด้วยความร้อน จะมีสารในเนื้อของวัสดุ ยึดตัวมันเอง จึงทาให้สามารถยึดเกาะเป็นแท่งได้ โดยที่ไม่ต้องใช้ตัวประสาน โดยที่เครื่องอัดต้องเป็น เครื่องอัดชนิดอัดร้อน ซึ่งราคาค่อนข้างสูง 
2. การอัดเย็น เป็นการอัดวัสดุที่เผาถ่านมาแล้ว แล้วนามาผสมกับแป้งมันหรือวัสดุ
ประสานอื่นๆ โดยทั่วไปจะเป็นแป้งมัน ถ้าวัสดุใดมีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว เมื่อผ่านการเผาแล้ว ต้องมีเครื่องบดให้ละเอียดก่อน แล้วค่อยนามาผสมกับแป้งมันและนาในอัตราส่วนตามที่ต้องการ วัสดุที่ใช้ในการผลิตถ่านอัดแท่ง 
วัตถุดิบในการผลิตถ่านอัดแท่ง มีหลากหลายชนิด เช่น ซังข้าวโพด กะลามะพร้าว 
แกลบ ขี้เลื้อย ฟางข้าว ชานอ้อย ต้นมันสาปะหลัง เหง้ามันสาปะหลัง หญ้าคา หญ้าขจรจบ ไมยราบ ผักตบชวา ใบจามจุรี กะลาปาล์ม ต้นฝ้าย ต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากทานตะวัน เปลือกทุเรียน เปลือก มะตูม ฝักคูณ เศษถ่านหุงต้มที่เหลือใช้จากการใช้แล้ว ฯลฯ (ข้อมูลจาก กรมพัฒนาและการส่งเสริม พลังงาน,2535) 
ส่วนผสมของถ่านอัดแท่ง 
ผงถ่าน 10 กิโลกรัม 
แป้งมัน หรือดินเหนียว 0.5 กิโลกรัม 
น้า 3 ลิตร 
(ปริมาณน้าสามารถปรับได้ ขึ้นอยู่กับความชื้นของวัสดุ) 
เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 
- เครื่องบด (สาหรับวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ) 
- เครื่องผสม สามารถใช้เครื่องผสมทั่วไปได้ หรือผสมมือก็ได้ 
- เครื่องอัดแท่งถ่าน ถือเป็นหัวใจหลักมี 2 ชนิด คือ แบบอัดร้อนและแบบอัดเย็น 
คุณสมบัติของถ่านอัดแท่ง 
- ให้ความร้อนสูง เนื่องจากเป็นถ่านที่ได้รับการเผาไหม้เต็มที่ 
- ปลอดภัยไม่มีสารตกค้างและไม่ทาลายสุขภาพ เพราะถ่านได้ถูกเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิ 
เกิน 800 องศา 
- ทนทานสามารถใช้งานได้นานกว่าถ่านไม้ธรรมดาถึง 2.5 – 3 เท่า 
- ประหยัดเพราะใช้ได้นาน ไม่แตก และไม่ดับเมื่อติดแล้ว ทาให้ไม่มีการเสียเปล่า 
เนื่องจากถ่านจะเผาไหม้จนกว่าจะกลายเป็นขี้เถ้า 
- ไม่แตกประทุอย่างถ่านไม้ทั่วไป 
- ไม่มีควัน เนื่องจากความชื้นน้อยมาก 
- ไม่มีกลิ่น เพราะผลิตจากวัสดุธรรมชาติ 100% ไม่ผสมสารเคมีใดๆ 
- ไม่ดับกลางคัน แม้ว่าจะใช้ในที่ที่อากาศถ่ายเทน้อย ทาให้ไม่ต้องเปลี่ยนถ่านบ่อยๆ 
- ให้ความร้อนสูงสม่าเสมอ ไม่วูบวาบเนื่องจากความหนาแน่นของถ่านไม่เท่ากัน
การพัฒนาส่วนผสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต 
ถึงแม้ว่า ถ่านอัดแท่งในปัจจุบัน อาจยังมองเป็นเรื่องไกลตัวสาหรับหลายคน เพราะ 
ส่วนใหญ่นิยมใช้แก๊สหุงต้ม แต่ในอนาคตไม่ไกลข้างหน้า ถ้าวันหนึ่งไม้หมดหรือไม่เพียงพอ ปัญหา จะตามมาอย่างแน่นอน ดังนั้นเพื่อเป็นการนาวัสดุที่เหลือใช้ให้กลับมามีประโยชน์และคุณค่าอีกครั้ง และเพื่อนาเสนอใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน เราควรตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างรู้ คุณค่า และหาพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนพลังงานหลักที่มีราคาสูง “ถ่านอัดแท่ง” จึงน่าจะเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้เครื่องจักรจะมีราคาสูง แต่ในปัจจุบันมีงานวิจัยและพัฒนาด้าน เครื่องอัดถ่านสาหรับชุมชน รวมทั้งพัฒนาด้านส่วนผสมในการลดต้นทุน ซึ่งก็น่าจะทาให้ถ่านอัดแท่ง กลับมามีความน่าสนใจในการประกอบอาชีพอยู่ไม่น้อย ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะลงมือทาก่อนเท่านั้นเอง 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aegle marmelos (L.) Correa ex Roxb. วงศ์ : Rutaceae ชื่ออื่น : มะปิน (ภาคเหนือ) กระทันตาเถร ตุ่มเต้ง ตูม (ปัตตานี) มะปีส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10 - 15 เมตร เปลือกต้นสีเทา แตกเป็นร่องตามยาว ใบ เป็นใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ออกใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยใบปลาย รูปไข่ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-14 ซม. ปลายใบ แหลม แผ่นใบบางเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ก้านใบย่อยใบกว่าใบที่คู่กัน ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและ ปลายกิ่ง กลีบดอกมี 4 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับยาว ด้านอ่อน ด้านในสีขาว นวล มีน้าเมือก มีกลิ่นหอม ผล รูปรีกลมหรือยาว ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา แข็ง ผลอ่อนสีเขียว ผลสุก เป็นสีเหลือง เนื้อในสีส้มปนเหลือง นิ่ม เมล็ดมีจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ผลโตเต็มที่ ผลแก่จัด ผลสุก ผลอ่อน ใบ ราก
สรรพคุณ : ผลโตเต็มที่ - ฝานเป็นชิ้นบางๆ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงรับประทาน แก้ท้องเดิน ท้องเสีย ท้องร่วง โรคลาไส้เรื้อรังใน ผลแก่จัดแต่ยังไม่สุก - น้ามาเชื่อมรับประทานต่างขนมหวาน จะมีกลิ่นหอม และรสชวน รับประทาน บารุงกาลัง รักษา 
เปลือกของผล – มีลักษณะแข็งคล้ายแก่นไม้ 
ผลสุก - รับประทานต่างผลไม้ เป็นยาระบายท้อง และยาประจาธาตุของผู้สูงอายุ ใบ - ใส่แกงบวช เพื่อแต่งกลิ่น ราก - แก้หืด หอบ แก้ไอ แก้ไข้ ขับลม แก้มุตกิต 
มะตูม (อังกฤษ: Bael) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos เป็นไม้ผลยืนต้นพื้นเมืองใน พื้นที่ป่าดิบแล้วบนเนินเขาและที่ราบในอินเดียตอนกลางและตอนใต้ พม่า ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล เวียดนาม ลาว และกัมพูชา มีการนาไปเพาะปลูกทั่วไปในอินเดีย รวมทั้งในศรีลังกา แหลมมลายู ตอนเหนือ เกาะชวา และฟิลิปปินส์ จัดเป็นพืชเพียงสปีชีส์เดียวที่อยู่ในจีนัส Aegle ลาต้นความสูง 18 เมตร มีหนามแหลมอยู่ทั่วไป ดอกมีกลิ่นหอม ผลมีเปลือกแข็งเรียบและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-15 เซนติเมตร บางผลมีเปลือกแข็งมากจนต้องกระเทาะเปลือกออกโดยใช้ค้อนทุบ เนื้อผลเหนียวข้น มีกลิ่น หอม และมีเมล็ดจานวนมาก โดยเมล็ดจะมีขนหนาปกคลุม 
ผลมะตูมใช้รับประทานได้ทั้งแบบสดและแบบแห้ง น้าจากผลเมื่อนาไปกรองและเติมน้าตาล จะได้เครื่องดื่มคล้ายน้ามะนาว และยังใช้ในการทา Sharbat ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่ได้จากการนาเนื้อผล มะตูมไปผสมกับมะขาม ใบอ่อนและยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสลัด นอกจากนี้ ผลยังใช้ใน พิธีกรรมทางศาสนา และใช้เป็นยารักษาอาการท้องร่วง ท้องเดิน โรคลาไส้ ตาแห้งไข้หวัดธรรมดา และยังใช้รักษาอาการท้องผูกเรื้อรังได้เป็นอย่างดี 
ต้นมะตูมเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจาจังหวัดชัยนาท
บทที่ 3 
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 
วัสดุอุปกรณ์ 
1. มะตูม 
2. ดินเหนียว 
3. น้า 
4. ครกหิน 
5. กะละมัง 
6. เครื่องชั่ง 
7. หม้อต้มน้า 
8. เทอร์โมมิเตอร์ 
9. เตาไฟ /ตะเกียงแอลกอฮอลล์ 
วิธีทดลอง 
ตอนที่ 1 การหาอัตราส่วนของผงมะตูมสดและดินเหนียว 
1. นามะตูมที่เหลือจากการต้มน้าหวานหรือน้ามะตูม มาโขลกให้ละเอียด 
2. นามะตูมที่โขลกแล้วไปตากแดดให้แห้ง จากนั้นนามาโขลกให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่ง 
3. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 
4. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 250 กรัม ) 
5. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1: 2 (ผงมะตูม 250 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 
6. นาส่วนผสมที่ได้ไปอัดเป็นแท่งถ่านโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นแบบในการอัดแท่ง แล้วตัด แท่งถ่านให้เป็นแท่งยาว 2 เซนติเมตร 
7. นาแท่งถ่านไปตากให้แห้ง ทดสอบการติดไฟ สังเกตลักษณะของแท่งถ่านและการติดไฟ 
การหาอัตราส่วนของผงมะตูมเผากับดินเหนียว 
1. นามะตูมที่เหลือจากการต้มน้าหวานหรือน้ามะตูม ไปเผาให้เป็นถ่าน 
2. นาถ่านมะตูมโขลกให้ละเอียดเป็นผง 
3. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม )
4. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 250 กรัม ) 
5. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1: 2 (ผงมะตูม 250 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 
6. นาส่วนผสมที่ได้ไปอัดเป็นแท่งถ่านโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นแบบในการอัดแท่ง แล้วตัด แท่งถ่านให้เป็นแท่งยาว 2 เซนติเมตร 
7. นาแท่งถ่านไปตากให้แห้ง สังเกตลักษณะของแท่งถ่าน และทดสอบการติดไฟ 
8. บันทึกผลการทดลอง 
ตอนที่ 2 เปรียบเทียบหาความร้อนระหว่างถ่านมะตูมอัดแท่งทั้ง 2 ชนิด กับถ่านไม้ 
1. นาถ่านอัดแท่งจากผงมะตูมสด ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา และถ่านไม้ ปริมาณเท่ากัน 
( 500 กรัม ) มาก่อไฟ 
2. สังเกตการณ์ติดไฟของถ่านทั้ง 3 ชนิด บันทึกผล 
3. ตวงน้าให้มีปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่หม้อหรือ บีกเกอร์แล้วนาไปต้ม โดยใช้ถ่านทั้ง 3 ชนิด วัดอุณหภูมิขณะต้มทุก ๆ 5 นาที จนครบเวลา 30 นาที 
แล้วบันทึกผลการทดลอง 
4. ทาการทดลอง 3 ครั้ง 
5. คานวณหาพลังงานที่ได้จากการใช้ถ่านทั้ง 3 ชนิด 
6. เปรียบเทียบพลังงานที่ได้จากถ่านทั้ง 3 ชนิด 
การรวบรวมข้อมูล 
1.ศึกษาค้นคว้าเอกสารเกี่ยวกับการทาถ่านอัดแท่ง 
2.สอบถามเทคนิควิธีการเผาถ่าน เพิ่มเติมจากผู้มีประสบการณ์ 
การวิเคราะห์ข้อมูล 
ใช้ค่าเฉลี่ย X 
สูตรการหาปริมาณความร้อน Q = mc t 
Q = ปริมาณความร้อน มีหน่วยเป็นแคลอรี 
m = มวลของน้ามีหน่วยเป็นกรัม 
t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป (t1-t2) 
