SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม




ตรรกศาสตร       ม.4 เทอมตน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม




               ประพจน


        การแจกแจงคาความจริง


   การเชื่อมประพจน นิเสธของประพจน


          ประพจนที่สมมูลกัน


              สัจนิรันดร


            การอางเหตุผล


     ประโยคเปด และ ตัวบงปริมาณ




                                                          1
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


ประพจน

ประพจน คือ ประโยคที่มคาความจริง เปนจริงหรือเท็จ อยางใดอยางหนึ่งเทานัน
                      ี                                                   ้

ขอสังเกต
ประโยคที่เปนประพจน จะมีลักษณะเปน ประโยคบอกเลา หรือ ปฏิเสธ
ประโยคที่ไมเปนประพจน จะมีลักษณะเปน ประโยคคําถาม, คําสั่ง, ขอรอง, อุทาน

การแจกแจงคาความจริง

จริง ใชสญลักษณ T
         ั
เท็จ ใชสญลักษณ F
           ั

มี 2 ประพจนแจกแจงคาความจริงไดดงนี้
                                 ั             มี 3 ประพจนแจกแจงคาความจริงไดดงนี้
                                                                                ั
          p                     q                     p             q             r
          T                     F                    T              F            T
          T                     T                    T              T            T
          F                     T                    F              T            T
          F                     F                    F              F            T
       แจกแจงคาความจริงได 4 แบบ                    T              F            F
                                                     T              T            F
                                                     F              T            F
                                                     F              F            F
                                                       แจกแจงคาความจริงได 8 แบบ

                 จํานวนวิธีการแจกแจง = 2n โดยที่ n คือจํานวนประพจน
              เชน ถามี 4 ประพจน จะเขียนแจกแจงคาความจริงได 24 = 16 แบบ
              หรือ ถามี 5 ประพจน จะเขียนแจกแจงคาความจริงได 25 = 32 แบบ




                                                                                       2
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การเชื่อมประพจน และ นิเสธของประพจน

การเชื่อมประพจน
และ ( ∧ )                                         หรือ    (∨)

         p                  q               p∧q            p                  q               p∨q

        T                   F                F            T                   F                 T
        T                   T                T            T                   T                 T
        F                   T                F            F                   T                 T
        F                   F                F            F                   F                 F
ขอสังเกต                                         ขอสังเกต
เชื่อมกันดวย และ ( ∧ )                           เชื่อมกันดวย หรือ ( ∨ )
เปนจริงได กรณีเดียว คือ เปนจริงทั้งคู         เปนเท็จได กรณีเดียว คือ เปนเท็จทั้งคู
(มีเท็จอยู เปนเท็จเลย)                          (มีจริงอยู เปนจริงเลย)

ถา...แลว      (→)                               ก็ตอเมื่อ    (↔)

         p                  q               p→q            p                  q               p↔q

        T                   F                F            T                   F                 F
        T                   T                T            T                   T                 T
        F                   T                T            F                   T                 F
        F                   F                T            F                   F                 T
ขอสังเกต                                         ขอสังเกต
เชื่อมกันดวย ถา...แลว ( → )                    เชื่อมกันดวย ก็ตอเมื่อ ( ↔ )
เปนเท็จได กรณีเดียว คือ                         เปนจริงได เมื่อ ทั้งคูมีคาความจริงเหมือนกัน
ขางหนาเปนจริง ขางหลังเปนเท็จ



นิเสธ     (∼)

         p                      ∼p

        T                       F
        F                       T
ขอสังเกต ∼ (∼ p) ≡ p




                                                                                                    3
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


***ขอควรระวังในการหาคาความจริงของประพจน***
   ถามีวงเล็บใหหาคาความจริงภายในวงเล็บกอน
   แตถาไมมีวงเล็บใหหาคาความจริง ∼ กอน แลวจึง ∧ , ∨ แลวจึง → แลวจึง ↔ ตามลําดับ



