SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
เหตุการณ์สาคัญของโลก
ในคริสต์ศตวรรษที่21
การก่อการร้าย
การก่อการร้าย
การก่อการร้ายที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการเมือง ซึ่งขบวนการก่อ
การร้ายเพื่อต้องการบรรลุเป้าหมายทางการเมือง โดยใช้ความรุนแรง เพื่อ
เรียกความสนใจและการตอบรับจากกลุ่มเป้าหมาย การก่อการร้ายนี้อาจ
จากัดขอบเขตหรือขายไปนอกเขตแดนประเทศก็ได้มี 2 ประการ
ประการที่หนึ่ง คือ เพื่อแสดงออกซึ่งความไม่พอใจ
ประการที่สอง คือ เพื่อเรียกร้องความสนใจและสร้างความกลัว
ขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกปัจจุบันที่เทคโนโลยีทางด้านข่าวสาร
พัฒนาก้าวหน้าไปมาก กลุ่มผู้ก่อการร้ายสามารถใช้สื่อสารมวลชนช่วย
กระจายความต้องการหรือ ข้อเรียกร้องของตนออกไปอย่างกว้างขวาง
ทาให้ประชาชนหันมาสนใจและเกิดความกลัวขึ้นมามาก
ลักษณะของการก่อการร้าย
- ใช้คนที่มีความสามารถ มีการฝึกฝน และมีความเชื่อหรืออยู่ในลัทธิเดียวกัน
- มีระบบการคัดเลือก เป็นความลับ การบริหารการดาเนินการเป็นไปอย่างลับ
- มีเครือข่ายกระจายทั่วโลก
- ด้านการเงินได้จากการบริจาค และดาเนินกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
- ใช้อาวุธทุกประเภทเท่าที่สามารถเข้าถึง
การวางระเบิดบนเกาะบาหลีประเทศอินโดนีเซีย
เหตุเกิดเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.2002 (พ.ศ.2545) มีการวางระเบิดที่
สถานบันเทิง 2 แห่งบนเกาะบาหลี
ผู้ก่อการร้ายใช้ระเบิดทั้งหมด 3 ลูกในการ
โจมตีด้วยกัน ลูกแรกเป็นระเบิดพลีชีพเป็น
อุปกรณ์ติดกับเป้ สะพาย ลูกที่สองเป็นคาร์
บอมขนาดใหญ่โดยติดตั้งไว้ใกล้ๆกับ
ไนต์คลับที่ได้รับความนิยม ลูกสุดท้ายเป็น
อุปกรณ์ขนาดเล็กซึ่งจุดระเบิดนอกกงสุล
สหรัฐอเมริกาในเดนปาซาร์
เหตุการณ์ครั้งนี้ทาให้เศร้าสะเทือนใจ
ไปทั่วโลก เพราะเกาะบาหลีเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวที่สวยงามละได้รับความนิยม
มาก
ต่อมารัฐบาลเกาะบาหลีได้จับกุมตัว
ผู้ก่อการร้าย 3 คนที่วางระเบิดและ
ตัดสินโทษประหารชีวิตในวันที่ 9
พฤศจิกายน ค.ศ.2008(พ.ศ.2551)
ผู้ก่อการร้ายอยู่ในกลุ่มญะมาอะห์อิสลา
มียะห์ หรือกลุ่มเจไอ เป็นกลุ่มก่อการ
ร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมี
เป้ าหมายว่า จะก่อตั้งรัฐอิสลามและ
บังคับใช้กฎหมายอิสลามประจารัฐ
โดยครอบคลุมพื้นที่ประเทศมาเลเซีย
อินโดนีเซีย ภาคใต้ของฟิลิปปินส์ และ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
อุมาร์ ปาเต๊ะ
ผู้ต้องหาคดีวางระเบิดไนต์คลับบนเกาะบาหลี
เหตุการณ์วางระเบิดรถไฟใต้ดินที่กรุงลอนดอน สหราช
อาณาจักร
เหตุเกิดในตอนเช้าของวันที่ 7
กรกฎาคม ค.ศ.2005(พ.ศ.2548) เกิด
เหตุระเบิดพลีชีพ โจมตีระบบขนส่ง
ของกรุงลอนดอน 4 จุด โดยมีรถไฟใต้
ดินทั้งหมด 3 ขบวนถูกวางระเบิด
หลังจากนั้นครึ่งชั่วโมงรถโดยสาร
ประจาทาง 2 ชั้น 1 คันที่แล่นบริเวณ
อัปเปอร์โวเบิร์นเพลสก็ถูกวางระเบิด
หลังจากเกิดเหตุรัฐบาลอังกฤษได้สั่งปิด
ระบบรถไฟฟ้ าใต้ดิน
รัฐบาลอังกฤษได้มุ่งความสนใจไปที่กลุ่มก่อการร้ายอัลเคดาว่าเป็นผู้ก่อเหตุ เพราะ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมีลักษณะการโจมตีแบบเดียวกันกับเหตุการณ์ระเบิดรถไฟที่กรุง
มาดริด ประเทศสเปน
กลุ่มก่อการร้ายอัลเคดาเป็นกลุ่มก่อ
การร้ายในตะวันออกกลาง มีโอชามา
บิน ลาเดนเป็นผู้นาคนสาคัญ มี
เป้ าหมายในการต่อต้านอิทธิพล
ตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา
โดยกลุ่มก่อการร้ายอัลเคดาเคยมีฐาน
มั่นอยู่ที่ประเทศอัฟกานิสถาน แต่
ต่อมามีกองกาลังผสมขับไล่รัฐบาลตา
ลิบัน ทาให้กลุ่มก่อการร้ายอัลเคดา
ต้องกระจายตัวไปตามเอเชียใต้ เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และตะวันออก
กลาง
นายโอซามา บิน ลาเดน
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 2007
กลุ่มกบฏแบ่งแยกดินแดนพยัคฆ์ทมิฬอีแลมหรือ
แอลทีทีอี (LTTE) ในศรีลังกา
มีจุดมุ่งหมายในการแบ่งแยกดินแดนภาค
เหนือ-ตะวันออก ซึ่งถือว่าเป็นมาตุภูมิของทมิฬ
เพื่อจัดตั้งเป็นรัฐเอกราชทมิฬ
เหตุโจมตีในศรีลังกา
กลุ่มLTTE
การระบิดพลีชีพที่สาคัญที่สุดคือ
การสังหารประธานาธิบดีรณสิงห์
เปราดาสาแห่งศรีลังกาและอดีต
นายกรัฐมนตรี ราจีพ คานธี แห่ง
อินเดีย
กลุ่ม LTTE มีชื่อเสียงอย่างมากในการใช้ระเบิดพลีชีพโจมตีเป้าหมาย เป็นกลุ่ม