c = ความจุความร้อนจาเพาะของน้า
บทที่ 4 
ผลการทดลอง 
ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 การหาอัตราส่วนของผงมะตูมกับดินเหนียว 
วัสดุที่ใช้ 
อัตราส่วน 
ลักษณะที่สังเกต 
ผงมะตูมสด 
ดินเหนียว 
1:1 
ก้อนถ่านมีสีน้าตาลดา เกาะติดกันหลวม ๆ มีรอย แตกเล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ 
ติดไฟยาก มีควันมาก มีไฟลุกไหม้ระยะหนึ่ง 
2:1 
ก้อนถ่านมีสีน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ 
มีรอยแตกเล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ 
ติดไฟง่าย มีควันมาก มีไฟลุกไหม้ระยะหนึ่ง 
1:2 
ก้อนถ่านมีสีน้าตาล เกาะติดกันเป็นเนื้อเดียว 
ไม่มีรอยแตก เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ 
ติดไฟยาก 
ผงมะตูมเผา 
ดินเหนียว 
1:1 
ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก 
มีควันเล็กน้อย 
2:1 
ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟง่าย 
มีควันเล็กน้อย 
1:2 
ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก 
จากการทดลอง เมื่อผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่านอัดแท่ง มีลักษณะสีน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ เมื่อนาไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟยาก เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ ตากแห้งมีรอยแตกมากกว่า อัตราส่วน 1:1 ติดไฟง่าย และเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีน้าตาลเกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้ง ไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก เมื่อผสมผงมะตูมเผากับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่านอัดแท่งที่มี ลักษณะสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อนาไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟยาก มีควันน้อย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย มีควันน้อยและเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก
ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผาและถ่านไม้ 
ชนิด 
ของถ่าน 
ครั้งที่ 
ทดล 
อง 
อุณหภูมิ 
เริ่มต้น( C) 
อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( C) พลังงาน 
ที่ได้รับ 
(จูล) 
5 
นาที 
10 
นาที 
15 
นาที 
20 
นาที 
25 
นาที 
30 
นาที 
ถ่านอัดแท่ง 
ผงมะตูมสด 
1 25 30 31.5 34 35 40 45 
2 25 35 52 80 100 100 100 
3 25 72 100 100 100 100 100 
เฉลี่ย 25 45.66 61.16 71.33 78.33 80 81.66 47.37 x 3 10 
ถ่านอัดแท่ง 
ผงมะตูมเผา 
1 25 35 39 44 47 49 52 
2 25 52 78 90 100 100 100 
3 25 72 90 100 100 100 100 
เฉลี่ย 25 53 69 78 82.33 83 84 49.32 x 3 10 
ถ่านไม้ 
1 25 29 35 40 46 53 55 
2 25 35 50 62 73 91 100 
3 25 72 100 100 100 100 100 
เฉลี่ย 25 45.33 61.66 67.33 73 81.33 85 50.16 x 3 10 
กราฟแสดงการเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านทั้ง 3 ชนิด 
45.5 
46 
46.5 
47 
47.5 
48 
48.5 
49 
49.5 
50 
50.5 
พลังงานที่ได้รับ(จูล) 
ถ่านอันแท่งผงมะตูมสด 
ถ่านอันแท่งผงมะตูมเผา 
ถ่านไม้
จากผลการทดลอง เมื่อนาน้ามาต้มด้วยถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที 
อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไป 45.66 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.16 องศา 
เซลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 71.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 
78.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 80 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิ 
เปลี่ยนไปเป็น 81.66 องศาเซลเซียส และถ่านอัดแท่งผงมะตูม เวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของ 
น้า เปลี่ยนไปเป็น 53 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 69 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 
อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 78 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 82.33 องศาเซลเซียส 
นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 83 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 84 องศา 
เซลเซียส ส่วนถ่านไม้เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 45.33 นาทีที่ 10 
อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.66 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 67.33 องศา 
เซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 73 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 
81.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 85 องศาเซลเซียส และเมื่อนา มาคา นวณหา 
พลังงานที่ได้รับพบว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสดให้พลังงาน 47.37 x 3 10 จูล ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา 
ให้พลังงาน 49.32 x 3 10 จูล ถ่านไม้ให้พลังงาน 50.16 x 3 10 จูล ตามลา ดับ
บทที่ 5 
สรุปผลการทดลอง 
จากผลการทดลองตอนที่ 1 เมื่อผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ 
ถ่านอัดแท่งที่มีลักษณะสีน้า ตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ เมื่อนา ไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย 
ติดไฟง่าย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะน้า ตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ ตากแห้งมีรอยแตก 
มากกว่าอัตราส่วน 1:1 ติดไฟง่าย และเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีน้า ตาลเกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน 
ตากแห้งไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก c]tเมื่อผสมผงมะตูมเผากับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่าน 
อัดแท่งที่มีลักษณะสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อนา ไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย 
มีควันน้อย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งมีรอยแตกเล็กน้อย 
ติดไฟง่าย มีควันน้อยและเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งไม่มีรอย 
แตก ติดไฟยาก แสดงว่าการผสมผงมะตูมสดและผงมะตูมเผา กับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 จะได้ 
ถ่านอัดแท่งที่มีคุณสมบัติติดไฟง่าย ควันน้อย ให้พลังงานสูง 
จากผลการทดลองตอนที่ 2 เมื่อนา น้า มาต้มด้วยถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด เมื่อเวลาผ่าน 
ไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไป 45.66 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 
61.16 องศาเซลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 71.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิ 
เปลี่ยนไปเป็น 78.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 80 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 
อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 81.66 องศาเซลเซียส และถ่านอัดแท่งผงมะตูม เวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิ 
เฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 53 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 69 องศาเซลลเซียส 
นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 78 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 82.33 องศา 
เซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 83 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 84 
องศาเซลเซียส ส่วนถ่านไม้เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 45.33 นาทีที่ 
10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.66 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 67.33 องศา 
เซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 73 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 
81.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 85 องศาเซลเซียส และเมื่อนา มาคา นวณหา 
พลังงานที่ได้รับพบว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสดให้พลังงาน 47.37 x 3 10 จูล ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา 
ให้พลังงาน 49.32 x 3 10 จูล ถ่านไม้ให้พลังงาน 50.16 x 3 10 จูล ตามลา ดับ 
แสดงว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผาให้พลังงานมากกว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด แต่น้อยกว่า 
ถ่านไม้เล็กน้อย นั่นคือผงมะตูมสดและผงมะตูมเผาสามารถนา มาทา ถ่านมะตูมอัดแท่ง ทดแทนพลังงาน 
จากถ่านไม้ได้ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
บรรณานุกรม 
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. 
เอกสารอัดสาเนา, 2548. 
จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. 
เอกสารอัดสาเนา, 2552. 
สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา./2554. 
http://www.google.co.th/
ภาคผนวก
ขั้นตอนการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง 
โขลกมะตูมให้ละเอียด ตากให้แห้ง 
โขลกมะตูมตากแห้งให้ละเอียด 
ชั่งดินและผงมะตูมผสมให้เข้ากัน
กระบอกไม้ไผ่สาหรับอัดแท่งถ่าน อัดแท่งถ่านมะตูม 
ลักษณะของถ่านมะตูมอัดแท่ง 
ทดสอบการติดไฟของถ่าน ทดสอบการให้พลังงานของถ่าน

