SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นายแสงธรรม สระจันทร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 18
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา คอมพิวเตอร์ (ง302010)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
คานา
ข
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้น 5/3 เพื่อให้ได้
ศึกษาหาความรู้ในเรื่องความรู้เบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ในเรื่องต่างๆมากมาย ทั้งความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ การจัดการข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล และด้านอื่นๆอีกมาก คนที่ไม่รู้อ่ะไรก็จะรู้ในด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ในด้านต่างๆส่วนคนที่รู้ในด้านนี้แล้วก็อาจจะได้รู้เรื่องคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น และได้ศึกษาอย่างเข้าใจ
เพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน
ผู้ทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหา
ข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา
ณ ที่นี้ด้วย
ผู้จัดทำ
วันที่ 8/2/2559
สารบัญ
คอมพิวเตอร์คืออะไร......................................................................................................................1
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ .............................................................................................................2
ค
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ .......................................................................................................3
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ........................................................................................3
เมนเฟรม (Mainframe) .............................................................................................................4
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)...............................................................................................4
เวิร์คสเตชัน (Workstation) และไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)........................................4
คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers).............................................................................5
คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer) ...........................................................................6
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์.................................................................................................6
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ...............................................................................................................6
ซอฟต์แวร์ (Software)................................................................................................................7
บุคลากร (Peopleware).............................................................................................................8
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)................................................................................9
กระบวนการทางาน (Procedure)................................................................................................9
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ .........................................................................................................10
ยุคของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................11
ยุคที่ 1 ....................................................................................................................................11
ยุคที่ 2....................................................................................................................................11
ยุคที่ 3 ....................................................................................................................................12
ยุคที่ 4....................................................................................................................................13
สารบัญรูปภาพ
รูปภาพที่ 1 วงจรการทางานพื้นฐาน ................................................................................................................1
รูปภาพที่ 2 องค์ประกอบสาคัญ......................................................................................................................6
ง
รูปภาพที่ 3 เครื่อง Difference Engine......................................................................................................... 10
รูปภาพที่ 4 UNIVAC.................................................................................................................................. 11
รูปภาพที่ 5 เทอร์มินัล (terminal) ................................................................................................................ 13
จ
คอมพิวเตอร์คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการ
จัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดย
คุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้
(programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือกมาใช้
งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของ
หัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็น
งานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
- รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีบ
อร์ด หรือ เมาส์
- ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อแปลงให้อยู่ในรูป
อื่นตามที่ต้องการ
- แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์
(output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ
- เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บ
ข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต
รูปภาพที่ 1 วงจรการทางานพื้นฐาน
2
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์
เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนา
คอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทาง
เครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติ
ต่าง ๆ คือ
- ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที
- ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี
ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
- ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผล
ของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่
โปรแกรม
- เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน
ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร
- ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสาร
ผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway)
ผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์ จะต้องศึกษาหลักการทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
ประยุกต์ต่าง ๆ รวมทั้งจะต้องศึกษาถึงผลกระทบจากคอมพิวเตอร์ต่อสังคมในวันนี้ ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ
โดยในแง่บวกนั้นจะมองเห็นได้ง่ายจากสภาพแวดล้อมทั่วไป นั่นคือทาให้สามารถทางานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก
และรวดเร็วขึ้น เริ่มตั้งแต่การจัดเก็บเอกสาร การพิมพ์จดหมาย การจัดทาหนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ การ
ฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การจ่างเงินซื้อสินค้า ตรวจความผิดปกติของทารกในครรภ์ และในทางการแพทย์อื่น
ๆ อีกมากมาย
ในแง่ลบก็มีไม่น้อย เช่น
o โรงงานผลิตอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สารเคมีเป็นจานวนมาก ซึ่งจะทาให้เกิด
มลพิษต่าง ๆ มากมาย
3
o ผู้ใช้อาจมีอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ เช่น
อาจมีการปวดหลังไหล่ที่เกิดจากการนั่งอยู่หน้าเครื่องนาน ๆ หรืออาจเกิดอาการ Carpal
Tunnel Syndrome (CTS) ซึ่งเป็นอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากเส้นประสาทบริเวณข้อมูลถูกกด
ทับเป็นเวลานาน ๆ โดยอาจเกิดจากการใช้คีย์บอร์ดหรือเมาส์ รวมทั้งอาจมีอันตรายจากรังสี
ออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ด้วย
o ถ้าคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดในระบบที่มีความสาคัญมาก ๆ อาจเป็นอันตรายกับชีวิต
มนุษย์ได้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็นต้น
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่อง
ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก คือ
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทางานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่จะมีราคาแพงที่สุด
รวมทั้งต้องอยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละออง ทาให้ต้องเป็นองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
จึงสามารถจัดหาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาใช้งานได้ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้จานวนหลาย ๆ
คน นามาใช้ในการคานวณที่ซับซ้อน เช่นการคานวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหกรรมน้ามันเป็นต้น
รวมทั้งพบมากในวงการวิจัยในห้องปฎิบัติการต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรกสร้างในปี ค.ศ 1960 ที่องค์กรของสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการออกแบบให้
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ความเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซูเปอร์ทางานได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการใช้หลักที
เรียกว่า มัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) อันเป็นใช้หน่วยประมวลผลจานวนหลายตัว เพื่อทาให้
คอมพิวเตอร์สามารถทางานหลายงานพร้อมกัน โดยที่งานเหล่านั้นมีความแตกต่างกัน งานที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือ
อาจจะเป็นงานที่มีขนาดใหญ่ที่ถูกแบ่งย่อยไปในประมวลผลแต่ละตัวก็ทางานได้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหน่วย
ประมวลกลางทั้งหมด 4 ตัว แต่ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความพัฒนามากจึงทาให้มีหน่วยประมวลผลนับร้อยตัว
ทางานพร้อม ๆ กัน
ความเร็วของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วยเป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่ง
พันล้านวินาที และ จิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคานวณหนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาทีซึ่งคอมพิวเตอร์
สามารถคานวณได้ถึง 128 จิกะฟลอป และใช้เครื่องที่มี สายส่งข้อมูล (data bus) กว้าง 32 หรือ 64 บิต
จากคุณสมบัติของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าผู้ใช้ควรนาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไป
ใช้ในการคานวณมากๆ เช่น งานด้านกราฟฟิก หรือการคานวณทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
4
เมนเฟรม (Mainframe)
เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป จัดเป็นเครื่องที่มี
ประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่
ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน
3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรอทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการ
อุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์
เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้
การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทางานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจานวณ
ประมวลผลน้อยกว่า หน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วย เมกะฟรอป (megaflop) หรือการคานวณ
หนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที
ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ ประกอบอยู่ด้วย เพื่อ
ช่วยในการทางานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้
Host processor เป็นเครื่องหลักทาหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการ
คานวณต่างๆ
Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่า จอเทอร์มินัล
ระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
Bank-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล
มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
เริ่มพัฒนาขึ้นใน ค.ศ 1960 ต่อมาจากบริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้
ประกาศตัวมินิคอมพิวเตอร์ DEC POP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ 1965 ซึ่งได้รับความ
นิยมจากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมมาก เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะใช้
หลักการของมัลติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้ใช้ได้ประมาณ 200 คนพร้อม ๆ
กัน แต่สิ่งที่แตกต่างระหว่างเครื่องเมนเฟรมและเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือความเร็วในการทางาน เนื่องจาก
เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทางานได้ช้ากว่าการควบคุมผู้ใช้งานต่าง ๆ การะทาได้ในจานวนที่น้อยกว่า รวมทั้สื่อ
ที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ มีความจุไม่สูงเท่าเมนเฟรม ดังนั้นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จึงจัดได้ว่ามินิคอมพิวเตอร์เป็น
ขนาดกลาง
เวิร์คสเตชัน (Workstation) และไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
ในการทางานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะสามารถควบคุมการรับข้อมูลและดูการ
แสดงผลบนจอภาพได้เท่านั้น ไม่สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ชนิดที่
5
มีผู้ใช้คนเดียวนั้น จะทาให้ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูล
หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บข้อมูลสารอง นอกจากนี้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้โปรแกรม
ได้เอง โดยไม่ต้องกังวลว่าจะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อื่น
คอมพิวเตอร์สาหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเป็น 2 รุ่น คือ
เวิร์คสเตชั่น ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวนด้าน
วิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกต่าง ๆ เช่น การนามาช่วยออกแบบ
ภาพกราฟฟิกในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ ๆ เป็นต้น ซึ่งจากการที่ต้องทางานกราฟฟิกที่มี
ความละเอียดสูง ทาให้เวิร์คสเตชั่นใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารอง
จานวนมากด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่มเรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชั่นนี้ว่า ซูเปอร์ไมโคร (supermicro) เพราะออกแบบ
มาให้ใช้งานแบบตั้งโต๊ะ แต่ชิปที่ใช้ทางานนั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจาก เวิร์คสเตชั่นส่วนมากใช้ชิปประเภท
RISC (reduce instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจานวนคาสั่งที่สามารถใช้สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่
จาเป็น เพื่อให้สามารถทางานได้ด้วยความเร็วสูง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยมอย่างเมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง
IBM PC ออกมา ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจะมี 2 ชนิดคือ Apple Macintosh และ IBM
PC
ในปัจจุบัน ความแตกต่างหรือช่องว่างระหว่างเครื่องเวิร์คสเตชั่นและเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เริ่มลด
น้อยลงเรื่อย ๆ เพราะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพของเครื่องและความเร็วใน
การแสดงผลที่ดีกว่าเครื่องเวิร์คสเตชั่นจานวนมาก
คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers)
เป็นคอมพิวเตอร์แบบใหม่ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนว
คอมพิวเตอร์อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์เครือข่ายหรือที่นิยมเรียกว่า NC จะถูกออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
ราคาต่า ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาน้อย ทาให้เหมาะสมกับการใช้งานปริมาณมาก ๆ ในองค์กรขนาดใหญ่
รวมทั้งการเชื่อมต่ออินเตอร์เนต
คอมพิวเตอร์เครือข่ายจะไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสารองอยู่ในตัว การจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมตะอยู่
เครื่องศูนย์กลาง (Server) ซึ่งมีข้อดีคือการเปลี่ยนรุ่น (upgrade) ซอฟต์แวร์สามารถทางานได้ง่าย สามารถ
ทางานจากเครื่องคอมพิวตอร์เครือข่ายเครื่องใดก็ได้ รวมทั้งง่ายต่อการดูแลรักษา (mailtenance) ของผู้ดูแล
ระบบคอมพิวเตอร์
6
คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ ทาให้มองไม่เห็นรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยมใช้
ในการทางานเฉพาะด้านโดยควบคุมการทางานบางอย่าง เช่น เตาอบไมโครเวฟ ระบบการเติมน้ามัน นาฬิกา
ข้อมือ อุปกรณ์เล่นเกม เป็นต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง
(peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย
หน่วยรับข้อมูล ( input unit )
หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU
รูปภาพที่ 2 องค์ประกอบสาคัญ
7
หน่วยความจาหลัก
หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )
หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผล
กลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์
หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทา
หน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่
กับหน่วยความจาหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน
หน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทา
การลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาด
ใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่า
หน่วยความจาหลักมาก
ซอฟต์แวร์ (Software)
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี
ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่ง
หรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และ
มี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์
ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็น
ส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความ
ต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
8
บุคลากร (Peopleware)
เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยู
เซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคง
ต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางาน
พื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความ
ชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user)
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้าน
คอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และ
พัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม
(programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และ
เป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป
บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่
การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้
ดังนี้
การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือ
ควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น
การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer)
เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ
ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่
จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น
9
การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์
(Computer Operator) เป็นต้น
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมา
ประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็น
ข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ
ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน
สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดัง
ตาราง
กระบวนการทางาน (Procedure)
กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่าง
จากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้
งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่าน
กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้
จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน
สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
เลือกรายการ
ใส่จานวนเงินที่ต้องการ
รับเงิน
รับใบบันทึกรายการ และบัตร
การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับ
ช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสาหรับผู้ควบคุมเครื่อง
(Operation Manual) คู่มือสาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
10
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ต้นกาเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็น
วิธีการคานวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคานวณอย่างง่าย ๆ คือ" กระดานคานวณ" และ "ลูกคิด"
ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคาแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กาเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ คือ Blaise
Pascal โดยเครื่องของเขาสามารถคานวณการบวกการลบได้อย่างเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนัก
คณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณ
และหารได้ด้วย
ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถโปแก
รมได้ โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู
(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรม
เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ
ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทาการสร้างเครื่องสาหรับแก้สมการ
โดยใช้พลังงานไอน้า เรียกว่า difference engine และถัดจากนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
สมัยใหม่ เมื่อเขาได้ทาการออกแบบ เครื่องจักรสาหรับทาการวิเคราะห์ (analytical engine) โดยใช้พลังงาน
จากไอน้า ซึ่งได้มีการออกแบบให้ใช้บัตรเจาะรูของ Jacquard ในการป้อนข้อมูล ทาให้อุปกรณ์ชิ้นนี้มีหน่วยรับ
เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage
รูปภาพที่ 3 เครื่อง Difference Engine
11
ยุคของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของ
ฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 4 ยุคด้วยกัน
ยุคที่ 1 (1951-1958)
ก่อนหน้าปี 1951 เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น
จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดตั้งบริษัทเพื่อทาตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัด
มาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก
(magnetic drum) เป็นส่วนประกอบสาคัญ แต่หลอดสุญญากาศจะมีไม่น่าเชื่อถือสูง เป็นเหตุให้ต้องใช้ความ
พยายามอย่างมากในการทาให้เครื่องในยุคนั้นสามารถทางานได้ ส่วนดรัมแม่เหล็กถูกใช้เป็นหน่วยความจาหลัก
(primary memory) บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมากในยุคแรกนี้ ส่วนหน่วยบันทึกข้อมูลสารอง (secondary
storage) ซึ่งใช้เก็บทั้งข้อมูลและคาสั่งโปรแกรมในยุคนี้จะอยู่ในบัตรเจารู จนปลายยุคนี้เทปแม่เหล็กจึงได้ถูก
นามาใช้เป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสารอง
ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐาน 2 ทั้งสิ้น ทาให้ผู้ที่จะ
สามารถโปรแกรมให้เครื่องทางานได้ ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
ยุคที่ 2 (1959-1964)
รูปภาพที่ 4 UNIVAC
12
การพัฒนาที่สาคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วย
ทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจาพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้
magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสารองที่มีความเร็วสูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้
ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้าง
โปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว
ภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสาหรับยุคนี้
โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้าย
คลืงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทาให้ต้อง
ใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์
ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทางานได้ช้า
มาก ทาให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทาการพัฒนา
เพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก
Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการ
จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทางานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วย
แสดงผลอีกต่อไป
ยุคที่ 3 (1965-1971)
ในยุคที่ 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนา แผงวงจรรวม (IC หรือ
integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการ
ประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทาให้เวลาการทางานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหนึ่งส่วนพันล้านวินาที
นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกาเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment
13
Corportion (DEC) ซึ่งต่อมาก็มีการใช้มินิคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์กันอย่างแผร่หลาย
รวมทั้งมีการใช้งาน เทอร์มินัล (terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ผ่านทาง คีย์บอร์ด (keyboard) ทาให้การ
ป้อนข้อมูลและพัฒนาโปรแกรมกระทาได้สะดวกขึ้น
ยุคที่ 4 (1971-ปัจจุบัน)
ในยุคที่ 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมได้พัฒนาขึ้นเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale
integartion) และจากนั้นก็มีการพัฒนาต่าเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion -
รูปภาพที่ 5 เทอร์มินัล (terminal)
14
VLSI) ซึ่งทาให้เกิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซึ่งเป็นการใช้แผ่นชิฟ
เพียงแผ่นเดียวสาหรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คานวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit)
ของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเทคนิคในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กันอย่างหนาแน่นบนแผ่นซิลิกอนนี้ ได้รับการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจุบันสามารถเก็บทรานซิสเตอร์นับล้านตัวไว้ในชิปเพียงหนึ่งแผ่น ในส่วนของหน่วย
บันทึกข้อมูลสารอง (secondary storage) ก็ได้เพิ่มความจุขึ้นอย่างมากจนสามารถเก็บข้อมูลนับพันล้าน
ตัวอักษรได้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 นิ้ว
เนื่องจากการเพิ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสารองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้
สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจานวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data
base ) นอกจากนี้ ยังมีการถือกาเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้
ชิป intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลาดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้
เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนาเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-
Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนา
การพัฒนาที่สาคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทาให้
คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ายท้องถิ่น
(Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกัน
ในพื้นที่ไท่ห่าวกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทา
หน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน
บรรณานุกรม
-/.2559./เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต.(ออนไลน์)./ http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/intro.htm./
8 กุมภาพันธ์ 2559
15
16
17
18
19
20
21

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงcodexstudio
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์Y'Yuyee Raksaya
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขต
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขตเกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขต
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขตDuangnapa Inyayot
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์krupan
 
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 25629GATPAT1
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมPrincess Mind
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3phatrinn555
 

What's hot (20)

ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขต
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขตเกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขต
เกียรติบัตรกรรมการตัดสินระดับเขต
 
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ใบงานที่  1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562
O-Net ภาษาอังกฤษ ม.6 2562
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Thalatchanan Netboot
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (20)

ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

  • 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นายแสงธรรม สระจันทร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 18 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา คอมพิวเตอร์ (ง302010) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 คานา
  • 2. ข รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้น 5/3 เพื่อให้ได้ ศึกษาหาความรู้ในเรื่องความรู้เบื้องต้นของคอมพิวเตอร์ในเรื่องต่างๆมากมาย ทั้งความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ การจัดการข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล และด้านอื่นๆอีกมาก คนที่ไม่รู้อ่ะไรก็จะรู้ในด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ในด้านต่างๆส่วนคนที่รู้ในด้านนี้แล้วก็อาจจะได้รู้เรื่องคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น และได้ศึกษาอย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน ผู้ทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหา ข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ วันที่ 8/2/2559 สารบัญ คอมพิวเตอร์คืออะไร......................................................................................................................1 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ .............................................................................................................2
  • 3. ค ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ .......................................................................................................3 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) ........................................................................................3 เมนเฟรม (Mainframe) .............................................................................................................4 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)...............................................................................................4 เวิร์คสเตชัน (Workstation) และไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)........................................4 คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers).............................................................................5 คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer) ...........................................................................6 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์.................................................................................................6 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ...............................................................................................................6 ซอฟต์แวร์ (Software)................................................................................................................7 บุคลากร (Peopleware).............................................................................................................8 ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)................................................................................9 กระบวนการทางาน (Procedure)................................................................................................9 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ .........................................................................................................10 ยุคของคอมพิวเตอร์ .....................................................................................................................11 ยุคที่ 1 ....................................................................................................................................11 ยุคที่ 2....................................................................................................................................11 ยุคที่ 3 ....................................................................................................................................12 ยุคที่ 4....................................................................................................................................13 สารบัญรูปภาพ รูปภาพที่ 1 วงจรการทางานพื้นฐาน ................................................................................................................1 รูปภาพที่ 2 องค์ประกอบสาคัญ......................................................................................................................6
  • 4. ง รูปภาพที่ 3 เครื่อง Difference Engine......................................................................................................... 10 รูปภาพที่ 4 UNIVAC.................................................................................................................................. 11 รูปภาพที่ 5 เทอร์มินัล (terminal) ................................................................................................................ 13
  • 5.
  • 6. คอมพิวเตอร์คืออะไร คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการ จัดการกับข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดย คุณสมบัติที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือการที่สามารถกาหนดชุดคาสั่งล่วงหน้าหรือโปรแกรมได้ (programmable) นั่นคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาสั่งที่เลือกมาใช้ งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของ หัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธภาพ มีความถูกต้อง และมีความรวดเร็ว อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็น งานชนิดใดก็ตาม เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ - รับข้อมูล (Input) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการรับข้อมูลจากหน่วยรับข้อมูล (input unit) เช่น คีบ อร์ด หรือ เมาส์ - ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการประมวลผลกับข้อมูล เพื่อแปลงให้อยู่ในรูป อื่นตามที่ต้องการ - แสดงผล (Output) เครื่องคอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมายังหน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit) เช่น เครื่องพิมพ์ หรือจอภาพ - เก็บข้อมูล (Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลัพธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บ ข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต รูปภาพที่ 1 วงจรการทางานพื้นฐาน
