SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
มารินทร์ จานแก้ว
ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานา
การอ่านเป็นทักษะกระบวนการเรียนรู้พื้นฐานที่สาคัญที่ ผู้เรียนสามารถ
เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้อ่านจึงต้องมีความรู้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ในเรื่องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย
สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผู้เรียนต้องมี
ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการอ่านตามจุดประสงค์ที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้เกิดทักษะการเรียนรู้
ที่รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพ ผู้สอนจึงจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
จานวน ๕ ชุด ประกอบด้วย
๑ อ่านในใจลาดับความคิด
๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ
๓ สรรพันเลือกสรรตีความ
๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่อง การอ่านในใจ เป็นแบบฝึก
เสริมทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เพื่อให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้ความเข้าใจ สามารถฝึ กทักษะได้ด้วยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้และเพื่อเป็นสื่อช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนบรรลุ
ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริญเชื้อ ผู้อานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี นางยุพดี สุขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุณาอารีย์ นางอารมย์บุญ
เรืองรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิภา อารักษ์ นางสาวจงใจ ศรี
วิเชียร นางจรินทร์ พึ่งจงเจริญสุข ครูผู้เชี่ยวชาญ และคณะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปี
การศึกษา ๒๕๕๑ และผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนครอบครัวที่ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุน
การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
มารินทร์ จานแก้ว
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
จุดประสงค์การเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
ใบความรู้เรื่องการอ่านตีความ
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๔ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
กิจกรรมที่ ๑ ความรู้เรื่อง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
กิจกรรมที่ ๒ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข้อความ
กิจกรรมที่ ๓ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข่าว
กิจกรรมที่ ๔ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านเนื้อเพลง
กิจกรรมที่ ๕ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านนิทาน
กิจกรรมทบทวนความรู้เรื่อง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
แบบทดสอบหลังเรียน
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้เรื่องการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เกณฑ์การประเมินการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
แบบประเมินการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
บรรณานุกรม
คาชี้แจง
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถในแยกข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นเรื่องของที่อ่านได้อย่างถูกต้อง สามารถนาไปปฏิบัติ
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ขั้นตอนการฝึก
๑. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๓. ปฏิบัติแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕
๔. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
เล่มนี้แล้วนักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
๑. รู้และเข้าใจเรื่องข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๒. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้อ่านได้
๓. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวที่กาหนดให้อ่านได้
๔. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงที่กาหนดให้อ่านได้
๕. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากนิทานที่กาหนดให้อ่านได้
๖. มีมารยาทที่ดีและมีนิสัยรักการอ่าน
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ
๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท (x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
๑. ข้อใดเป็นลักษณะของข้อเท็จจริง
ก. มีความสมจริง
ข. เป็นการคาดคะเน
ค. ไม่สามารถพิสูจน์ได้
ง. เป็นการแสดงความรู้สึก
๒. ลักษณะของข้อคิดเห็นตรงกับข้อใด
ก. เป็นการคาดคะเน
ข. หลักฐานเชื่อถือได้
ค. สามารถพิสูจน์ได้
ง. มีความสมเหตุสมผล
๓. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง
ก. เดือนพฤษภาคมอยู่ในช่วงฤดูฝน
ข. เดือนพฤษภาคมโรงเรียนมักจะเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๑
ค. เดือนพฤษภาคมจะเป็นเดือนแรกที่ชาวนาเริ่มลงมือทานา
ง. เดือนพฤษภาคมโดยส่วนรวมแล้วจะมีผู้ป่วยโรคไข้หวัดสูงสุด
๔. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น
ก. จังหวัดกาญจนบุรีมีทั้งหมด ๑๓ อาเภอ
ข. จังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด ๒๕ แห่ง
ค. จังหวัดกาญจนบุรีน่าจะเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด
ง. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นสถานที่เกี่ยวข้องกับการทาสงครามโลกครั้งที่ ๒
๕. “วรรณคดี เรื่องนิราศภูเขาทอง เป็นวรรณคดีที่แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ”
ข้อความดังกล่าวตรงกับลักษณะในข้อใด
ก. เป็นการคาดคะเน
ข. มีความเป็นไปได้
ค. สามารถพิสูจน์ได้
ง. มีความสมเหตุสมผล
จากข้อ ๖ - ๑๐ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่เป็นข้อเท็จจริงให้เขียน
ตัวอักษร จ และข้อความใดที่เป็นข้อคิดเห็นให้เขียนตัวอักษร ค หน้า ข้อความ
..........๖. สะพานข้ามแม่น้าแควน่าจะเป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวรู้จักมากที่สุด
ในจังหวัดกาญจนบุรี
..........๗. น้าตกไทรโยคเป็นชื่อเดียวกับอาเภอในจังหวัดกาญจนบุรี
..........๘. พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรีมักจะเป็นพื้นที่ในการ
ทาเกษตรกรรม
......... ๙. อ้อยเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตน้าตาล
........๑๐. น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของร่างกายทั้งคนและสัตว์
ใบความรู้
เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง คือ ข้อความที่บอกเหตุการณ์ที่มีความเป็ นไปได้
สมเหตุสมผล มีความสมจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้และสามารถพิสูจน์ได้
ข้อคิดเห็น ข้อความที่แสดงข้อคิดเห็น หรือแสดงออกถึงความรู้สึก หรือ
การคาดคะเน
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หมายถึง การอ่าน อย่าง
ละเอียดทุกตัวอักษร และเมื่ออ่านจบแล้วต้องแยกแยะได้ว่าอะไรคือ
ข้อเท็จจริง อะไรคือความคิดเห็น อะไรถูก อะไรผิด ถ้าผิดก็ต้องทราบว่า
ผิดอย่างไร
ลักษณะของข้อเท็จจริง ลักษณะของข้อคิดเห็น
๑. มีความเป็นไปได้ ๑. เป็นการแสดงความรู้สึก
๒. มีความสมจริง ๒. เป็นการคาดคะเน
๓. มีหลักฐานเชื่อถือได้ ๓. เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน
๔. มีความสมเหตุสมผล ๔.ไม่สามารถพิสูจน์ได้
๕. สามารถพิสูจน์ได้
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑
จุดประสงค์ รู้และเข้าใจเรื่องข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๕ คะแนน)
๑. ข้อเท็จจริงคือ .....................................................................................
๒. ข้อคิดเห็นคือ .........................................................................................
๓. การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นคือ...................................................
๔. ลักษณะของข้อเท็จจริง .............................................................................
๕. ลักษณะของข้อคิดเห็น..............................................................................