ประพจนที่สมมูลกัน

ประพจนท่สมมูลกัน คือ ประพจนท่มคาความจริงเหมือนกันทุกกรณี
         ี                     ี ี

***ประพจนที่สมมูลกันที่ตองจํา

1) น → ล ≡ ∼ น ∨ ล , น ∨ ล ≡ ∼ น → ล
2) ∼ (น → ล) ≡ น ∧ ∼ ล , ∼ (น ∧ ล) ≡ น → ∼ ล
3) น → ล ≡ ∼ ล → ∼ น
4) ∼ (น ∨ ล) ≡ ∼ น ∧ ∼ ล , ∼ (น ∧ ล) ≡ ∼ น ∨ ∼ ล
5) น ↔ ล ≡ (น → ล) ∧ (ล → น)
6) น ∧ (ก ∨ ล) ≡ (น ∧ ก) ∨ (น ∧ ล) , น ∨ (ก ∧ ล) ≡ (น ∨ ก) ∧ (น ∨ ล)




                                                                                          4
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


สัจนิรันดร

ประพจนท่เปนสัจนิรนดร คือ ประพจนทมีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี
         ี         ั                ี่ 

การพิสูจนสจนิรันดร
           ั


                       ขั้นแรก
                       สมมุติใหประพจนที่ตองการพิสูจนสัจนิรันดร เปนเท็จ



                                    ขั้นตอมา
                                    หาคาความจริงของประพจนยอย



                สรุป
                ถาคาความจริงของประพจนยอยขัดแยงกัน สรุป เปนสัจนิรันดร
                ถาคาความจริงของประพจนยอยไมขัดแยงกัน สรุป ไมเปนสัจนิรันดร
                ถาสรุปหาคาความจริงของประพจนยอยไมได สรุป ไมเปนสัจนิรนดรั



***หมายเหตุ
สําหรับประพจนทเี่ ปนเท็จไดหลายกรณี เชน ประพจนที่เชื่อมดวย ↔
กอนจะสรุปวาเปนสัจนิรดร ตองพิสูจน ใหครบทุกกรณีกอนวาประพจนยอยขัดแยงกัน
                           ั                               
แตถาพบกรณีใดไมขัดแยงกัน(คลอยตาม)สามารถสรุปไดเลยวาไมเปนสัจนิรนดร
                                                                     ั

สําหรับตัวเชื่อม ↔ จะดูแบบนีก็ได
                             ้
ถาประพจนทางดานซาย กับ ทางดานขวา ของเครื่องหมาย           ↔
สมมูลกัน จะสรุปไดวา เปนสัจนิรันดร
แตถา
ไมสมมูลกัน จะสรุปไดวา ไมเปนสัจนิรันดร
                       




                                                                                         5
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การอางเหตุผล


                          (เหตุที่1 ∧ เหตุที่2 ∧ ... ∧ เหตุที่ n ) → ผล



                                         พิสูจนสัจนิรนดร
                                                      ั
                      ขั้นแรก
                      สมมุติใหประพจนที่ตองการพิสูจนสัจนิรันดร เปนเท็จ



                                   ขั้นตอมา
                                   หาคาความจริงของประพจนยอย



                สรุป
                ถาคาความจริงของประพจนยอยขัดแยงกัน สรุป เปนสัจนิรันดร
                                         
                ถาคาความจริงของประพจนยอยไมขัดแยงกัน สรุป ไมเปนสัจนิรันดร
                                           
                ถาสรุปหาคาความจริงของประพจนยอยไมได สรุป ไมเปนสัจนิรันดร




        ถาประพจนนี้เปนสัจนิรันดร                         ถาประพจนนไมเปนสัจนิรันดร
                                                                         ี้
      การอางเหตุผลนี้จะสมเหตุสมผล                         การอางเหตุผลนี้จะไมสมเหตุสมผล



***ดังนันการพิสูจนวา การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผลหรือไม
        ้
   จะตองพิสจนวาประพจนนี้เปนสัจนิรนดรหรือไม
            ู                          ั