  • 7. 2 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่าคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ที่มีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะกับการนา คอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศเหล่านั้นสามารถนามาพิมพ์ออกทาง เครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคนก็ได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะมีคุณสมบัติ ต่าง ๆ คือ - ความเร็ว (speed) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้สามารถทางานได้ถึงร้อยล้านคาสั่งในหนึ่งวินาที - ความเชื่อถือ (reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันนี้จะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี ข้อผิดพลาด และไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย - ความถูกต้องแม่นยา (accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการคานวณที่ถูกต้องเสมอหากผล ของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่ โปรแกรม - เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความสูงมากกว่าหนึ่งพันล้านตัวอักษร และสาหรับระบบ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหนึ่งล้าน ๆ ตัวอักษร - ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว (move information) โดยใช้การติดต่อสื่อสาร ผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกันทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วนสารสนเทศ (Information Superhighway) ผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์ จะต้องศึกษาหลักการทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ รวมทั้งจะต้องศึกษาถึงผลกระทบจากคอมพิวเตอร์ต่อสังคมในวันนี้ ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ โดยในแง่บวกนั้นจะมองเห็นได้ง่ายจากสภาพแวดล้อมทั่วไป นั่นคือทาให้สามารถทางานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็วขึ้น เริ่มตั้งแต่การจัดเก็บเอกสาร การพิมพ์จดหมาย การจัดทาหนังสือพิมพ์และวารสารต่าง ๆ การ ฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การจ่างเงินซื้อสินค้า ตรวจความผิดปกติของทารกในครรภ์ และในทางการแพทย์อื่น ๆ อีกมากมาย ในแง่ลบก็มีไม่น้อย เช่น o โรงงานผลิตอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องใช้สารเคมีเป็นจานวนมาก ซึ่งจะทาให้เกิด มลพิษต่าง ๆ มากมาย
  • 8. 3 o ผู้ใช้อาจมีอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ เช่น อาจมีการปวดหลังไหล่ที่เกิดจากการนั่งอยู่หน้าเครื่องนาน ๆ หรืออาจเกิดอาการ Carpal Tunnel Syndrome (CTS) ซึ่งเป็นอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากเส้นประสาทบริเวณข้อมูลถูกกด ทับเป็นเวลานาน ๆ โดยอาจเกิดจากการใช้คีย์บอร์ดหรือเมาส์ รวมทั้งอาจมีอันตรายจากรังสี ออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ด้วย o ถ้าคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดในระบบที่มีความสาคัญมาก ๆ อาจเป็นอันตรายกับชีวิต มนุษย์ได้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็นต้น ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทางานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่จะมีราคาแพงที่สุด รวมทั้งต้องอยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละออง ทาให้ต้องเป็นองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น จึงสามารถจัดหาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาใช้งานได้ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้จานวนหลาย ๆ คน นามาใช้ในการคานวณที่ซับซ้อน เช่นการคานวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหกรรมน้ามันเป็นต้น รวมทั้งพบมากในวงการวิจัยในห้องปฎิบัติการต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ซูเปอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรกสร้างในปี ค.ศ 1960 ที่องค์กรของสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการออกแบบให้ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ความเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซูเปอร์ทางานได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการใช้หลักที เรียกว่า มัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing) อันเป็นใช้หน่วยประมวลผลจานวนหลายตัว เพื่อทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถทางานหลายงานพร้อมกัน โดยที่งานเหล่านั้นมีความแตกต่างกัน งานที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือ อาจจะเป็นงานที่มีขนาดใหญ่ที่ถูกแบ่งย่อยไปในประมวลผลแต่ละตัวก็ทางานได้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหน่วย ประมวลกลางทั้งหมด 4 ตัว แต่ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความพัฒนามากจึงทาให้มีหน่วยประมวลผลนับร้อยตัว ทางานพร้อม ๆ กัน ความเร็วของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วยเป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่ง พันล้านวินาที และ จิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคานวณหนึ่งพันล้านครั้งในหนึ่งวินาทีซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถคานวณได้ถึง 128 จิกะฟลอป และใช้เครื่องที่มี สายส่งข้อมูล (data bus) กว้าง 32 หรือ 64 บิต จากคุณสมบัติของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่าผู้ใช้ควรนาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไป ใช้ในการคานวณมากๆ เช่น งานด้านกราฟฟิก หรือการคานวณทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
  • 9. 4 เมนเฟรม (Mainframe) เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป จัดเป็นเครื่องที่มี ประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ ในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเครื่องระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของผู้ใช้เครื่องเมนเฟรอทั้งหมด เครื่องเมนเฟรมจะเป็นเครื่องที่มีขนาดใหญ่ ต้องอยู่ในห้องที่ได้รับการ อุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะได้ การพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทางานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจานวณ ประมวลผลน้อยกว่า หน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วย เมกะฟรอป (megaflop) หรือการคานวณ หนึ่งล้านครั้งในหนึ่งวินาที ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ ประกอบอยู่ด้วย เพื่อ ช่วยในการทางานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้ Host processor เป็นเครื่องหลักทาหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการ คานวณต่างๆ Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่า จอเทอร์มินัล ระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก Bank-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เริ่มพัฒนาขึ้นใน ค.ศ 1960 ต่อมาจากบริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้ ประกาศตัวมินิคอมพิวเตอร์ DEC POP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ 1965 ซึ่งได้รับความ นิยมจากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมมาก เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะใช้ หลักการของมัลติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้ใช้ได้ประมาณ 200 คนพร้อม ๆ กัน แต่สิ่งที่แตกต่างระหว่างเครื่องเมนเฟรมและเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือความเร็วในการทางาน เนื่องจาก เครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทางานได้ช้ากว่าการควบคุมผู้ใช้งานต่าง ๆ การะทาได้ในจานวนที่น้อยกว่า รวมทั้สื่อ ที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ มีความจุไม่สูงเท่าเมนเฟรม ดังนั้นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จึงจัดได้ว่ามินิคอมพิวเตอร์เป็น ขนาดกลาง เวิร์คสเตชัน (Workstation) และไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) ในการทางานบนเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะสามารถควบคุมการรับข้อมูลและดูการ แสดงผลบนจอภาพได้เท่านั้น ไม่สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ชนิดที่