ใบความรู้
การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข้อความ
ตัวอย่างที่ ๑ ประโยคที่เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๑. ปลาวาฬเป็นสัตว์ที่ใหญ่ที่สุด
ในโลก
๑. แมลงเม่าชอบแสงสว่างจึงบิน
มาตอมไฟ
๒. น้าเมื่อได้รับความร้อนจะกลาย
เป็นไอ
๒. วันนี้ลมพัดแรงฝนคงจะตก
๓. การเกิด แก่ เจ็บ ตายเป็น
ธรรมชาติของมนุษย์
๓. โรคเอดส์น่าจะเป็นโรค
ที่ทาลายชีวิตมนุษย์มากที่สุด
๔. กินมะละกอทาให้การขับถ่ายดี ๔. วันสงกรานต์จะเป็นวันที่ร้อน
ที่สุดในรอบปี
๕. อาเภอด่านมะขามเตี้ยอยู่ใน
จังหวัดกาญจนบุรี
๕. คนเราควรดื่มน้าอย่างน้อย
วันละประมาณ ๖ - ๘ แก้ว
ตัวอย่างที่ ๒
การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข้อความ
คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความต่อไปนี้ แล้วเขียน
ตัวอักษร(จ) ท้ายข้อความทีเป็นข้อเท็จจริง ตัวอักษร (ค) ท้ายข้อความ
ที่เป็นข้อคิดเห็น
แสงแดดมีรังสีร้ายแรงที่เรามองไม่เห็นคือรังสีอัลตราไวโอเลต /หนุ่มสาว
สมัยใหม่เชื่อกันว่า / ถ้าจะสวมแว่นกันแดดต้องเป็นสีดาสนิทจึงจะดูทันสมัย / บางคน
บอกว่าแว่นกันแดดที่ดีนั้นต้องมีราคาแพงและมีรูปพอรับกับใบหน้า / ทั้งนี้ยังเชื่อกันอีก
ว่าแว่นกันแดดสียิ่งเข้มจะยิ่งกรองรังสีอัลตราไวโอเลตได้มาก /
แนวการตอบ
ตัวอย่างที่ ๒
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
- แสงแดดมีรังสีร้ายแรงที่เรามอง - หนุ่มสาวสมัยใหม่เชื่อกันว่า
ไม่เห็นคือรังสีอัลตราไวโดเลต - ถ้าจะสวมแว่นกันแดดต้องเป็นสีดาสนิท
- จึงจะดูทันสมัยบางคนบอกว่าแว่น
- กันแดดที่ดีนั้นต้องมีราคาแพงและ
- มีรูปพอรับกับใบหน้า
- ทั้งนี้ยังเชื่อกันอีกว่าแว่นกันแดดสี
ยิ่งเข้มจะยิ่งกรองรังสีอัลตราไวโอเลต
ได้มาก
เพื่อน ๆ เข้าใจแล้ว
ไปต่อกันเลย....
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒
จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง ให้นักเรียน แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น จากข้อความที่กาหนดให้
ต่อไปนี้ (๕ คะแนน)
ยืดอายุรองเท้าคู่เก่ง
อย่าเก็บรองเท้าเข้าตู้ขณะที่ยังเปียกหรือชื้นอยู่ ต้องเช็คทาความสะอาด
และผึ่งให้แห้งก่อน หรือไม่ ก็ขยากระดาษหนังสือพิมพ์เป็นก้อน ๆ ยัดใส่ไว้ด้านใน
รองเท้า ทิ้งไว้ข้ามคืนกระดาษหนังสือพิมพ์จะช่วยดูดซับความชื้นได้
ดีมาก ๆ และดีกว่ากระดาษทิชชู ที่จะติดรองเท้าเป็นขุยขาว ๆ เวลาแห้งแล้ว
รองเท้าเหม็นใช้เคล็ดลับพื้น ๆ แบบไทยแท้โบราณนั่นก็คือใช้ถ่านใส่ไว้ใน ตู้
รองเท้าหรือที่เก็บรองเท้า
(ที่มา : กานพลู หนังสือหญิงไทย ปีที่ ๓ ปักษ์หลัง มิถุนายน ๒๕๕๑ หน้า ๓๖)
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒
กระดาษคาตอบ
ข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง ข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
ใบความรู้
การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข่าว
ตัวอย่าง
ข่าว โลหะสวยและมีค่าตกจากฟ้ ามาจากดาวชนกันร่วงตกลงมาโลก
ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๑๘๕๑๔ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ หน้า ๗)
แนวการตอบ
ตัวอย่าง
ข่าว โลหะสวยและมีค่าตกจากฟ้ ามาจากดาวชนกันร่วงตกลงมาโลก
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
นักวิทยาศาสตร์ พบวี่แววว่า บรรดาโลหะ โดนดาวเคราะห์น้อยชนใส่เมื่อ
อันสวยงามลีค่า ที่ขุดพบกันอยู่บน โลก หลายพันล้านปีก่อนทั้งสิ้น
นั้นล้วนแต่ตกมาจากฟ้า เนื่องมาจาก
ดาวเคราะห์อายุน้อยนายเกอรฮาร์ด ชมิด
จากมหาวิทยาลัยเมนช์ทางตะวันตก
ของเยอรมนี ผู้ทาการตรวจสอบบริเวณ
หลุมบ่อที่เกิดจากดาวตกใส่ โดยนาเอา
ตัวอย่างดินไปวิเคราะห์หาร่องรอยของ
โลหะที่สวยงามและมีค่า เขาได้นา
ตัวอย่างที่ขุดขึ้นมาได้จากชั้นภายในของ
โลกที่อยู่ระหว่างเปลือกโลกและแกนไป
เทียบกับเศษดาวตกจากดาวอังคารที่พบ
บนโลก
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓
จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวที่กาหนดให้อ่าน
ต่อไปนี้ (๕ คะแนน)
วงแหวนดาวเสาร์
(ที่มา:หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ปีที่๑๘ ฉบับที่๖๕๑๔ หน้า ๒๔)
กระดาษคาตอบ
ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
...................................................... ....................................................
ตัวอย่าง ใบความรู้
การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลง
เพลง คาแก้ตัวของคนแพ้ (ศิลปิน ปนัดดา เรืองวุฒิ)
รักของฉันไม่ครอบครอง รักของฉันไม่แย่งชิงรักเธอจริงต้องยอมเสียน้าตา