                                                                                             6
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


ประโยคเปด และ ตัวบงปริมาณ

ประโยคเปด
ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธที่มตวแปร โดยเมื่อแทนคาตัวแปรดวยสมาชิกใน
                                          ี ั
เอกภพสัมพัทธ ประโยคเปดจะกลายเปนประพจน

สัญลักษณ ประโยคเปดที่มี x เปนตัวแปร ใชสัญลักษณ P( x), Q( x),...
***ประโยคเปดใชตัวเชื่อมตางๆ (∧, ∨, →, ↔) และ นิเสธ (∼) ไดเหมือนกับที่ใชกับประพจน

ตัวบงปริมาณ 1 ตัว
กําหนดให U คือ เอกภพสัมพัทธ
        ∀x [ P ( x) ] หมายถึง สมาชิกทุกตัว (แตละตัว) ในเอกภพสัมพัทธ
                              แทนคาใน x ของประโยคเปด P( x)
        ∃x [ P ( x) ] หมายถึง สมาชิกอยางนอย 1 ตัว ในเอกภพสัมพัทธ
                              แทนคาใน x ของประโยคเปด P( x)

∀x [ P ( x) ] มีคาความจริงเปนจริง
เมื่อ สมาชิกทุกตัว(แตละตัว)ในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนจริง
∀x [ P ( x) ] มีคาความจริงเปนเท็จ
เมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนเท็จ

∃x [ P ( x ) ]มีคาความจริงเปนจริง
เมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนจริง
 ∃x [ P( x) ] มีคาความจริงเปนเท็จ
เมื่อ ไมมีสมาชิกตัวใดเลยในเอกภพสัมพัทธที่แทนคาใน P( x) แลวเปนจริง

สูตรนี้ออกสอบบอยมาก!!!
∼ ∀x [ P ( x) ] ≡ ∃x [ ∼ P ( x) ]
∼ ∃x [ P( x)] ≡ ∀x [ ∼ P ( x) ]


รูไวนะ!!!
กําหนดให        P( x)   คือ 3x ≥ 2   จะได   ∼ P( x)   คือ   3x < 2


                                                                                            7
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


ตัวบงปริมาณ 2 ตัว
กําหนดให U คือ เอกภพสัมพัทธ
มีทั้งหมด 8 แบบ
1) ∀x∀y [ P( x, y)] เปน จริง
   เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง
2) ∀x∃y [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง
3) ∃x∀y [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง
4) ∃x∃y [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง
5) ∀y∀x [ P( x, y)] เปน จริง
   เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง
6) ∀y∃x [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง
7) ∃y∀x [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง
8) ∃y∃x [ P( x, y)] เปน จริง
    เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง

สูตรนี้ออกสอบบอยมาก!!!
∼ ∀x∀y [ P( x, y )] ≡ ∃x∃y [ ∼ P( x, y ) ]
∼ ∃x∃y [ P ( x, y )] ≡ ∀x∀y [ ∼ P( x, y ) ]
∼ ∀x∃y [ P ( x, y ) ] ≡ ∃x∀y [ ∼ P( x, y ) ]
∼ ∃x∀y [ P ( x, y ) ] ≡ ∀x∃y [ ∼ P( x, y ) ]


สิ่งที่นาสนใจ
∀x∀y [ P ( x, y ) ] ≡ ∀y∀x [ P ( x, y ) ]
 ∃x∃y [ P( x, y ) ] ≡ ∃y∃x [ P( x, y ) ]




                                                                                                 8

More Related Content

Viewers also liked

การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4adunjanthima
 
Afew good dads
Afew good dadsAfew good dads
Afew good dadsddrobbins
 
Economy Update August 19, 2011
Economy Update August 19, 2011Economy Update August 19, 2011
Economy Update August 19, 2011ar330011
 
Economy Update 5-August-2011
Economy Update 5-August-2011Economy Update 5-August-2011
Economy Update 5-August-2011ar330011
 
Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011ar330011
 
Economy Update 6th October 2011
Economy Update 6th October 2011Economy Update 6th October 2011
Economy Update 6th October 2011ar330011
 
Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011ar330011
 
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTARar330011
 
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...businesstooligans
 

Viewers also liked (15)

Real content
Real contentReal content
Real content
 
1 spun1
1 spun11 spun1
1 spun1
 
5ps online
5ps online5ps online
5ps online
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
 
Liza powerpoint
Liza powerpointLiza powerpoint
Liza powerpoint
 
Afew good dads
Afew good dadsAfew good dads
Afew good dads
 
The Powerpoint
The Powerpoint The Powerpoint
The Powerpoint
 
Economy Update August 19, 2011
Economy Update August 19, 2011Economy Update August 19, 2011
Economy Update August 19, 2011
 
Economy Update 5-August-2011
Economy Update 5-August-2011Economy Update 5-August-2011
Economy Update 5-August-2011
 
Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011
 
Economy Update 6th October 2011
Economy Update 6th October 2011Economy Update 6th October 2011
Economy Update 6th October 2011
 
Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011Economy Update 1st September 2011
Economy Update 1st September 2011
 
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR
" The Evolution of Benzene " by Churairat PTTAR
 
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...
How To Win-Win-Win: A Social Media Manager's Manifesto For Tapping Into The W...
 