  • 10. 5 มีผู้ใช้คนเดียวนั้น จะทาให้ผู้ใช้สามารถควบคุมอุปกรณ์รอบข้างต่าง ๆ ได้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล ตลอดจนหน่วยเก็บข้อมูลสารอง นอกจากนี้ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้โปรแกรม ได้เอง โดยไม่ต้องกังวลว่าจะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมูลกับผู้ใช้อื่น คอมพิวเตอร์สาหรับผู้ใช้คนเดียว สามารถแบ่งออกเป็น 2 รุ่น คือ เวิร์คสเตชั่น ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคานวนด้าน วิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกต่าง ๆ เช่น การนามาช่วยออกแบบ ภาพกราฟฟิกในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อออกแบบชิ้นส่วนใหม่ ๆ เป็นต้น ซึ่งจากการที่ต้องทางานกราฟฟิกที่มี ความละเอียดสูง ทาให้เวิร์คสเตชั่นใช้หน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพมาก รวมทั้งมีหน่วยเก็บข้อมูลสารอง จานวนมากด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่มเรียกเครื่องระดับเวิร์คสเตชั่นนี้ว่า ซูเปอร์ไมโคร (supermicro) เพราะออกแบบ มาให้ใช้งานแบบตั้งโต๊ะ แต่ชิปที่ใช้ทางานนั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจาก เวิร์คสเตชั่นส่วนมากใช้ชิปประเภท RISC (reduce instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจานวนคาสั่งที่สามารถใช้สั่งงานให้เหลือเฉพาะที่ จาเป็น เพื่อให้สามารถทางานได้ด้วยความเร็วสูง ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยมอย่างเมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง IBM PC ออกมา ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจะมี 2 ชนิดคือ Apple Macintosh และ IBM PC ในปัจจุบัน ความแตกต่างหรือช่องว่างระหว่างเครื่องเวิร์คสเตชั่นและเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เริ่มลด น้อยลงเรื่อย ๆ เพราะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพของเครื่องและความเร็วใน การแสดงผลที่ดีกว่าเครื่องเวิร์คสเตชั่นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers) เป็นคอมพิวเตอร์แบบใหม่ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนว คอมพิวเตอร์อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์เครือข่ายหรือที่นิยมเรียกว่า NC จะถูกออกแบบให้เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี ราคาต่า ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาน้อย ทาให้เหมาะสมกับการใช้งานปริมาณมาก ๆ ในองค์กรขนาดใหญ่ รวมทั้งการเชื่อมต่ออินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์เครือข่ายจะไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสารองอยู่ในตัว การจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมตะอยู่ เครื่องศูนย์กลาง (Server) ซึ่งมีข้อดีคือการเปลี่ยนรุ่น (upgrade) ซอฟต์แวร์สามารถทางานได้ง่าย สามารถ ทางานจากเครื่องคอมพิวตอร์เครือข่ายเครื่องใดก็ได้ รวมทั้งง่ายต่อการดูแลรักษา (mailtenance) ของผู้ดูแล ระบบคอมพิวเตอร์
  • 11. 6 คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ ทาให้มองไม่เห็นรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยมใช้ ในการทางานเฉพาะด้านโดยควบคุมการทางานบางอย่าง เช่น เตาอบไมโครเวฟ ระบบการเติมน้ามัน นาฬิกา ข้อมือ อุปกรณ์เล่นเกม เป็นต้น องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU รูปภาพที่ 2 องค์ประกอบสาคัญ
  • 12. 7 หน่วยความจาหลัก หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (secondary storage unit ) หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผล กลาง จะนาไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์ หน่วยความจาหลัก จะทาหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทา หน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่ กับหน่วยความจาหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน หน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทา การลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาด ใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่า หน่วยความจาหลักมาก ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และ มี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ขึ้นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็น ส่วนควบคุมทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทางานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทางานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความ ต้องการของผู้ใช้แต่ละคน
  • 13. 8 บุคลากร (Peopleware) เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทางาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยู เซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทางานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคง ต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทาให้มีความ ชานาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้าน คอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนาความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และ พัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทางานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และ เป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนาไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ ดังนี้ การดาเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือ ควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น การพัฒนาและบารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และ ออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่ จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น
  • 14. 9 การพัฒนาและบารุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) ในการทางานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมา ประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็น ข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ ข้อมูล คือ ได้จากการสารวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนาไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดัง ตาราง กระบวนการทางาน (Procedure) กระบวนการทางานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทาตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่าง จากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้ งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่าน กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทางาน สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ เลือกรายการ ใส่จานวนเงินที่ต้องการ รับเงิน รับใบบันทึกรายการ และบัตร การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับ ช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสาหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสาหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น