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1

ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีKrittamook Sansumdang
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือfreelance
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8'Fixation Tar
 
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดKlangpanya
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาวChatika Ruankaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันSukun khongam
 

Similar to โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1 (20)

ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
Alternative energy
Alternative energyAlternative energy
Alternative energy
 
Com
ComCom
Com
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8งานคู่ 2 8
งานคู่ 2 8
 
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 

More from Chok Ke

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3Chok Ke
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4Chok Ke
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบChok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1Chok Ke
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก ObecChok Ke
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10Chok Ke
 

More from Chok Ke (20)

Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
Obec awords arb1 57  ล่าสุด3Obec awords arb1 57  ล่าสุด3
Obec awords arb1 57 ล่าสุด3
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
นำเสนอวิทยานิพนธ์ค้อ4
 
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบนำเสนอครูผู้สอนดีเด่น  ครูอาบ
นำเสนอครูผู้สอนดีเด่น ครูอาบ
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1นำเสนอ  คุรุสดุดี  ครูอาบ58 ok1
นำเสนอ คุรุสดุดี ครูอาบ58 ok1
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
597 02
597 02597 02
597 02
 
วพ.04
วพ.04วพ.04
วพ.04
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ปก Obec
ปก Obecปก Obec
ปก Obec
 
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
ศูนย์สำรอง เกมอักษรสลับ ชุดการสอนที่ 10
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 10
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1