ถึงเขารักเธอเท่าไรฉันนั้นรักเธอมากกว่า เพราะฉะนั้นต้องยอมตัดสินใจ เสียสละสูงส่ง
เหลือเกินที่จะเดินออกมาให้จบเรื่องนี้ไปก็แค่คาแก้ตัวของคนพ่ายแพ้ เมื่อในวันนี้ เธอมี
เหลือแต่แค่ความเห็นใจ
คาว่ารักไม่หลงไม่เหลือให้เห็นนั่นคือเหตุผลที่มันชัดเจนฉันควรเป็นฝ่ายไป
แพ้ชนะไม่สาคัญ แพ้ชนะมันไร้ค่า ถ้าคนกลางอย่างเธอต้องทุกข์ใจไม่ปล่อยมือกันซัก
คน เธอต้องทนอีกเท่าไหร่ เธอจะลาบากใจแค่ไหนกัน
แนวการตอบ
เพลง คาแก้ตัวของคนแพ้ (ศิลปิน ปนัดดา เรืองวุฒิ)
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
รักของฉันไม่ครอบครอง รักของฉัน รักเธอจริงต้องยอมเสียน้าตา
ไม่แย่งชิง คาว่ารักไม่หลงให้เห็น ถึงเขารักเธอเท่าไร ฉันนั้นรัก
นั่นคือเหตุผลที่มันชัดเจนฉันควร เธอมากกว่า เพราะฉะนั้นต้อง
เป็นฝ่ายไป ยอมตัดสินใจ เสียสละสูงส่ง
เหลือเกินที่จะเดินออกมาให้จบ
เรื่องนี้ไป ก็แค่คาแก้ตัวของคน
พ่ายแพ้ เมื่อในวันนี้ เธอมีเหลือ
แต่แค่ความเห็นใจ แพ้ชนะ ไม่
สาคัญ แพ้ชนะมันไร้ค่า ถ้าคน
กลางอย่างเธอต้องทุกข์ใจไม่ปล่อย
มือกันซักคน เธอต้องทน อีกเท่าไหร่
เธอจะลาบากใจแค่ไหนกัน
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔
จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงที่กาหนดให้
อ่านต่อไปนี้ โดยเขียนตัวอักษร (จ)ท้ายประโยคที่เป็นข้อเท็จจริง เขียน
ตัวอักษร (ค)ท้ายประโยคที่เป็นข้อคิดเห็น
เพลง แชร์ (ศิลปิน Potato)
เธอกักขังตัวเองไว้นานเท่าไร ไม่รับใครเข้ามา ความปวดร้าวในคราวนั้น
ที่มันฝังใจอย่าแบกให้เหนื่อยล้า มองที่ฉันคนนี้ ที่รักเธอมานานคนที่เธอนั้นมองผ่าน
เรื่อยมาอย่าเพิ่งคิดว่าชีวิตของเธอไม่มีค่า ฉันขอรักษาเธอได้ไหม ให้เธอแชร์ความช้าใน
หัวใจมาให้ฉัน แบ่งมันมาจน
เธอนั้นสบายใจและจะแชร์ความรักไปให้เธอเก็บไว้ ใส่มันลงแทนที่ในหัวใจ
ที่เธอ ปวดร้าว เธอเกลียดเขาขนาดไหน ในหัวใจ ยิ่งคิดไปคิดมาความอ่อนไหวในวันนี้ ที่
เธอนั้นมีนั้นแหละคือปัญหาผ้าที่เคยห่ม หมอนที่เคยหนุน ของที่เคยคุ้นตา ก็ไม่เหมือนเก่า
เพราะ มีคาว่าเหงา เข้ามานอนแทนที่เธอและมันไม่คุ้นที่เธอหายไป ไม่มีอีกแล้ว ไม่มี
ไม่มีเธออีกแล้วข้างกาย ไม่มีใครให้บอกรัก ให้ฉันพักใจ ต้องกอดความเดียวดายไปทุก
คืน มันไม่มีอีกแล้ว วันนั้น ไม่ว่าจะหลับฝัน หรือตื่น ร้องไห้ คนเดียวกับแสงดาว
อยู่ทุกคืนเพราะห้ามใจตัวเองไม่ได้เลย ให้เลิกรักเธอ
ใบความรู้
ตัวอย่าง
การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านนิทาน
นิทานชาดก เรื่องขราทิยชาดก
(ที่มา:พระภาวนาวิริยคุณ นิทานชาดก เล่ม ๒ กราฟิคอาร์ตพริ้นติ้ง กรุงเทพฯ มปป. หน้า ๖๒-๖๔)
ในอดีตกาล มีพญากวางตัวหนึ่งคุมบริวารฝูงใหญ่อยู่ในป่าใกล้เมืองพาราณสี
พญากวางเป็นผู้มีความเข้มแข็ง มีระเบียบวินัย มีเมตตาธรรม วันหนึ่งนางกวาง
ซึ่งเป็นน้องสาวผู้หนึ่งของพญากวางได้พาลูกชายมาฝากฝังพญากวางให้สอน
วิชาให้ด้วย พญากวางยินดีสอนและนัดวันให้มาเรียน
เมื่อถึงวันเรียน ลูกกวางบนกับเพื่อน ๆ ว่า “ฉันไม่อยากเรียนเรื่อง
ตะกุยดิน เบ่งท้อง พองลม ทาเป็นตายนะ ไม่เห็นสนุกเลย ไม่ยากเลยไม่เรียน
ก็ได้ ” ฝ่ายเพื่อน ๆ ค้านว่า “นี่เธอ มันอาจจะไม่ง่ายเหมือนอย่างที่คิด
ก็ได้นะ พญากวางท่านอุตส่าห์สอนให้ มีโอกาสแล้วก็รีบเถอะ ”
แต่กวางน้อยยังคงดื้อดึง ไม่สนใจฟังคาแนะนาตักเตือนของเพื่อน ๆ
แล้วลูกกวางก็เที่ยวเล่นในป่า จนกระทั่งไปติดบ่วงของนายพราน
เข้าในวันหนึ่ง
ฝ่ายนางกวางไม่เห็นลูกกลับมา วันแรก ๆ ยังคิดว่าลูกตนคงขะมักเขม้นเรียนวิชา อยู่กับ
พญากวางผู้เป็นลุงจึงรีบไปถามพญากวาง ๆจึงตอบว่า “น้องเอ๋ย ตั้งแต่วันที่เจ้าเอาลูกมา
ฝากให้สอนวิชาแล้ว ฉันก็ไม่เห็นหน้ามันอีกเลย” นางกวางได้ยินดังนั้นจึงตกใจมาก
เที่ยววิ่งไปสอบถามบรรดาเพื่อน ๆ ของลูกชาย จึงรู้ว่าลูกของนางวิ่งเล่นไปจนติดบ่วง
นายพรานและถูกฆ่าตายเสียแล้ว นางเศร้าโศกเสียใจมากได้แต่ร้องไห้คร่าครวญไป
ต่าง ๆ นานา นางกวางร้องไห้สะอื้น ประหนึ่งว่าจะขาดใจ พญากวางจึงกล่าวให้สติแก่
นางว่า “ขราทิยาเอ๋ย เจ้าอย่าได้เศร้าโศกเสียใจกับลูก หัวดื้อ ไม่ยอมอยู่ในโอวาทนั่น
เลย ฉันไม่อาจสั่งสอนและไม่คิดจะสั่งสอนเจ้ากวางผู้มี ๘ กีบ มีเขาคตตั้งแต่โคนจนถึง
ปลาย ทนดื้อด้านอยู่ได้ตั้ง ๗ วันเช่นนี้
แนวการตอบ
นิทานชาดก เรื่องขราทิยชาดก
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ในอดีตกาล มีพญากวางตัวหนึ่งคุม
บริวารฝูงใหญ่อยู่ในป่าใกล้เมืองพาราณสี
วันหนึ่งนางกวางซึ่งเป็นน้องสาวผู้หนึ่ง
ของพญากวางได้พาลูกชายมาฝากฝังพญา
กวางให้สอนวิชาให้ด้วย พญากวางยินดี
สอนและนัดวันให้มาเรียน เมื่อถึงวัน
เรียน ลูกกวางบนกับเพื่อน ๆว่า ฝ่ าย