  • 15. 10 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์ ต้นกาเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็น วิธีการคานวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคานวณอย่างง่าย ๆ คือ" กระดานคานวณ" และ "ลูกคิด" ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคาแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กาเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ คือ Blaise Pascal โดยเครื่องของเขาสามารถคานวณการบวกการลบได้อย่างเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนัก คณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณ และหารได้ด้วย ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถโปแก รมได้ โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู (punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรม เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทาการสร้างเครื่องสาหรับแก้สมการ โดยใช้พลังงานไอน้า เรียกว่า difference engine และถัดจากนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ เมื่อเขาได้ทาการออกแบบ เครื่องจักรสาหรับทาการวิเคราะห์ (analytical engine) โดยใช้พลังงาน จากไอน้า ซึ่งได้มีการออกแบบให้ใช้บัตรเจาะรูของ Jacquard ในการป้อนข้อมูล ทาให้อุปกรณ์ชิ้นนี้มีหน่วยรับ เครื่อง Difference Engine ของ Charles Babbage รูปภาพที่ 3 เครื่อง Difference Engine
  • 16. 11 ยุคของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของ ฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 4 ยุคด้วยกัน ยุคที่ 1 (1951-1958) ก่อนหน้าปี 1951 เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดตั้งบริษัทเพื่อทาตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัด มาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็นส่วนประกอบสาคัญ แต่หลอดสุญญากาศจะมีไม่น่าเชื่อถือสูง เป็นเหตุให้ต้องใช้ความ พยายามอย่างมากในการทาให้เครื่องในยุคนั้นสามารถทางานได้ ส่วนดรัมแม่เหล็กถูกใช้เป็นหน่วยความจาหลัก (primary memory) บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมากในยุคแรกนี้ ส่วนหน่วยบันทึกข้อมูลสารอง (secondary storage) ซึ่งใช้เก็บทั้งข้อมูลและคาสั่งโปรแกรมในยุคนี้จะอยู่ในบัตรเจารู จนปลายยุคนี้เทปแม่เหล็กจึงได้ถูก นามาใช้เป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสารอง ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐาน 2 ทั้งสิ้น ทาให้ผู้ที่จะ สามารถโปรแกรมให้เครื่องทางานได้ ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น ยุคที่ 2 (1959-1964) รูปภาพที่ 4 UNIVAC
  • 17. 12 การพัฒนาที่สาคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วย ทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจาพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสารองที่มีความเร็วสูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้ ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้าง โปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว ภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสาหรับยุคนี้ โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้าย คลืงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทาให้ต้อง ใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทางานได้ช้า มาก ทาให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทาการพัฒนา เพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการ จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทางานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทาให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วย แสดงผลอีกต่อไป ยุคที่ 3 (1965-1971) ในยุคที่ 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนา แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการ ประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทาให้เวลาการทางานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหนึ่งส่วนพันล้านวินาที นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกาเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment
  • 18. 13 Corportion (DEC) ซึ่งต่อมาก็มีการใช้มินิคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์กันอย่างแผร่หลาย รวมทั้งมีการใช้งาน เทอร์มินัล (terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ผ่านทาง คีย์บอร์ด (keyboard) ทาให้การ ป้อนข้อมูลและพัฒนาโปรแกรมกระทาได้สะดวกขึ้น ยุคที่ 4 (1971-ปัจจุบัน) ในยุคที่ 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมได้พัฒนาขึ้นเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากนั้นก็มีการพัฒนาต่าเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion - รูปภาพที่ 5 เทอร์มินัล (terminal)
  • 19. 14 VLSI) ซึ่งทาให้เกิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซึ่งเป็นการใช้แผ่นชิฟ เพียงแผ่นเดียวสาหรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คานวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเทคนิคในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กันอย่างหนาแน่นบนแผ่นซิลิกอนนี้ ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจุบันสามารถเก็บทรานซิสเตอร์นับล้านตัวไว้ในชิปเพียงหนึ่งแผ่น ในส่วนของหน่วย บันทึกข้อมูลสารอง (secondary storage) ก็ได้เพิ่มความจุขึ้นอย่างมากจนสามารถเก็บข้อมูลนับพันล้าน ตัวอักษรได้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 นิ้ว เนื่องจากการเพิ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสารองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้ สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจานวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากนี้ ยังมีการถือกาเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ ชิป intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลาดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้ เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนาเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object- Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนา การพัฒนาที่สาคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ายท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกัน ในพื้นที่ไท่ห่าวกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทา หน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน บรรณานุกรม -/.2559./เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต.(ออนไลน์)./ http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/intro.htm./ 8 กุมภาพันธ์ 2559
  • 20. 15
  • 21. 16
  • 22. 17
  • 23. 18
  • 24. 19
  • 25. 20
  • 26. 21