  • 1. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน โดย 1. นางสาวดวงใจ กันยาประสิทธิ์ 2. นายนรากร แก้วพิมพ์ 3. นายกิตติศักดิ์ คายวน ครูที่ปรึกษา 1. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 2. นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน 2554 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน โดย 1. นางสาวดวงใจ กันยาประสิทธิ์ 2. นายนรากร แก้วพิมพ์ 3. นายกิตติศักดิ์ คายวน ครูที่ปรึกษา 3. นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล 4. นางรัชนู บัวพันธ์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม อาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน เป็นโครงงานประเภททดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการทาถ่านจากผลมะตูมโดยใช้ดินเป็นตัวประสาน นาพืชสมุนไพรใน ท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน และเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่ง จากมะตูม กับถ่านไม้ที่ใช้อยู่ตามบ้านทั่วไป การทดลองแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 หาอัตราส่วนระหว่างผงมะตูมสดกับดินเหนียวซึ่งเป็นตัวประสานให้ได้ถ่านมะตูมอัดแท่ง และหา อัตราส่วนระหว่างผงถ่านมะตูมกับดินเหนียว ตอนที่ 2 เปรียบเทียบพลังงานระหว่างถ่านอัดแท่งจาก มะตูมทั้งสองแบบ กับถ่านไม้ที่ใช้ตามบ้าน ผลการทดลอง พบว่า การผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวใน อัตราส่วน 2:1 จะได้ถ่านมะตูมอัดแท่งที่ติดไฟง่าย มีควันมาก และหม้อต้มน้าดาเล็กน้อย การผสม ผงถ่านมะตูมกับดินเหนียวในอัตราส่วน 2:1 จะได้ถ่านมะตูมอัดแท่งที่ติดไฟง่าย มีควันน้อยและหม้อ ต้มน้าไม่ดา ส่วนการเปรียบเทียบพลังงานถ่านอัดแท่งจากผงถ่านมะตูมเผา ให้พลังงานมากกว่า ถ่าน อัดแท่งจากผงมะตูมสด แต่น้อยกว่า ถ่านไม้เพียงเล็กน้อย แสดงให้เห็นว่า ถ่านอัดแท่งจากมะตูม ใช้ เป็นเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจากถ่านไม้ทั่วไปได้ และสามารถลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานได้ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ถ่านมะตูมอัดแท่ง พลังงานทดแทน จัดทาขึ้นศึกษาวิธีการทาถ่าน จากผลมะตูมโดยใช้ดินเป็นตัวประสาน นาพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ลดปัญหา การขาดแคลนพลังงาน และเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่ง จากมะตูม กับถ่านไม้ คณะผู้จัดทาโครงงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานนี้คงจะมีประโยชน์กับผู้ที่สนใจ และเป็นแนวคิดในการทาถ่านพลังงานทดแทนไว้ใช้เอง หากการทาโครงงานนี้มีข้อบกพร่อง โปรดชี้แนะ เพื่อจะได้นาไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณนายเสรี เปรมปรีดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม นายสายันต์ คง สุข รองผู้อานวยการโรงเรียนเมืองราดวิทยาคม ที่ให้การสนับสนุนและเป็นกาลังใจในการจัดทา โครงงาน ในครั้งนี้ ขอขอบคุณ นางชโลธร กีรติศักดิ์กุล และนางรัชนู บัวพันธ์ ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ในการจัดทาโครงงานให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาโครงงาน
  • 4. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยกาลังประสบปัญหาว่าพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีจานวนลดน้อยลง เพราะเกิดจากการที่มีประชากรเพิ่มมากขึ้น และมีเทคโนโลยีมากขึ้นทาให้ ประชากรมีความต้องการในการใช้พลังงานมีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน และการทาลายทรัพยากรก็มีเพิ่มมากขึ้น เพราะพลังงานต่างๆ ที่ใช้กันอยู่ต้องนาทรัพยากรต่างๆ มาผลิต จึงเป็นเหตุให้ทรัพยากรเหล่านี้ลงน้อยลง เพราะในการผลิตพลังงานแต่ละครั้ง ทรัพยากรที่ใช้ผลิตเมื่อ ใช้ผลิตแล้วจะหมดไป บางตัวก็สามารถสร้างขึ้นมากทดแทนได้แต่ก็มีส่วนน้อยที่สามารถสร้างขึ้นมา ทดแทนได้ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศที่ตกต่าประเทศไทยยังต้องเสียเงิน จานวนมากมายในการนาเข้าพลังงาน อาทิเช่น น้ามันจากต่างประเทศ ซึ่งน้ามันเป็นหนึ่งในทรัพยากร ที่มีความจาเป็นต่อมนุษย์ และการพัฒนาประเทศ ดังนั้นเพื่อลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานที่ใกล้จะ หมดไปในอนาคต คณะผู้จัดทาโครงงานจึงมีแนวคิดว่า น่าจะหาวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการนา สิ่งที่เหลือใช้มาประยุกต์เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานความร้อน โดยจัดทาให้อยู่ในรูปของถ่านอัดแท่ง ซึ่งผู้จัดทาโครงงานได้นาผลมะตูมซึ่งเป็นผลไม้สมุนไพรในหมู่บ้านที่เหลือจากการต้มน้าหวาน มาทาเป็นถ่านอัดแท่ง เพื่อใช้ในการหุงต้มอาหาร แทนถ่านไม้ที่มีราคาแพงมากในปัจจุบัน ซึ่งนับว่า เป็นการใช้พลังงานทดแทนอีกทางเลือกหนึ่งในอนาคต 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาวิธีการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง 2. เพื่อนาสิ่งของที่เหลือใช้กลับมาใช้ใหม่อย่างคุ้มค่า 3. เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน 4. เปรียบเทียบพลังงานถ่านอัดแท่งกับถ่านไม้ 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1. ศึกษาการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง จากผงมะตูมสดตากแห้ง และผงถ่านมะตูมที่ได้จาก การเผาถ่าน 2. การทาถ่านโดยใช้วิธีการตากแห้ง และเผาให้เป็นถ่าน แล้วนามาบดให้ละเอียดผสมกับ ดินเหนียวอัดให้แน่นโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นพิมพ์สาหรับอัดแท่ง ตัดถ่านให้มี ความหนา 2 เซนติเมตร 3. การทาโครงงานนี้ดาเนินการทดลองในบริเวณสนาม โรงเรียนเมืองราดวิทยาคมและ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเมืองราดวิทยาคม
  • 5. 1.4 สมมติฐานของการทดลอง ผงมะตูมสดและผงมะตูมเผา น่าจะนามาทาถ่านอัดแท่ง และใช้เป็นพลังงานทดแทน ถ่านไม้ได้ 1.5 การกาหนดตัวแปร ตัวแปรต้น คือ ถ่านอัดแท่งจากมะตูม ตัวแปรตาม คือ พลังงานความร้อนที่ได้จากถ่านอัดแท่งมะตูม ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณถ่านจากมะตูม ปริมาณถ่านไม้ ระยะเวลาการวัดอุณหภูมิ ปริมาณน้า ขนาดของเตา ชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้ต้มน้า 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้พลังงานเชื้อเพลิงชนิดใหม่ 2. ช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน 3. ได้ถ่านอัดแท่งจากมะตูม ทดแทนพลังงาน