เพื่อน ๆ ค้านว่า “แล้วลูกกวางก็เที่ยวเล่น
ในป่ า จน กระทั่งไปติดบ่วงของ
นาย พรานเข้าในวันหนึ่ง ฝ่ายนางกวาง
ไม่เห็นลูกกลับมา “น้องเอ๋ย ตั้งแต่วันที่
เจ้าเอาลูกมาฝากให้สอนวิชาแล้ว ฉันก็ไม่
เห็นหน้ามันอีกเลย” เที่ยววิ่งไปสอบถาม
บรรดาเพื่อน ๆ ของลูกชาย จึงรู้ว่าลูก
ของนางวิ่งเล่นไปจนติดบ่วงนายพราน
และถูกฆ่าตายเสียแล้ว
พญากวางเป็นผู้มีความเข้มแข็ง มีระเบียบวินัย
มีเมตตาธรรม “ฉันไม่อยากเรียนเรื่องตะกุยดิน
เบ่งท้อง พองลม ทาเป็นตายนะ ไม่เห็นสนุก
เลย ไม่ยากเลยไม่เรียนก็ได้ ”นี่เธอ มันอาจจะ
ไม่ง่ายเหมือนอย่างที่คิดก็ได้นะ พญากวาง
ท่านอุตส่าห์สอนให้ มีโอกาสแล้วก็รีบเถอะ”
แต่กวางน้อยยังคงดื้อดึง ไม่สนใจฟังคาแนะนา
ตักเตือนของเพื่อน ๆ วันแรก ๆ ยังคิดว่าลูกตน
คงขะมักเขม้นเรียนวิชาอยู่กับพญากวางผู้เป็น
ลุงจึงรีบไปถามพญากวาง ๆจึงตอบว่า นาง
กวางได้ยินดังนั้นจึงตกใจมาก นางเศร้าโศก
เสียใจมากได้แต่ร้องไห้คร่าครวญไปต่าง ๆ
นานา นางกวางร้องไห้สะอื้น ประหนึ่งว่าจะ
ขาดใจ พญากวางจึงกล่าวให้สติแก่นางว่า
“ขราทิยาเอ๋ย เจ้าอย่าได้เศร้าโศกเสียใจกับลูก
หัวดื้อ ไม่ยอมอยู่ในโอวาทนั่นเลย ฉันไม่อาจ
สั่งสอนและไม่คิดจะสั่งสอนเจ้ากวางผู้มี ๘ กีบ
มีเขาคตตั้งแต่โคนจนถึงปลาย ทนดื้อด้านอยู่
ได้ตั้ง ๗ วันเช่นนี้
N แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕
จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากนิทานที่กาหนดให้อ่านได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากที่นิทานที่อ่านต่อไปนี้
(๑๐ คะแนน)
นิทาน ดวงใจดอกไม้และดวงตาผีเสื้อ
ตอน ทะเลหิมะ
บนหุบเขาอันไกลโพ้น เด็กหญิงมาลัยกาลังเผ้าดูแลอาการของ
พี่สาวด้วยความห่วงใย พี่สาวของมาลัยกาลังไม่สบาย เธอป่วยเป็นโรค
วัณโรคขั้นรุนแรง เด็กหญิงสองคนอยู่ร่วมกันอย่างโดดเดี่ยว เพราะ
พ่อแม่ของพวกเธอได้หายจากบ้านไปนานแล้ว มาลัยกับมะลิช่วยกัน
ทางานหาอาหารมาประทังชีวิต
บ้านของพวกเธอเป็นบ้านที่ทาจากใบจาก เด็กหญิงทั้งสองรู้ดีว่า
พวกเธอจะต้องอยู่กันอย่างโดดเดี่ยว เพราะเพื่อนบ้านย้ายถิ่นฐาน
กันไปหมดแล้ว
อีกหน่อยบ้านริมทะเลก็จะกลายเป็นหิมะ ลุงสายเคยบอกเอาไว้ก่อน ที่เขา
จะย้ายไปจากที่นี่ มาลัยเธอทิ้งพี่ไว้ที่นี่เถอะรีบหนีไปก่อนที่จะถูกความหนาว
เย็นทาร้าย มาลัยได้ยินมะลิบอกเช่นนั้น เด็กหญิงจึงร้องไห้และกอดพี่สาวไว้
จนแน่น “หนูไม่ไปไหนทั้งนั้น ถ้าไปก็ต้องไปด้วยกัน หนูจะทิ้งพี่ให้ถูก
หิมะทับตายได้ ยังไง เราอยู่ด้วยกันก็จะได้มีเพื่อน การกอดกันอบอุ่นมากนะ
จะทาให้พวกเราไม่ต้องหนาวไง ”มะลิรู้สึกอบอุ่นขึ้น เธอยื่นมือน้อย ๆ มา
สวมกอดน้องสาว “เราเดินทางเถอะ พี่จะไม่ให้น้องต้องหนาวตายอยู่ที่นี่ ”
มาลัยกอดพี่สาวแน่นยิ่งขึ้น เธอยิ้มแล้วพูดเสียงแห้ง ๆ เพราะเริ่มรู้สึกว่าลิ้นชา
“พี่ยอมเดินทางแล้วหรือจ๊ะ ” ตอนที่ลุงสายมาชวนเราสองคน พี่กลัวว่าเราจะ
เป็นภาระของพวกเขา เพราะพี่ไม่สบาย พี่อยากให้น้องไปกับลุงสาย แต่น้องก็
ไม่ยอมทิ้งพี่ไป “หนูไม่ทิ้งพี่มะลิหรอกจ๊ะ เพราะ พี่รักหนู ”
มะลิค่อย ๆ ลุกขึ้น เดินออกมาจากบ้านพร้อมกับน้องสาว มาลัย
จับมือน้องสาวค่อยๆจูงออกมาจากโลกที่เคยปิดกั้นมิดชิด เด็กหญิงทั้งสอง
พร้อมที่จะออกไปเผชิญกับโลกภายนอกบ้านด้วยความกล้าหาญและ อดทน
เธอทั้งสองต่างรู้ดีว่าการเดินทางยาวไกลเพียงเพื่อจะได้พบอาณาจักรอบอุ่นที่ไม่
ต้องอ้างว้างอีกต่อไป
มาลัยเคยรู้สึกว่าโลกของหิมะเต็มไปด้วยความงดงาม แม้ความหนาวเย็น
ช่างโหดร้ายแต่เมื่อมีมะลิคอยเล่าถึงความสวยงามของมัน เด็กหญิงก็เริ่ม
มองเห็นโลกอีกด้านทะเลหิมะเป็นเพียงอาณาจักรที่คุมขังของนักโทษที่รับ
การตัดสิน นับแต่เจ้าแห่งทะเลทรายได้ถูกสาปให้กลายเป็นหิมะนับแต่นั้น
ดินแดนแห่งความหนาวเย็นก็กลายเป็นโลกอีกด้านของผืนเขาทะเลทราย
มะลิเปลี่ยนความโชคร้ายของตัวเองให้กลายเป็นความเข้าใจ เด็กหญิง จึงมีโลก
ที่สดใส ทาให้เผชิญกับโรคร้ายที่กาลังคุกคามชีวิตของเธอ วันละนิดละน้อย
มาลัยคือความสุขที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในตอนนี้ อย่างน้อยเธอมีน้องสาวที่เข้าใจ เป็น
เพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสุข แบ่งปันกาลังใจ ต่อกันทะเลหิมะอันหนาวเหน็บไม่ได้
ทาให้มาลัยและมะลิท้อแท้สิ้นหวังอีกแล้ว เด็กหญิงทั้งสองต่างทาหน้าที่รักษา
ชีวิตตนเองเอาไว้เพื่อ จะได้ไปถึงโลกแห่งความอบอุ่น
แบบฝึกกิจกรรม
เสริมทบทวนความรู้ การอ่านแยกข้อเท็จจริงข้อคิดเห็น
คาชี้แจง นักเรียนเขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ
น่าสนใจแล้วแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
……………………………….