แรกๆที่ใช้วิธีการระเบิดพลีชีพ
(ซึ่งวิธีดังกล่าว ได้รับความนิยมอย่างมากในตะวันออกกลางในระยะเวลาต่อมา)
อดีตนายกรัฐมนตรี ราจีพ คานธี
เหตุรุนแรงโดยส่งนักบินไปโจมตีฐานทัพอากาศของรัฐบาล(เป็นการสู้รบแบบกองโจร
ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ท่าอากาศยานนานาชาติในกรุงโคลัมโบ เมืองหลวงของศรีลังกา ทาให้
ทหาร 3 นายเสียชีวิต และมีผู้บาดเจ็บ 16 คน ต่อมามีผู้ก่อการร้ายได้ขับรถบรรทุกขนาด
เล็กที่เต็มไปด้วยระเบิดไปยังค่ายทหาร ก่อนที่จะจุดชนวนบริเวณด้านหน้าค่ายทหาร ทา
ให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 7 คน
กลุ่ม LTTE มีทหารหญิงปฎิบัติการเป็น
จานวนมาก
การก่อการร้ายของกลุ่มแอลทีทีอีมีมาอย่างต่อเนื่อง
สาเหตุมาจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติและศาสนา
ระหว่างชาวสิงหลและชาวทมิฬ รัฐบาลศรีลังกาและ
กลุ่มแอลทีทีอีได้ลงนามยุติหยุดยิงเมื่อ ค.ศ. 2002 โดยมี
ประเทศนอร์เวย์เป็นผู้ไกล่เกลี่ย แต่ผลของการเจรจาไม่
มีความกาวหน้ามากนัก วันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 2008
รัฐบาลศรีลังกาประกาศยกเลิกข้อตกลงหยุดยิง ทาให้
ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายรุนแรงมากขึ้น เช่น กลุ่ม
แอลทีทีอีลอบสังหารเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาล ก่อ
เหตุวางระเบิดสถานีรถไฟ สวนสัตว์รถประจาทาง และ
ห้างสรรพสินค้าในกรุงโคลัมโบ หลังจากนั้นรัฐบาล
พยายามเข้าไปยึดครองพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศ
โดยการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่น และใช้กาลังเข้า
ปราบปรามกลุ่มแอลทีทีอีทางภาคเหนืออย่างต่อเนื่อง
กองกาลังฝ่ายรัฐบาล
จัดทาโดย
1.จิรัชญา ติยะวุฒิการ ม.6.5 เลขที่6
2.อัญมณี กังศิริกุล ม.6.5 เลขที่39
เสนอ
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
วิชา ส33101สังคมศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา
แหล่งที่มาเพิ่มเติม
• เหตุการณ์ระเบิดรถไฟใต้ดินที่กรุงลอนดอน
สหราชอาณาจักร :
http://www.oknation.net/blog/print.
php?id=68414
• การวางระเบิดบนเกาะบาหลี ประเทศ
อินโดนีเซีย :
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9
%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B
8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%
B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0
%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E
0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%AB%
E0%B8%A5%E0%B8%B5_%E0%B8%9
E.%E0%B8%A8._2545
• เหตุโจมตีในศรีลังกา
http://pantip.com/topic/30868057
http://msixninehistory.wordpress.com/
แหล่งที่มารูปภาพ
การวางระเบิดบนเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย :
• http://www.siangtai.com/UserFiles/Image/9Indonesia(6).jpg
• http://www.manager.co.th/asp-bin/Image.aspx?ID=2270558
• http://images.voicecdn.net/contents/640/330/horizontal/52913.jpg
• http://home.kku.ac.th/tnnproject/pic/bali.jpg
• http://www.manager.co.th/around/viewnews.aspx?NewsID=9550000062347&TabID=
3&
เหตุการณ์ระเบิดรถไฟใต้ดินที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร :
• http://www.munjeed.com/image_news/2012-05-05/Thairath_552012111410AM.jpg
• http://www.bangkokbiznews.com/home/media/2011/09/10/images/news_img_408
844_2.jpg
• http://writer.dek-d.com/impare/story/viewlongc.php?id=876404&chapter=4

More Related Content

What's hot

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

11 กันยา 2001
11 กันยา 200111 กันยา 2001
11 กันยา 2001
 
History
HistoryHistory
History
 
September 11 slides
September 11 slidesSeptember 11 slides
September 11 slides
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
Human3
Human3Human3
Human3
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
สงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถานสงครามในอัฟกานิสถาน
สงครามในอัฟกานิสถาน
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 

Aunmuay