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง พลังงานทดแทนโดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่มีอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติและสามารถ มีทดแทนได้อย่างไม่จากัด (เมื่อเทียบกับพลังงานหลักในปัจจุบัน เช่น น้ามัน หรือ ถ่านหิน ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สาคัญเช่น พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานแสงอาทิตย์ ไบโอฟิล พลังงานน้าขึ้นน้าลง พลังงานคลื่น และความร้อนจากใต้ผิวโลก พลังงานจากกระบวนการ ชีวภาพเช่น บ่อก๊าซชีวภาพ เป็นต้น พลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมา ใช้ได้อีก เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้า และไฮโดรเจน เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะศักยภาพ และสถานภาพการใช้ประโยชน์ของพลังงานทดแทน การศึกษาและพัฒนาพลังงานทดแทนเป็นการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่พลังงานทดแทน ซึ่งเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งพลังงานที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น พลังงานลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล และอื่นๆ เพื่อให้มีการผลิต และการใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และ มีความเหมาะสมทั้งทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม พลังงานทางเลือกในยุคน้ามันแพง พูดถึงเรื่องพลังงานทางด้านเชื้อเพลิง “ ถ่าน” ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ในครัวเรือน ในการประกอบอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ฯลฯ โดยเฉพาะอาชีพ ค้าขายประเภทดังกล่าว เช่น ไก่ย่าง เป็นต้น ที่ต้องใช้ถ่านเป็นประจา เมื่อหลายปีก่อน คนเราจะ คุ้นเคยและเคยชินกับถ่านไม้เท่านั้น ซึ่งได้จากการนาแท่งฟื้นไม้ มาเผาเป็นถ่าน แต่ด้วยพระ อัจฉริยภาพอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเล็งเห็นเกี่ยวกับการขาด แคลนไม้ในอนาคต รวมทั้งพลังงานด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านน้ามัน พระองค์ทรงมี พระราชดาริ ให้วิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนน้ามันตั้งแต่ราคาน้ามันยังถูกๆ แต่ด้วยสายพระ เนตรอันยาวไกลของพระองค์ท่าน จึงเกิดโครงการในพระราชดาริต่างๆมากมายในปัจจุบัน ใน ด้านการผลิตถ่าน พระองค์ทรงมีพระราชดาริในการนาวัสดุเหลือใช้ เช่น ผักตบชวา มาอัดเป็น แท่งเชื้อเพลิง ซึ่งเรียกว่า “เชื้อเพลิงเขียว” และถ่านจากแกลบ ซึ่งปัจจุบันโครงการส่วนพระองค์ ในสวนจิตรดา ก็มีโครงการเกี่ยวกับการผลิตถ่านอัดแท่ง ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเยี่ยมชม เพื่อจะได้นาความรู้ไปพัฒนาสาหรับการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเองเพื่อความเป็นอยู่ ที่พอเพียงต่อไป
  • 7. ประเภทของพลังงานทดแทน ในปัจจุบันเรื่องพลังงานเป็นปัญหาใหญ่ของโลก และนับวันจะมีผลกระทบรุนแรง ต่อมวลมนุษยชาติมากขึ้นทุกที การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยก็เป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่ให้ ความสาคัญ ในการร่วมหาหนทางแก้ไข ทาการศึกษา ค้นคว้า สารวจ ทดลอง ติดตามเทคโนโลยี อย่างจริงจังและต่อเนื่องมาโดยตลอด เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการนาพลังงานทดแทนและเทคโนโลยี ใหม่ๆในด้านพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในประเทศไทยต่อไป โดยคานึงถึงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ซึ่งพอจะจาแนกประเภทของพลังงานทดแทนได้ดังนี้ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้เป็นต้นกาเนิด ของวัฏจักรของสิ่งมีชีวิต ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าและธาตุต่างๆ เช่น คาร์บอน พลังงาน แสงอาทิตย์จัดเป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ อีกทั้งเกิดใหม่ได้ไม่สิ้นสุด พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันของ บรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก พลังงานความร้อนใต้พิภพ น้าร้อนที่ถูกนาไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าแล้วนั้น แม้อุณหภูมิจะลดลง บ้าง แต่ก็ยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการอบแห้ง และใช้ในห้องเย็นสาหรับเก็บรักษาพืชผลทางการ เกษตรได้ พลังงานชีวมวล เชื้อเพลิงที่มาจากชีวะ หรือสิ่งมีชีวิตเช่น ไม้ฟืน แกลบ กากอ้อย เศษไม้ เศษ หญ้า เศษเหลือทิ้งจากการเกษตร เหล่านี้ใช้เผาให้ความร้อนได้ พลังงานน้า เป็นรูปแบบหนึ่งการสร้างกาลังโดยการอาศัยพลังงานของน้าที่เคลื่อนที่ ปัจจุบันนี้ พลังงานน้าส่วนมากจะถูกใช้เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า พลังงานจากขยะ พลังงานจากขยะจากบ้านเรือนและกิจการต่างๆ เป็นแหล่งพลังงานที่มี ศักยภาพสูง ขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพ เช่น กระดาษ เศษอาหาร และไม้ ซึ่งสามารถใช้เป็น เชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าที่ถูกออกแบบให้ใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงได้ การเผาถ่าน การเผาถ่านโดยใช้ถังน้ามัน 200 ลิตร เป็นวิธีการเผาที่ง่ายที่สุดวิธีหนึ่ง และได้ผลเป็นที่ น่าพอใจ การเผาถ่านในแบบถังแดงในแต่ละครั้งจะได้ถ่านประมาณ 15 กก. และเก็บน้าควันไม้ได้ ถึง 5 ลิตร การติดตั้งสามารถทาได้ดังนี้ 1.ตัดฝาถังด้านบน เพื่อใช้เป็นส่วนของฝาเตาที่สามารถเปิดปิดได้ เพื่อนาไม้เข้าในเตาและนา ถ่านออกมาจากเตา 2.เจาะรูในส่วนที่เป็นฝาถัง ขนาดประมาณ 20x25 cm. เพื่อทาหน้าที่เป็นปากเตา ใช้สาหรับ ปล่อยให้อากาศเข้า และเจาะรูด้านก้นถังใหม่ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12 ซม. เพื่อที่จะสามารถติดตั้ง สามทางปูนขนาด 4 นิ้ว ซึ่งจะใช้ต่อกับท่อใยหินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 1 เมตร