Logic content

  • 1. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ตรรกศาสตร ม.4 เทอมตน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม ประพจน การแจกแจงคาความจริง การเชื่อมประพจน นิเสธของประพจน ประพจนที่สมมูลกัน สัจนิรันดร การอางเหตุผล ประโยคเปด และ ตัวบงปริมาณ 1
  • 2. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ประพจน ประพจน คือ ประโยคที่มคาความจริง เปนจริงหรือเท็จ อยางใดอยางหนึ่งเทานัน ี ้ ขอสังเกต ประโยคที่เปนประพจน จะมีลักษณะเปน ประโยคบอกเลา หรือ ปฏิเสธ ประโยคที่ไมเปนประพจน จะมีลักษณะเปน ประโยคคําถาม, คําสั่ง, ขอรอง, อุทาน การแจกแจงคาความจริง จริง ใชสญลักษณ T ั เท็จ ใชสญลักษณ F ั มี 2 ประพจนแจกแจงคาความจริงไดดงนี้ ั มี 3 ประพจนแจกแจงคาความจริงไดดงนี้ ั p q p q r T F T F T T T T T T F T F T T F F F F T แจกแจงคาความจริงได 4 แบบ T F F T T F F T F F F F แจกแจงคาความจริงได 8 แบบ จํานวนวิธีการแจกแจง = 2n โดยที่ n คือจํานวนประพจน เชน ถามี 4 ประพจน จะเขียนแจกแจงคาความจริงได 24 = 16 แบบ หรือ ถามี 5 ประพจน จะเขียนแจกแจงคาความจริงได 25 = 32 แบบ 2
  • 3. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การเชื่อมประพจน และ นิเสธของประพจน การเชื่อมประพจน และ ( ∧ ) หรือ (∨) p q p∧q p q p∨q T F F T F T T T T T T T F T F F T T F F F F F F ขอสังเกต ขอสังเกต เชื่อมกันดวย และ ( ∧ ) เชื่อมกันดวย หรือ ( ∨ ) เปนจริงได กรณีเดียว คือ เปนจริงทั้งคู เปนเท็จได กรณีเดียว คือ เปนเท็จทั้งคู (มีเท็จอยู เปนเท็จเลย) (มีจริงอยู เปนจริงเลย) ถา...แลว (→) ก็ตอเมื่อ (↔) p q p→q p q p↔q T F F T F F T T T T T T F T T F T F F F T F F T ขอสังเกต ขอสังเกต เชื่อมกันดวย ถา...แลว ( → ) เชื่อมกันดวย ก็ตอเมื่อ ( ↔ ) เปนเท็จได กรณีเดียว คือ เปนจริงได เมื่อ ทั้งคูมีคาความจริงเหมือนกัน ขางหนาเปนจริง ขางหลังเปนเท็จ นิเสธ (∼) p ∼p T F F T ขอสังเกต ∼ (∼ p) ≡ p 3
  • 4. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ***ขอควรระวังในการหาคาความจริงของประพจน*** ถามีวงเล็บใหหาคาความจริงภายในวงเล็บกอน แตถาไมมีวงเล็บใหหาคาความจริง ∼ กอน แลวจึง ∧ , ∨ แลวจึง → แลวจึง ↔ ตามลําดับ ประพจนที่สมมูลกัน ประพจนท่สมมูลกัน คือ ประพจนท่มคาความจริงเหมือนกันทุกกรณี ี ี ี ***ประพจนที่สมมูลกันที่ตองจํา 1) น → ล ≡ ∼ น ∨ ล , น ∨ ล ≡ ∼ น → ล 2) ∼ (น → ล) ≡ น ∧ ∼ ล , ∼ (น ∧ ล) ≡ น → ∼ ล 3) น → ล ≡ ∼ ล → ∼ น 4) ∼ (น ∨ ล) ≡ ∼ น ∧ ∼ ล , ∼ (น ∧ ล) ≡ ∼ น ∨ ∼ ล 5) น ↔ ล ≡ (น → ล) ∧ (ล → น) 6) น ∧ (ก ∨ ล) ≡ (น ∧ ก) ∨ (น ∧ ล) , น ∨ (ก ∧ ล) ≡ (น ∨ ก) ∧ (น ∨ ล) 4
  • 5. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม สัจนิรันดร ประพจนท่เปนสัจนิรนดร คือ ประพจนทมีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี ี ั ี่  การพิสูจนสจนิรันดร ั ขั้นแรก สมมุติใหประพจนที่ตองการพิสูจนสัจนิรันดร เปนเท็จ ขั้นตอมา หาคาความจริงของประพจนยอย สรุป ถาคาความจริงของประพจนยอยขัดแยงกัน สรุป เปนสัจนิรันดร ถาคาความจริงของประพจนยอยไมขัดแยงกัน สรุป ไมเปนสัจนิรันดร ถาสรุปหาคาความจริงของประพจนยอยไมได สรุป ไมเปนสัจนิรนดรั ***หมายเหตุ สําหรับประพจนทเี่ ปนเท็จไดหลายกรณี เชน ประพจนที่เชื่อมดวย ↔ กอนจะสรุปวาเปนสัจนิรดร ตองพิสูจน ใหครบทุกกรณีกอนวาประพจนยอยขัดแยงกัน ั  แตถาพบกรณีใดไมขัดแยงกัน(คลอยตาม)สามารถสรุปไดเลยวาไมเปนสัจนิรนดร ั สําหรับตัวเชื่อม ↔ จะดูแบบนีก็ได ้ ถาประพจนทางดานซาย กับ ทางดานขวา ของเครื่องหมาย ↔ สมมูลกัน จะสรุปไดวา เปนสัจนิรันดร แตถา ไมสมมูลกัน จะสรุปไดวา ไมเปนสัจนิรันดร  5