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ที่มา…………………………………………………………………
แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ ๔ เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ
๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท (x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
๑. ลักษณะของข้อคิดเห็นตรงกับข้อใด
ก. เป็นการคาดคะเน
ข. หลักฐานเชื่อถือได้
ค. สามารถพิสูจน์ได้
ง. มีความสมเหตุสมผล
๒. ข้อใดเป็นลักษณะของข้อเท็จจริง
ก. มีความสมจริง
ข. เป็นการคาดคะเน
ค. ไม่สามารถพิสูจน์ได้
ง. เป็นการแสดงความรู้สึก
๓. “วรรณคดี เรื่องนิราศภูเขาทองเป็นวรรณคดีที่แต่งด้วยคาประพันธ์
ประเภทกลอนนิราศ” ข้อความดังกล่าวตรงกับลักษณะในข้อใด
ก. เป็นการคาดคะเน
ข. มีความเป็นไปได้
ค. สามารถพิสูจน์ได้
ง. มีความสมเหตุสมผล
๔. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง
ก. เดือนพฤษภาคมอยู่ในช่วงฤดูฝน
ข. เดือนพฤษภาคมโรงเรียนมักจะเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๑
ค. เดือนพฤษภาคมจะเป็นเดือนแรกที่ชาวนาเริ่มลงมือทานา
ง. เดือนพฤษภาคมโดยส่วนรวมแล้วจะมีผู้ป่วยโรคไข้หวัดสูงสุด
๕. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น
ก. จังหวัดกาญจนบุรีมีทั้งหมด ๑๓ อาเภอ
ข. จังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด ๒๕ แห่ง
ค. จังหวัดกาญจนบุรีน่าจะเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด
ง. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นสถานที่เกี่ยวข้องกับการทาสงคราม โลกครั้งที่ ๒
จากข้อ ๖ - ๑๐ ให้พิจารณา ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดที่เป็นข้อเท็จจริงให้เขียน ตัวอักษร จ
และข้อความใดที่ เป็นข้อคิดเห็นให้เขียนตัวอักษร ค หน้าข้อความ
............. ๖. น้าตกไทรโยคเป็นชื่อเดียวกับอาเภอในจังหวัดกาญจนบุรี
............. ๗. อ้อยเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตน้าตาล
............... ๘. น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของร่างกายทั้งคนและสัตว์
............... ๙. สะพานข้ามแม่น้าแควน่าจะเป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวรู้จักมาก
ที่สุดในจังหวัดกาญจนบุรี
............... ๑๐. พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรีมักจะเป็นพื้นที่
ในการทาเกษตรกรรม
เกณฑ์การประเมินการอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน
รายการ
เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑ ความหมาย อธิบายความหมายของ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้
ถูกต้อง ชัดเจน มีตัวอย่าง
ประกอบ
อธิบายความหมายของ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ได้ถูกต้อง ชัดเจนไม่มี
ตัวอย่างประกอบ
อธิบายความหมายของ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ได้ถูกต้องแต่ยังไม่
ชัดเจน
อธิบายความหมายของ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ได้ไม่ถูกต้อง
๒ ลักษณะ
ของข้อเท็จจริง
อธิ บ ายลักษ ณ ะของ
ข้อเท็จจริงได้ครบถ้วนทั้ง
๕ ข้อโดยเรี ยงลาดับ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อเท็จจริงได้ครบทั้ง
๕ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อเท็จจริงได้ ๓ ข้อ
โ ด ย เรี ย ง ล า ดั บ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อเท็จจริงได้ ๓ ข้อโดย
ไ ม่ เ รี ย ง ล า ดั บ
ความสาคัญ
๓ ลักษณะ
ของข้อคิดเห็น
อธิ บ ายลักษ ณ ะของ
ข้อคิดเห็นได้ครบถ้วนทั้ง
๔ ข้อโดยเรี ยงลาดับ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อคิดเห็นได้ครบทั้ง
๔ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อคิดเห็นได้ ๒ ข้อ
โ ด ย เรี ย ง ล า ดั บ
ความสาคัญ
อธิบายลักษณะของ
ข้อคิดเห็นได้ ๒ ข้อโดย
ไ ม่ เ รี ย ง ล า ดั บ
ความสาคัญ
๔ การแยก
ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็น
แ ยก ป ระ โย ค ที่ เป็ น
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
โดยบ อกลักษ ณ ะได้
ถูกต้อง ครบถ้วนและ
ชัดเจน
แยกประโยคที่ เป็ น
ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ
ข้อคิดเห็น โดยบอก
ลักษณะได้ ๒ ลักษณะ
แต่ไม่ชัดเจน
แยกประโยคที่เป็ น
ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ
ข้อคิดเห็นได้ โดยบอก
ลักษณะได้เพียงอย่าง
เดียว
แยกประโยคที่ เป็ น
ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ
ข้อคิดเห็นได้โดยบอก
เหตุผลได้ไม่ชัดเจน
๕ นิสัยรัก อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่ าน ข้อ ค วาม แ ล้ว
การอ่าน อ่านเนื้อเพลง อ่านนิทาน
แ ล้ ว ส า ม า ร ถ แ ย ก
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้
ถูกต้อง ชัดเจน
อ่ าน เนื้ อ เพ ล งแล้ว
สามารถแยกข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นได้ถูกต้อง
ชัดเจน
แ ล้วส าม าร ถ แ ย ก
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ได้ถูกต้อง ชัดเจน
สามารถแยกข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นได้ถูกต้อง
ชัดเจน
หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้
คะแนน ๘ - ๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕ - ๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑ - ๔ หมายถึง ปรับปรุง
แบบประเมินการอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน
ที่
รายการประเมิน รวม
คะแนน
๒๐
เฉลี่ย
๑๐
คะแนน
สรุปผลการประเมิน
ความ
หมาย
๔
ลักษณะ
ข้อเท็จจริง
๔
ลักษณะ
ข้อคิดเห็น
๔
การแยก
ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็น
๔
นิสัยรัก
การอ่าน
๔
ดี พอใช้ ปรับปรุง
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๔
ที่
รายการประเมิน รวม
คะแนน
๒๐
เฉลี่ย
๑๐
คะแนน
สรุปผลการประเมิน
ความ
หมาย
๔
ลักษณะ
ข้อเท็จจริง
๔
ลักษณะ
ข้อคิดเห็น
๔
การแยก
ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็น
๔
นิสัยรัก
การ
อ่าน
๔
ดี พอใช้ ปรับปรุง
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน
(.............................................. )
............../.................../.............
หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้
คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง ดี
คะแนน ๕-๗ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑-๔ หมายถึง ปรับปรุง
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ชุดที่ ๔ เรื่อง แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ข้อ ก ข ค ง
๑ X
๒ X
๓ X
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ชุดที่ ๔ เรื่อง แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๔ X
๕ X
๖ X
๗ X
๘ X
๙ X
๑๐ X
เฉลย
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑
ข้อ ก ข ค ง
๑ X
๒ X
๓ X
๔ X
๕ X
๖ X
๗ X
๘ X
๙ X
๑๐ X
๑. ข้อความที่บอกเหตุการณ์มีความเป็นไปได้สมเหตุสมผล มีความสมจริง
มีหลักฐานสามารถพิสูจน์ได้
๒. ข้อความที่แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก หรือการคาดคะเน
๓. การอ่านอย่างละเอียดทุกตัวอักษรแล้วแยกแยะว่าอะไรคือข้อเท็จจริงอะไร
คือข้อคิดเห็น อะไรผิด อะไรถูก
๔. มีความเป็นไปได้สมจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้สมเหตุสมผล สามารถ
พิสูจน์ได้
๕. เป็นการคาดคะเน การแสดงความรู้สึก เป็นความคิดของผู้เขียน ไม่สามารถ
พิสูจน์ได้
เฉลย
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒
ยืดอายุรองเท้าคู่เก่ง
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ทิ้งไว้ข้ามคืน เวลาแห้งแล้ว รองเท้า อย่าเก็บรองเท้าเข้าตู้ ขณะที่ปียก
เหม็น ใช้เคล็ดลับพื้น ๆ แบบไทย หรือชื้นอยู่ต้องเช็คทาความสะอาด
แท้โบราณ นั่นก็คือใช้ถ่านใส่ไว้ และผึ่งให้แห้งก่อน หรือไม่ก็ขยา
ในตู้รองเท้าหรือที่เก็บรองเท้า กระดาษหนังสือพิมพ์เป็นก้อน ๆ
ยัดใส่ไว้ด้านในรองเท้า กระดาษ
หนังสือพิมพ์จะช่วยดูดซับความชื้น
ได้ดีมาก ๆ และดีกว่ากระดาษ
ทิสชู่ที่จะติดรองเท้าเป็นขุยขาว ๆ
(ที่มา:กานพลู หนังสือหญิงไทย ปีที่ ๓ ปักษ์หลัง มิถุนายน ๒๕๕๑ หน้า ๓๖)
เฉลย
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓
วงแหวนดาวเสาร์
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
วงแหวนดาวเสาร์ นายแลรี่ เอสโพสิโต อาจมีขนาดใหญ่กว่าและเก่าแก่
นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัย กว่าที่นักดาราศาสตร์ เคย
โคโลราโดสหรัฐรัฐอเมริกากล่าวว่า สันนิษฐานไว้ “เราเคยเชื่อว่า
เนื่องจากวงแหวนดูสะอาดและสว่าง วงแหวนดาวเสาร์มีอายุน้อยกว่า
แต่มันยังคงสว่างอยู่ ดาวเสาร์อย่างน้อย ๑๐๐ ล้านปี
แต่เมื่อพิจารณาเข้าไปใกล้ๆ
เห็นว่าวงแหวนมีลักษณะหยาบ
กว่าที่คิด ดังนั้นวงแหวนอาจ
เก่าแก่กว่าที่เราคิด
เฉลย
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔
เพลง แชร์ (ศิลปิน Potato)
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
เธอกักขังตัวเองไว้นานเท่าไร ความปวดร้าวในคราวนั้นที่มันฝังใจ อย่า
ไม่รับใครเข้ามา มองที่ฉันคนนี้ แบกให้เหนื่อยล้า ที่รักเธอมานาน อย่าเพิ่ง
คนที่เธอนั้นมองผ่าน เรื่อยมานั้น คิดว่าชีวิตของเธอไม่ มีค่าฉันขอรักษาเธอ
แหละคือปัญหา ร้องไห้คนเดียว ให้เธอแชร์ความช้าในหัวใจมาให้ฉันแบ่ง
ได้ไหมกับแสงดาวอยู่ทุกคืน มันมาจนเธอนั้นสบายใจ และจะแชร์
ความรักไปให้เธอเก็บไว้ใส่มันลงแทนที่ใน
หัวใจที่เธอ ปวดร้าวเธอเกลียดเขา
ขนาดไหน ในหัวใจยิ่งคิดไปคิดมา ความ
อ่อนไหวในวันนี้ ที่เธอนั้นมีผ้าที่เคยห่ม
หมอนที่เคยหนุน ของที่เคยคุ้นตา ก็ไม่
เหมือนเก่า (ค) เพราะมีคาว่าเหงา เข้ามา
นอนแทน ที่เธอ และมันไม่คุ้นที่เธอหายไป
ไม่มีอีกแล้ว ไม่มี ไม่มีเธออีกแล้วข้างกาย
ไม่มีใครให้บอกรัก ให้ฉันพักใจ ต้องกอด
ความเดียวดายไปทุกคืน มันไม่มีอีกแล้ว
วันนั้น ไม่ว่าจะหลับฝันหรือตื่นเพราะ
ห้ามใจตัวเองไม่ได้เลย ให้เลิกรักเธอ
เฉลย
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕
นิทาน ดวงใจดอกไม้และดวงตาผีเสื้อ
ตอน ทะเลหิมะ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
พี่สาวของมาลัยกาลังไม่สบาย เธอ
ป่ วยเป็ นโรควัณโรคขั้นรุนแรง
เพราะพ่อแม่ของพวกเธอได้หายจาก
บ้านไปนานแล้ว บ้านของพวกเธอ
เป็ นบ้านที่ทาจากใบจาก เพราะ
เพื่ อน บ้านย้ายถิ่น ฐานกัน ไป
หมดแล้ว อีกหน่อยบ้านริมทะเลก็
จะกลายเป็นหิมะลุงสายเคยบอก
เอาไว้ก่อนที่เขาจะย้ายไปจากที่นี่
มาลัยได้ยินมะลิบอกเช่นนั้ น
เด็กหญิงจึงร้องไห้และกอดพี่สาวไว้
จนแน่น
บนหุบเขาอันไกลโพ้น เด็กหญิงมาลัยกาลังเฝ้าดูแล
อาการของพี่สาวด้วยความห่วงใย เด็กหญิงสองคน
อยู่ร่วมกันอย่างโดดเดี่ยว มาลัยกับมะลิช่วยกัน
ทางานหาอาหารมาประทังชีวิต เด็กหญิงทั้งสองรู้ดี
ว่าพวกเธอจะต้องอยู่กันอย่างโดดเดี่ยว มาลัย เธอทิ้ง
พี่ไว้ที่นี่เถอะรีบหนีไปก่อนที่จะถูกความหนาวเย็น
ทาร้าย “หนูไม่ไปไหนทั้งนั้น ถ้าไปก็ต้องไป
ด้วยกัน หนูจะทิ้งพี่ให้ถูกหิมะทับตายได้ยังไง เรา
อยู่ด้วยกันก็จะได้มีเพื่อน การกอดกันอบอุ่นมากนะ
จะทาให้พวกเราไม่ต้องหนาวไงมะลิรู้สึกอบอุ่นขึ้น
เธอยื่นมือน้อยๆ มาสวมกอดน้องสาว “เราเดินทาง
เถอะพี่จะไม่ให้น้องต้องหนาวตายอยู่ที่นี่ ” เธอยิ้ม
แล้วพูดเสียงแห้ง ๆ เพราะเริ่มรู้สึกว่าลิ้นชา พี่กลัว
ว่าเราจะเป็นภาระ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
“พี่ยอมเดินทางแล้วหรือจ๊ะ ” ตอน
ที่ลุงสายมาชวนเราสองคน มาลัย
กอดพี่สาวแน่นยิ่งขึ้น มะลิค่อย ๆ
ลุกขึ้น เดินออกมาจากบ้านพร้อม
กับน้องส าว นับ แต่เจ้าแห่ ง
ของพวกเขา เพราะพี่ไม่สบาย พี่อยากให้น้องไป
กับลุงสาย แต่น้องก็ไม่ยอมทิ้งพี่ไป“หนูไม่ทิ้งพี่
มะลิหรอกจ๊ะ เพราะพี่รักหนู”มาลัยจับมือน้องสาว
ค่อย ๆจูงออกมาจากโลกที่เคยปิ ดกั้นมิดชิด
เด็กหญิงทั้งสองพร้อมที่จะออกไปเผชิญกับโลก
ทะเลทรายได้ถูกสาปให้กลายเป็น
หิมะนับแต่นั้นดินแดนแห่งความ
หนาวเย็นก็กลายเป็นโลกอีกด้าน
ของผืนเขาทะเลทรายทาให้เผชิญกับ
โรคร้ายที่กาลังคุกคามชีวิตของเธอ
วันละนิดละน้อย
ภายนอกบ้านด้วยความกล้าหาญและอดทน เธอทั้ง
สองต่างรู้ดีว่าการเดินทางยาวไกลเพียงเพื่อจะได้
พบอาณาจักรอบอุ่นที่ไม่ต้องอ้างว้างอีกต่อไป
มาลัยเคยรู้สึกว่าโลกของหิมะเต็มไปด้วยความ
งดงาม แม้ความหนาวเย็นช่างโหดร้ายแต่เมื่อมี
มะลิคอยเล่าถึงความสวยงามของมัน เด็กหญิงก็เริ่ม
มองเห็นโลกอีกด้านทะเลหิมะเป็นเพียงอาณาจักร
ที่คุมขังของนักโทษที่รับการตัดสิน มะลิเปลี่ยน
ความโชคร้ายของตัวเองให้กลายเป็นความเข้าใจ
เด็กหญิงจึงมีโลกที่สดใส มาลัยคือความสุข
ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในตอนนี้ อย่างน้อยเธอมีน้องสาว
ที่เข้าใจ เป็ นเพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสุข แบ่งปัน
กาลังใจต่อกัน ทะเลหิมะอันหนาวเหน็บไม่ได้ทา
ให้มาลัยและมะลิท้อแท้สิ้นหวังอีกแล้ว เด็กหญิง
ทั้งสองต่างทาหน้าที่รักษาชีวิตตนเองเอาไว้เพื่อจะ
ได้ไปถึงโลกแห่งความอบอุ่น
แนวการตอบ