  • 8. 3. ขุดหลุมลึกขนาด 1/3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของถัง เพื่อติดตั้งถังลงในหลุมตามแนวนอน และติดตั้งปล่องควัน และกลบตัวถังด้วยดินหรือทรายเพื่อทาหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อน 4. ตัดไม้ที่จะใช้เผาถ่าน มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. ยาวประมาณ 80 ซม. บรรจุใส่ถัง ในแนวนอนตามยาวของถังไม้ที่มีขนาดใหญ่ก็ควรจะผ่าเสียก่อน 5. ปิดฝาถังให้แน่นหนาอุดรอยต่าง ๆ ด้วยดินเหนียวไม่ให้เป็นช่องทางให้อากาศเข้า ได้ นอกจากทางปากเตา 6. จุดไฟที่ปากเตาเพื่อเริ่มต้นเผาถ่าน ระมัดระวังตาแหน่งของกองไฟหน้าเตาไม่ให้เข้าใกล้ เตาจนเกินไป ตาแหน่งที่เหมาะสมคือประมาณ 1 ฟุต ปล่อยให้ไอร้อนเท่านั้นที่ไหลเข้าไปในเตา 7. ดักเก็บน้าส้มควันไม้ทางปล่องที่ควันออก โดยสังเกตจากสีของควัน 8. ควันที่เกิดจากการเผาถ่าน จะแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะได้แก่ - ควันสีขาว จะเป็นช่วงการระเหยของไอน้าจากภายในเนื้อไม้ - อุณหภูมิที่ปากปล่องช่วงนี้อยู่ระหว่าง 82 – 120 องศาเซลเซียส แต่การดักเก็บน้าส้ม ควันไม้ - กาหนดให้เก็บในช่วงอุณหภูมิ 82 –120 องศาเซลเซียส ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย จากสารทาร์ (Tar) 9. เมื่อเวลาถ่านสุกให้สังเกตว่าไม่มีควัน ออกมาจากปากปล่องอีก ให้ทาการอุดปากเตาและ ปากปล่องด้วยดินเหนียวรวมทั้งรอยรั่วอื่น ๆ จนควันไม่สามารถเล็ดลอดออกมาได้โดยเด็ดขาด 10. ทิ้งเตาไว้ 1 คืน เตาจะเย็นลงจนสามารถเปิดเตานาถ่านออกมาได้ในเช้าของวันถัดไป 11. ปกติการเผาถ่านด้วยเตาถังแดงนี้จะใช้เวลาประมาณ 6 – 8 ชั่วโมง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับถ่านอัดแท่ง เมื่อไม้ได้รับความร้อนจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงถึง 300?C จะลุกไหม้จนเกิดก๊าซ เกิดถ่าน ซึ่งถ้าเป็นการเผาไหม้ในอากาศเปิด การเผาไหม้จะดาเนินไปจนถึงที่สุด กล่าวคือ จนกระทั่งเหลือแต่ ขี้เถ้า แต่ถ้าถูกเผาในสภาพอากาศปิดหรือจากัดอากาศ ไม้จะเปลี่ยนสภาพกลายเป็นถ่าน ซึ่งเป็น หลักการเบื้องต้นที่จะอธิบายได้ง่าย ๆ ว่าไม้เป็นถ่านได้อย่างไร กรรมวิธีการผลิต หลักการผลิตถ่านอัดแท่งมี 2 วิธี คือ 1. การอัดร้อน เป็นการอัดวัสดุโดยที่วัสดุไม่จาเป็นต้องเป็นถ่านมาก่อน เมื่ออัด เป็นแท่งเสร็จแล้ว ค่อยนาเข้าเตาให้เป็นถ่านอีกครั้งหนึ่ง วัสดุที่สามารถผลิตโดยวิธีการอัดร้อน ขณะนี้มี 2 ชนิด คือ แกลบ และขี้เลื้อย เพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้เมื่อโดนอัดด้วยความร้อน จะมีสารในเนื้อของวัสดุ ยึดตัวมันเอง จึงทาให้สามารถยึดเกาะเป็นแท่งได้ โดยที่ไม่ต้องใช้ตัวประสาน โดยที่เครื่องอัดต้องเป็น เครื่องอัดชนิดอัดร้อน ซึ่งราคาค่อนข้างสูง 2. การอัดเย็น เป็นการอัดวัสดุที่เผาถ่านมาแล้ว แล้วนามาผสมกับแป้งมันหรือวัสดุ
  • 9. ประสานอื่นๆ โดยทั่วไปจะเป็นแป้งมัน ถ้าวัสดุใดมีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว เมื่อผ่านการเผาแล้ว ต้องมีเครื่องบดให้ละเอียดก่อน แล้วค่อยนามาผสมกับแป้งมันและนาในอัตราส่วนตามที่ต้องการ วัสดุที่ใช้ในการผลิตถ่านอัดแท่ง วัตถุดิบในการผลิตถ่านอัดแท่ง มีหลากหลายชนิด เช่น ซังข้าวโพด กะลามะพร้าว แกลบ ขี้เลื้อย ฟางข้าว ชานอ้อย ต้นมันสาปะหลัง เหง้ามันสาปะหลัง หญ้าคา หญ้าขจรจบ ไมยราบ ผักตบชวา ใบจามจุรี กะลาปาล์ม ต้นฝ้าย ต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากทานตะวัน เปลือกทุเรียน เปลือก มะตูม ฝักคูณ เศษถ่านหุงต้มที่เหลือใช้จากการใช้แล้ว ฯลฯ (ข้อมูลจาก กรมพัฒนาและการส่งเสริม พลังงาน,2535) ส่วนผสมของถ่านอัดแท่ง ผงถ่าน 10 กิโลกรัม แป้งมัน หรือดินเหนียว 0.5 กิโลกรัม น้า 3 ลิตร (ปริมาณน้าสามารถปรับได้ ขึ้นอยู่กับความชื้นของวัสดุ) เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ - เครื่องบด (สาหรับวัสดุที่มีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ) - เครื่องผสม สามารถใช้เครื่องผสมทั่วไปได้ หรือผสมมือก็ได้ - เครื่องอัดแท่งถ่าน ถือเป็นหัวใจหลักมี 2 ชนิด คือ แบบอัดร้อนและแบบอัดเย็น คุณสมบัติของถ่านอัดแท่ง - ให้ความร้อนสูง เนื่องจากเป็นถ่านที่ได้รับการเผาไหม้เต็มที่ - ปลอดภัยไม่มีสารตกค้างและไม่ทาลายสุขภาพ เพราะถ่านได้ถูกเผาไหม้ด้วยอุณหภูมิ เกิน 800 องศา - ทนทานสามารถใช้งานได้นานกว่าถ่านไม้ธรรมดาถึง 2.5 – 3 เท่า - ประหยัดเพราะใช้ได้นาน ไม่แตก และไม่ดับเมื่อติดแล้ว ทาให้ไม่มีการเสียเปล่า เนื่องจากถ่านจะเผาไหม้จนกว่าจะกลายเป็นขี้เถ้า - ไม่แตกประทุอย่างถ่านไม้ทั่วไป - ไม่มีควัน เนื่องจากความชื้นน้อยมาก - ไม่มีกลิ่น เพราะผลิตจากวัสดุธรรมชาติ 100% ไม่ผสมสารเคมีใดๆ - ไม่ดับกลางคัน แม้ว่าจะใช้ในที่ที่อากาศถ่ายเทน้อย ทาให้ไม่ต้องเปลี่ยนถ่านบ่อยๆ - ให้ความร้อนสูงสม่าเสมอ ไม่วูบวาบเนื่องจากความหนาแน่นของถ่านไม่เท่ากัน
  • 10. การพัฒนาส่วนผสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต ถึงแม้ว่า ถ่านอัดแท่งในปัจจุบัน อาจยังมองเป็นเรื่องไกลตัวสาหรับหลายคน เพราะ ส่วนใหญ่นิยมใช้แก๊สหุงต้ม แต่ในอนาคตไม่ไกลข้างหน้า ถ้าวันหนึ่งไม้หมดหรือไม่เพียงพอ ปัญหา จะตามมาอย่างแน่นอน ดังนั้นเพื่อเป็นการนาวัสดุที่เหลือใช้ให้กลับมามีประโยชน์และคุณค่าอีกครั้ง และเพื่อนาเสนอใต้เบื้องพระยุคลบาทของพระองค์ท่าน เราควรตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างรู้ คุณค่า และหาพลังงานทางเลือกเพื่อทดแทนพลังงานหลักที่มีราคาสูง “ถ่านอัดแท่ง” จึงน่าจะเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้เครื่องจักรจะมีราคาสูง แต่ในปัจจุบันมีงานวิจัยและพัฒนาด้าน เครื่องอัดถ่านสาหรับชุมชน รวมทั้งพัฒนาด้านส่วนผสมในการลดต้นทุน ซึ่งก็น่าจะทาให้ถ่านอัดแท่ง กลับมามีความน่าสนใจในการประกอบอาชีพอยู่ไม่น้อย ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะลงมือทาก่อนเท่านั้นเอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aegle marmelos (L.) Correa ex Roxb. วงศ์ : Rutaceae ชื่ออื่น : มะปิน (ภาคเหนือ) กระทันตาเถร ตุ่มเต้ง ตูม (ปัตตานี) มะปีส่า (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10 - 15 เมตร เปลือกต้นสีเทา แตกเป็นร่องตามยาว ใบ เป็นใบ ประกอบแบบนิ้วมือ ออกใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยใบปลาย รูปไข่ กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-14 ซม. ปลายใบ แหลม แผ่นใบบางเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ก้านใบย่อยใบกว่าใบที่คู่กัน ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและ ปลายกิ่ง กลีบดอกมี 4 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่กลับยาว ด้านอ่อน ด้านในสีขาว นวล มีน้าเมือก มีกลิ่นหอม ผล รูปรีกลมหรือยาว ผิวเรียบเกลี้ยง เปลือกหนา แข็ง ผลอ่อนสีเขียว ผลสุก เป็นสีเหลือง เนื้อในสีส้มปนเหลือง นิ่ม เมล็ดมีจานวนมาก ส่วนที่ใช้ : ผลโตเต็มที่ ผลแก่จัด ผลสุก ผลอ่อน ใบ ราก