  • 6. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การอางเหตุผล (เหตุที่1 ∧ เหตุที่2 ∧ ... ∧ เหตุที่ n ) → ผล พิสูจนสัจนิรนดร ั ขั้นแรก สมมุติใหประพจนที่ตองการพิสูจนสัจนิรันดร เปนเท็จ ขั้นตอมา หาคาความจริงของประพจนยอย สรุป ถาคาความจริงของประพจนยอยขัดแยงกัน สรุป เปนสัจนิรันดร  ถาคาความจริงของประพจนยอยไมขัดแยงกัน สรุป ไมเปนสัจนิรันดร  ถาสรุปหาคาความจริงของประพจนยอยไมได สรุป ไมเปนสัจนิรันดร ถาประพจนนี้เปนสัจนิรันดร ถาประพจนนไมเปนสัจนิรันดร ี้ การอางเหตุผลนี้จะสมเหตุสมผล การอางเหตุผลนี้จะไมสมเหตุสมผล ***ดังนันการพิสูจนวา การอางเหตุผลนี้สมเหตุสมผลหรือไม ้ จะตองพิสจนวาประพจนนี้เปนสัจนิรนดรหรือไม ู ั 6
  • 7. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ประโยคเปด และ ตัวบงปริมาณ ประโยคเปด ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธที่มตวแปร โดยเมื่อแทนคาตัวแปรดวยสมาชิกใน ี ั เอกภพสัมพัทธ ประโยคเปดจะกลายเปนประพจน สัญลักษณ ประโยคเปดที่มี x เปนตัวแปร ใชสัญลักษณ P( x), Q( x),... ***ประโยคเปดใชตัวเชื่อมตางๆ (∧, ∨, →, ↔) และ นิเสธ (∼) ไดเหมือนกับที่ใชกับประพจน ตัวบงปริมาณ 1 ตัว กําหนดให U คือ เอกภพสัมพัทธ ∀x [ P ( x) ] หมายถึง สมาชิกทุกตัว (แตละตัว) ในเอกภพสัมพัทธ แทนคาใน x ของประโยคเปด P( x) ∃x [ P ( x) ] หมายถึง สมาชิกอยางนอย 1 ตัว ในเอกภพสัมพัทธ แทนคาใน x ของประโยคเปด P( x) ∀x [ P ( x) ] มีคาความจริงเปนจริง เมื่อ สมาชิกทุกตัว(แตละตัว)ในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนจริง ∀x [ P ( x) ] มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนเท็จ ∃x [ P ( x ) ]มีคาความจริงเปนจริง เมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัวในเอกภพสัมพัทธแทนคาใน P( x) แลวเปนจริง ∃x [ P( x) ] มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อ ไมมีสมาชิกตัวใดเลยในเอกภพสัมพัทธที่แทนคาใน P( x) แลวเปนจริง สูตรนี้ออกสอบบอยมาก!!! ∼ ∀x [ P ( x) ] ≡ ∃x [ ∼ P ( x) ] ∼ ∃x [ P( x)] ≡ ∀x [ ∼ P ( x) ] รูไวนะ!!! กําหนดให P( x) คือ 3x ≥ 2 จะได ∼ P( x) คือ 3x < 2 7
  • 8. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ตัวบงปริมาณ 2 ตัว กําหนดให U คือ เอกภพสัมพัทธ มีทั้งหมด 8 แบบ 1) ∀x∀y [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง 2) ∀x∃y [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง 3) ∃x∀y [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง 4) ∃x∃y [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวเปนจริง 5) ∀y∀x [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง 6) ∀y∃x [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําแตละตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง 7) ∃y∀x [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําทุกตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง 8) ∃y∃x [ P( x, y)] เปน จริง เมื่อ นําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน y แลวสามารถนําอยางนอย 1 ตัวใน U แทนใน x แลวเปนจริง สูตรนี้ออกสอบบอยมาก!!! ∼ ∀x∀y [ P( x, y )] ≡ ∃x∃y [ ∼ P( x, y ) ] ∼ ∃x∃y [ P ( x, y )] ≡ ∀x∀y [ ∼ P( x, y ) ] ∼ ∀x∃y [ P ( x, y ) ] ≡ ∃x∀y [ ∼ P( x, y ) ] ∼ ∃x∀y [ P ( x, y ) ] ≡ ∀x∃y [ ∼ P( x, y ) ] สิ่งที่นาสนใจ ∀x∀y [ P ( x, y ) ] ≡ ∀y∀x [ P ( x, y ) ] ∃x∃y [ P( x, y ) ] ≡ ∃y∃x [ P( x, y ) ] 8