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ การอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
6
คาชี้แจง นักเรียนเขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้ว
แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ตาสวย ด้วยปลา อยากตาสวย ทานปลาสิคะ
ถ้าตื่นเช้ามา ดวงตาของคุณดูอิดโรย ไม่สดใส พอไปถึงที่ทางานก็จ้องหน้า
คอมพิวเตอร์ มองอะไรไม่ชัดถ้าอย่างนั้นมื้อกลางวันนี้ไปทานปลากันเถอะ เพราะ มี
งานวิจัยออกมาบอกว่า ไม่ใช่วิตามินเอที่ดีต่อสายตาเท่านั้น วิตามินดีซึ่งมีอยู่ในอาหาร
จาพวกปลานั้น ก็ดีต่อสายตาด้วยเหมือนกัน อีกทั้งยังช่วยป้ องกันไม่ให้สายตาเสื่อม เร็ว
ด้วย ในปลาทะเลนั้นมีน้ามันปลาที่มีกรดไขมัน ๒ ชนิดที่ร่างกายคนเราต้องการ แต่กลับ
ไม่สามารถสร้างเองได้ นั่นคือในกลุ่มโอเมก้า ๓ ซึ่งกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว ที่เรียกว่า
DHA นักวิจัยเชื่อว่ามีบทบาทสาคัญในการทางานของจอประสาทตา ยิ่ง ในคนสูงอายุยัง
ช่วยลดการติดเชื้อที่อาจเกิดกับดวงตาและป้องกันเส้นเลือดขึ้นนัยน์ตา ได้อีกด้วย
ที่มาข้อมูลจาก : นสพ. บางกอกทูเดย์ออนไลน์ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑
แนวการตอบ
ตาสวย ด้วยปลา อยากตาสวย ทานปลาสิคะ
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
งานวิจัยออกมาบอกว่า ไม่ใช่ ถ้าตื่นเช้ามา ดวงตาของคุณดูอิดโรย
วิตามินเอที่ดีต่อสายตาเท่านั้น ไม่สดใส พอไปถึงที่ทางานก็จ้องหน้า
วิตามินดีซึ่งมีอยู่ในอาหารจาพวก คอมพิวเตอร์ มองอะไรไม่ชัดก็ดีต่อ
ปลานั้น ในปลาทะเลนั้นมีน้ามัน สายตาด้วยเหมือนกัน อีกทั้งยังช่วยป้องกัน
ปลาที่มีกรดไขมัน ๒ ชนิดที่ร่างกาย ไม่ให้สายตาเสื่อมวัยด้วย แต่กลับไม่
คนเราต้องการ นั่นคือในกลุ่ม สามารถสร้างเองได้นักวิจัยเชื่อว่ามีบทบาท
โอเมก้า ๓ ซึ่งกรดไขมันชนิด สาคัญในการทางานของจอประสาทตา
ไม่อิ่มตัวที่เรียกว่า DHA ยิ่งในคนสูงอายุช่วยลดการติดเชื้อที่เกิด
กับดวงตา และป้องกันเส้นเลือดขึ้นนัยน์ตา
ได้อีกด้วย
บรรณานุกรม
ที่มา: วันทนีย์ วิบูลกีรติ หญิงไทย ปีที่ ๓๓ ปักษ์แรก สิงหาคม ๒๕๕๑
(ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๑๘๕๑๔ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ หน้า ๗)
(ที่มา:หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ปีที่๑๘ ฉบับที่๖๕๑๔ หน้า
(ที่มา:พระภาวนาวิริยคุณ นิทานชาดก เล่ม ๒ กราฟิคอาร์ตพริ้นติ้ง กรุงเทพฯ มปป. หน้า ๖๒-
๖๔)
(ที่มา: วันทนีย์ วิบูลกีรติ หญิงไทย ปีที่ ๓๓ ปักษ์แรก สิงหาคม ๒๕๕๑ หน้า๑๘๖-๑๘๗)
ที่มาข้อมูลจาก : นสพ. บางกอกทูเดย์ออนไลน์ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 

What's hot (20)

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2Rung Kru
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1Rung Kru
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์Rung Kru
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4Rung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (18)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 

Similar to แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓daranee14
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านnaaikawaii
 

Similar to แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย (20)

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่านเอกสารประกอบวิชาการอ่าน
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย

  • 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น มารินทร์ จานแก้ว ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. คานา การอ่านเป็นทักษะกระบวนการเรียนรู้พื้นฐานที่สาคัญที่ ผู้เรียนสามารถ เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้อ่านจึงต้องมีความรู้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในเรื่องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผู้เรียนต้องมี ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการอ่านตามจุดประสงค์ที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้เกิดทักษะการเรียนรู้ ที่รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพ ผู้สอนจึงจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย จานวน ๕ ชุด ประกอบด้วย ๑ อ่านในใจลาดับความคิด ๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ ๓ สรรพันเลือกสรรตีความ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่อง การอ่านในใจ เป็นแบบฝึก เสริมทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความรู้ความเข้าใจ สามารถฝึ กทักษะได้ด้วยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้และเพื่อเป็นสื่อช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนบรรลุ ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริญเชื้อ ผู้อานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี นางยุพดี สุขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุณาอารีย์ นางอารมย์บุญ เรืองรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิภา อารักษ์ นางสาวจงใจ ศรี วิเชียร นางจรินทร์ พึ่งจงเจริญสุข ครูผู้เชี่ยวชาญ และคณะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๑ และผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนครอบครัวที่ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุน การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี มารินทร์ จานแก้ว โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คาชี้แจงการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้เรื่องการอ่านตีความ แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๔ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น กิจกรรมที่ ๑ ความรู้เรื่อง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น กิจกรรมที่ ๒ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข้อความ กิจกรรมที่ ๓ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข่าว กิจกรรมที่ ๔ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านเนื้อเพลง กิจกรรมที่ ๕ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านนิทาน กิจกรรมทบทวนความรู้เรื่อง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แบบทดสอบหลังเรียน ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้เรื่องการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์การประเมินการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แบบประเมินการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น บรรณานุกรม