  • 11. สรรพคุณ : ผลโตเต็มที่ - ฝานเป็นชิ้นบางๆ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงรับประทาน แก้ท้องเดิน ท้องเสีย ท้องร่วง โรคลาไส้เรื้อรังใน ผลแก่จัดแต่ยังไม่สุก - น้ามาเชื่อมรับประทานต่างขนมหวาน จะมีกลิ่นหอม และรสชวน รับประทาน บารุงกาลัง รักษา เปลือกของผล – มีลักษณะแข็งคล้ายแก่นไม้ ผลสุก - รับประทานต่างผลไม้ เป็นยาระบายท้อง และยาประจาธาตุของผู้สูงอายุ ใบ - ใส่แกงบวช เพื่อแต่งกลิ่น ราก - แก้หืด หอบ แก้ไอ แก้ไข้ ขับลม แก้มุตกิต มะตูม (อังกฤษ: Bael) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos เป็นไม้ผลยืนต้นพื้นเมืองใน พื้นที่ป่าดิบแล้วบนเนินเขาและที่ราบในอินเดียตอนกลางและตอนใต้ พม่า ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล เวียดนาม ลาว และกัมพูชา มีการนาไปเพาะปลูกทั่วไปในอินเดีย รวมทั้งในศรีลังกา แหลมมลายู ตอนเหนือ เกาะชวา และฟิลิปปินส์ จัดเป็นพืชเพียงสปีชีส์เดียวที่อยู่ในจีนัส Aegle ลาต้นความสูง 18 เมตร มีหนามแหลมอยู่ทั่วไป ดอกมีกลิ่นหอม ผลมีเปลือกแข็งเรียบและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-15 เซนติเมตร บางผลมีเปลือกแข็งมากจนต้องกระเทาะเปลือกออกโดยใช้ค้อนทุบ เนื้อผลเหนียวข้น มีกลิ่น หอม และมีเมล็ดจานวนมาก โดยเมล็ดจะมีขนหนาปกคลุม ผลมะตูมใช้รับประทานได้ทั้งแบบสดและแบบแห้ง น้าจากผลเมื่อนาไปกรองและเติมน้าตาล จะได้เครื่องดื่มคล้ายน้ามะนาว และยังใช้ในการทา Sharbat ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่ได้จากการนาเนื้อผล มะตูมไปผสมกับมะขาม ใบอ่อนและยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสลัด นอกจากนี้ ผลยังใช้ใน พิธีกรรมทางศาสนา และใช้เป็นยารักษาอาการท้องร่วง ท้องเดิน โรคลาไส้ ตาแห้งไข้หวัดธรรมดา และยังใช้รักษาอาการท้องผูกเรื้อรังได้เป็นอย่างดี ต้นมะตูมเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจาจังหวัดชัยนาท
  • 12. บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 1. มะตูม 2. ดินเหนียว 3. น้า 4. ครกหิน 5. กะละมัง 6. เครื่องชั่ง 7. หม้อต้มน้า 8. เทอร์โมมิเตอร์ 9. เตาไฟ /ตะเกียงแอลกอฮอลล์ วิธีทดลอง ตอนที่ 1 การหาอัตราส่วนของผงมะตูมสดและดินเหนียว 1. นามะตูมที่เหลือจากการต้มน้าหวานหรือน้ามะตูม มาโขลกให้ละเอียด 2. นามะตูมที่โขลกแล้วไปตากแดดให้แห้ง จากนั้นนามาโขลกให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่ง 3. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 4. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 250 กรัม ) 5. นาผงมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1: 2 (ผงมะตูม 250 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 6. นาส่วนผสมที่ได้ไปอัดเป็นแท่งถ่านโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นแบบในการอัดแท่ง แล้วตัด แท่งถ่านให้เป็นแท่งยาว 2 เซนติเมตร 7. นาแท่งถ่านไปตากให้แห้ง ทดสอบการติดไฟ สังเกตลักษณะของแท่งถ่านและการติดไฟ การหาอัตราส่วนของผงมะตูมเผากับดินเหนียว 1. นามะตูมที่เหลือจากการต้มน้าหวานหรือน้ามะตูม ไปเผาให้เป็นถ่าน 2. นาถ่านมะตูมโขลกให้ละเอียดเป็นผง 3. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม )
  • 13. 4. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 (ผงมะตูม 500 กรัม + ดินเหนียว จานวน 250 กรัม ) 5. นาผงถ่านมะตูม ผสมกับดินเหนียว ในอัตราส่วน 1: 2 (ผงมะตูม 250 กรัม + ดินเหนียว จานวน 500 กรัม ) 6. นาส่วนผสมที่ได้ไปอัดเป็นแท่งถ่านโดยใช้กระบอกไม้ไผ่เป็นแบบในการอัดแท่ง แล้วตัด แท่งถ่านให้เป็นแท่งยาว 2 เซนติเมตร 7. นาแท่งถ่านไปตากให้แห้ง สังเกตลักษณะของแท่งถ่าน และทดสอบการติดไฟ 8. บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 2 เปรียบเทียบหาความร้อนระหว่างถ่านมะตูมอัดแท่งทั้ง 2 ชนิด กับถ่านไม้ 1. นาถ่านอัดแท่งจากผงมะตูมสด ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา และถ่านไม้ ปริมาณเท่ากัน ( 500 กรัม ) มาก่อไฟ 2. สังเกตการณ์ติดไฟของถ่านทั้ง 3 ชนิด บันทึกผล 3. ตวงน้าให้มีปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่หม้อหรือ บีกเกอร์แล้วนาไปต้ม โดยใช้ถ่านทั้ง 3 ชนิด วัดอุณหภูมิขณะต้มทุก ๆ 5 นาที จนครบเวลา 30 นาที แล้วบันทึกผลการทดลอง 4. ทาการทดลอง 3 ครั้ง 5. คานวณหาพลังงานที่ได้จากการใช้ถ่านทั้ง 3 ชนิด 6. เปรียบเทียบพลังงานที่ได้จากถ่านทั้ง 3 ชนิด การรวบรวมข้อมูล 1.ศึกษาค้นคว้าเอกสารเกี่ยวกับการทาถ่านอัดแท่ง 2.สอบถามเทคนิควิธีการเผาถ่าน เพิ่มเติมจากผู้มีประสบการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย X สูตรการหาปริมาณความร้อน Q = mc t Q = ปริมาณความร้อน มีหน่วยเป็นแคลอรี m = มวลของน้ามีหน่วยเป็นกรัม t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป (t1-t2) c = ความจุความร้อนจาเพาะของน้า
  • 14. บทที่ 4 ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 การหาอัตราส่วนของผงมะตูมกับดินเหนียว วัสดุที่ใช้ อัตราส่วน ลักษณะที่สังเกต ผงมะตูมสด ดินเหนียว 1:1 ก้อนถ่านมีสีน้าตาลดา เกาะติดกันหลวม ๆ มีรอย แตกเล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก มีควันมาก มีไฟลุกไหม้ระยะหนึ่ง 2:1 ก้อนถ่านมีสีน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ มีรอยแตกเล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟง่าย มีควันมาก มีไฟลุกไหม้ระยะหนึ่ง 1:2 ก้อนถ่านมีสีน้าตาล เกาะติดกันเป็นเนื้อเดียว ไม่มีรอยแตก เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก ผงมะตูมเผา ดินเหนียว 1:1 ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก มีควันเล็กน้อย 2:1 ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟง่าย มีควันเล็กน้อย 1:2 ก้อนถ่านมีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน มีรอยแตก เล็กน้อย เมื่อนาไปทดสอบการติดไฟ ติดไฟยาก จากการทดลอง เมื่อผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่านอัดแท่ง มีลักษณะสีน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ เมื่อนาไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟยาก เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะน้าตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ ตากแห้งมีรอยแตกมากกว่า อัตราส่วน 1:1 ติดไฟง่าย และเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีน้าตาลเกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้ง ไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก เมื่อผสมผงมะตูมเผากับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่านอัดแท่งที่มี ลักษณะสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อนาไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟยาก มีควันน้อย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย มีควันน้อยและเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก
  • 15. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผาและถ่านไม้ ชนิด ของถ่าน ครั้งที่ ทดล อง อุณหภูมิ เริ่มต้น( C) อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( C) พลังงาน ที่ได้รับ (จูล) 5 นาที 10 นาที 15 นาที 20 นาที 25 นาที 30 นาที ถ่านอัดแท่ง ผงมะตูมสด 1 25 30 31.5 34 35 40 45 2 25 35 52 80 100 100 100 3 25 72 100 100 100 100 100 เฉลี่ย 25 45.66 61.16 71.33 78.33 80 81.66 47.37 x 3 10 ถ่านอัดแท่ง ผงมะตูมเผา 1 25 35 39 44 47 49 52 2 25 52 78 90 100 100 100 3 25 72 90 100 100 100 100 เฉลี่ย 25 53 69 78 82.33 83 84 49.32 x 3 10 ถ่านไม้ 1 25 29 35 40 46 53 55 2 25 35 50 62 73 91 100 3 25 72 100 100 100 100 100 เฉลี่ย 25 45.33 61.66 67.33 73 81.33 85 50.16 x 3 10 กราฟแสดงการเปรียบเทียบพลังงานจากถ่านทั้ง 3 ชนิด 45.5 46 46.5 47 47.5 48 48.5 49 49.5 50 50.5 พลังงานที่ได้รับ(จูล) ถ่านอันแท่งผงมะตูมสด ถ่านอันแท่งผงมะตูมเผา ถ่านไม้
  • 16. จากผลการทดลอง เมื่อนาน้ามาต้มด้วยถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไป 45.66 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.16 องศา เซลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 71.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 78.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 80 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิ เปลี่ยนไปเป็น 81.66 องศาเซลเซียส และถ่านอัดแท่งผงมะตูม เวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของ น้า เปลี่ยนไปเป็น 53 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 69 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 78 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 82.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 83 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 84 องศา เซลเซียส ส่วนถ่านไม้เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 45.33 นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.66 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 67.33 องศา เซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 73 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 81.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 85 องศาเซลเซียส และเมื่อนา มาคา นวณหา พลังงานที่ได้รับพบว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสดให้พลังงาน 47.37 x 3 10 จูล ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา ให้พลังงาน 49.32 x 3 10 จูล ถ่านไม้ให้พลังงาน 50.16 x 3 10 จูล ตามลา ดับ
  • 17. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองตอนที่ 1 เมื่อผสมผงมะตูมสดกับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ ถ่านอัดแท่งที่มีลักษณะสีน้า ตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ เมื่อนา ไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะน้า ตาลดา เกาะติดกันอย่างหลวม ๆ ตากแห้งมีรอยแตก มากกว่าอัตราส่วน 1:1 ติดไฟง่าย และเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีน้า ตาลเกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งไม่มีรอยแตก ติดไฟยาก c]tเมื่อผสมผงมะตูมเผากับดินเหนียวในอัตราส่วน 1:1 จะได้ถ่าน อัดแท่งที่มีลักษณะสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อนา ไปตากแห้งจะมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย มีควันน้อย เมื่อผสมในอัตราส่วน 2:1 มีลักษณะดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งมีรอยแตกเล็กน้อย ติดไฟง่าย มีควันน้อยและเมื่อผสมในอัตราส่วน 1:2 มีสีดา เกาะติดเป็นเนื้อเดียวกัน ตากแห้งไม่มีรอย แตก ติดไฟยาก แสดงว่าการผสมผงมะตูมสดและผงมะตูมเผา กับดินเหนียว ในอัตราส่วน 2:1 จะได้ ถ่านอัดแท่งที่มีคุณสมบัติติดไฟง่าย ควันน้อย ให้พลังงานสูง จากผลการทดลองตอนที่ 2 เมื่อนา น้า มาต้มด้วยถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด เมื่อเวลาผ่าน ไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไป 45.66 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.16 องศาเซลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 71.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิ เปลี่ยนไปเป็น 78.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 80 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 81.66 องศาเซลเซียส และถ่านอัดแท่งผงมะตูม เวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิ เฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 53 องศาเซลเซียส นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 69 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 78 องศาเซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 82.33 องศา เซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 83 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 84 องศาเซลเซียส ส่วนถ่านไม้เมื่อเวลาผ่านไป 5 นาที อุณหภูมิเฉลี่ยของน้า เปลี่ยนไปเป็น 45.33 นาทีที่ 10 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 61.66 องศาเซลลเซียส นาทีที่ 15 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 67.33 องศา เซลเซียส นาทีที่ 20 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 73 องศาเซลเซียส นาทีที่ 25 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 81.33 องศาเซลเซียส นาทีที่ 30 อุณหภูมิเปลี่ยนไปเป็น 85 องศาเซลเซียส และเมื่อนา มาคา นวณหา พลังงานที่ได้รับพบว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสดให้พลังงาน 47.37 x 3 10 จูล ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผา ให้พลังงาน 49.32 x 3 10 จูล ถ่านไม้ให้พลังงาน 50.16 x 3 10 จูล ตามลา ดับ แสดงว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมเผาให้พลังงานมากกว่า ถ่านอัดแท่งผงมะตูมสด แต่น้อยกว่า ถ่านไม้เล็กน้อย นั่นคือผงมะตูมสดและผงมะตูมเผาสามารถนา มาทา ถ่านมะตูมอัดแท่ง ทดแทนพลังงาน จากถ่านไม้ได้ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 18. บรรณานุกรม ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์. ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. เอกสารอัดสาเนา, 2548. จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย.โรงเรียน.ตัวอย่างบทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์.ชลบุรี. เอกสารอัดสาเนา, 2552. สุวิทย์ วรรณศรี.เทคนิคการทาโครงงานนักเรียน.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์. เอกสารอัดสาเนา./2554. http://www.google.co.th/
  • 20. ขั้นตอนการทาถ่านมะตูมอัดแท่ง โขลกมะตูมให้ละเอียด ตากให้แห้ง โขลกมะตูมตากแห้งให้ละเอียด ชั่งดินและผงมะตูมผสมให้เข้ากัน