  • 4. คาชี้แจง แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถในแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นเรื่องของที่อ่านได้อย่างถูกต้อง สามารถนาไปปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขั้นตอนการฝึก ๑. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๓. ปฏิบัติแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕ ๔. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
  • 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย เล่มนี้แล้วนักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๑. รู้และเข้าใจเรื่องข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๒. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้อ่านได้ ๓. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวที่กาหนดให้อ่านได้ ๔. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงที่กาหนดให้อ่านได้ ๕. แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากนิทานที่กาหนดให้อ่านได้ ๖. มีมารยาทที่ดีและมีนิสัยรักการอ่าน
  • 6. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท (x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดเป็นลักษณะของข้อเท็จจริง ก. มีความสมจริง ข. เป็นการคาดคะเน ค. ไม่สามารถพิสูจน์ได้ ง. เป็นการแสดงความรู้สึก ๒. ลักษณะของข้อคิดเห็นตรงกับข้อใด ก. เป็นการคาดคะเน ข. หลักฐานเชื่อถือได้ ค. สามารถพิสูจน์ได้ ง. มีความสมเหตุสมผล ๓. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง ก. เดือนพฤษภาคมอยู่ในช่วงฤดูฝน ข. เดือนพฤษภาคมโรงเรียนมักจะเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๑ ค. เดือนพฤษภาคมจะเป็นเดือนแรกที่ชาวนาเริ่มลงมือทานา ง. เดือนพฤษภาคมโดยส่วนรวมแล้วจะมีผู้ป่วยโรคไข้หวัดสูงสุด
  • 7. ๔. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น ก. จังหวัดกาญจนบุรีมีทั้งหมด ๑๓ อาเภอ ข. จังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด ๒๕ แห่ง ค. จังหวัดกาญจนบุรีน่าจะเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด ง. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นสถานที่เกี่ยวข้องกับการทาสงครามโลกครั้งที่ ๒ ๕. “วรรณคดี เรื่องนิราศภูเขาทอง เป็นวรรณคดีที่แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ” ข้อความดังกล่าวตรงกับลักษณะในข้อใด ก. เป็นการคาดคะเน ข. มีความเป็นไปได้ ค. สามารถพิสูจน์ได้ ง. มีความสมเหตุสมผล จากข้อ ๖ - ๑๐ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่เป็นข้อเท็จจริงให้เขียน ตัวอักษร จ และข้อความใดที่เป็นข้อคิดเห็นให้เขียนตัวอักษร ค หน้า ข้อความ ..........๖. สะพานข้ามแม่น้าแควน่าจะเป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวรู้จักมากที่สุด ในจังหวัดกาญจนบุรี ..........๗. น้าตกไทรโยคเป็นชื่อเดียวกับอาเภอในจังหวัดกาญจนบุรี ..........๘. พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรีมักจะเป็นพื้นที่ในการ ทาเกษตรกรรม ......... ๙. อ้อยเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตน้าตาล ........๑๐. น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของร่างกายทั้งคนและสัตว์
  • 8. ใบความรู้ เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริง คือ ข้อความที่บอกเหตุการณ์ที่มีความเป็ นไปได้ สมเหตุสมผล มีความสมจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้และสามารถพิสูจน์ได้ ข้อคิดเห็น ข้อความที่แสดงข้อคิดเห็น หรือแสดงออกถึงความรู้สึก หรือ การคาดคะเน การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หมายถึง การอ่าน อย่าง ละเอียดทุกตัวอักษร และเมื่ออ่านจบแล้วต้องแยกแยะได้ว่าอะไรคือ ข้อเท็จจริง อะไรคือความคิดเห็น อะไรถูก อะไรผิด ถ้าผิดก็ต้องทราบว่า ผิดอย่างไร ลักษณะของข้อเท็จจริง ลักษณะของข้อคิดเห็น ๑. มีความเป็นไปได้ ๑. เป็นการแสดงความรู้สึก ๒. มีความสมจริง ๒. เป็นการคาดคะเน ๓. มีหลักฐานเชื่อถือได้ ๓. เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน ๔. มีความสมเหตุสมผล ๔.ไม่สามารถพิสูจน์ได้ ๕. สามารถพิสูจน์ได้
  • 9. แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ จุดประสงค์ รู้และเข้าใจเรื่องข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (๕ คะแนน) ๑. ข้อเท็จจริงคือ ..................................................................................... ๒. ข้อคิดเห็นคือ ......................................................................................... ๓. การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นคือ................................................... ๔. ลักษณะของข้อเท็จจริง ............................................................................. ๕. ลักษณะของข้อคิดเห็น..............................................................................
  • 10. ใบความรู้ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข้อความ ตัวอย่างที่ ๑ ประโยคที่เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๑. ปลาวาฬเป็นสัตว์ที่ใหญ่ที่สุด ในโลก ๑. แมลงเม่าชอบแสงสว่างจึงบิน มาตอมไฟ ๒. น้าเมื่อได้รับความร้อนจะกลาย เป็นไอ ๒. วันนี้ลมพัดแรงฝนคงจะตก ๓. การเกิด แก่ เจ็บ ตายเป็น ธรรมชาติของมนุษย์ ๓. โรคเอดส์น่าจะเป็นโรค ที่ทาลายชีวิตมนุษย์มากที่สุด ๔. กินมะละกอทาให้การขับถ่ายดี ๔. วันสงกรานต์จะเป็นวันที่ร้อน ที่สุดในรอบปี ๕. อาเภอด่านมะขามเตี้ยอยู่ใน จังหวัดกาญจนบุรี ๕. คนเราควรดื่มน้าอย่างน้อย วันละประมาณ ๖ - ๘ แก้ว
  • 11. ตัวอย่างที่ ๒ การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านข้อความ คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากข้อความต่อไปนี้ แล้วเขียน ตัวอักษร(จ) ท้ายข้อความทีเป็นข้อเท็จจริง ตัวอักษร (ค) ท้ายข้อความ ที่เป็นข้อคิดเห็น แสงแดดมีรังสีร้ายแรงที่เรามองไม่เห็นคือรังสีอัลตราไวโอเลต /หนุ่มสาว สมัยใหม่เชื่อกันว่า / ถ้าจะสวมแว่นกันแดดต้องเป็นสีดาสนิทจึงจะดูทันสมัย / บางคน บอกว่าแว่นกันแดดที่ดีนั้นต้องมีราคาแพงและมีรูปพอรับกับใบหน้า / ทั้งนี้ยังเชื่อกันอีก ว่าแว่นกันแดดสียิ่งเข้มจะยิ่งกรองรังสีอัลตราไวโอเลตได้มาก /
  • 12. แนวการตอบ ตัวอย่างที่ ๒ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น - แสงแดดมีรังสีร้ายแรงที่เรามอง - หนุ่มสาวสมัยใหม่เชื่อกันว่า ไม่เห็นคือรังสีอัลตราไวโดเลต - ถ้าจะสวมแว่นกันแดดต้องเป็นสีดาสนิท - จึงจะดูทันสมัยบางคนบอกว่าแว่น - กันแดดที่ดีนั้นต้องมีราคาแพงและ - มีรูปพอรับกับใบหน้า - ทั้งนี้ยังเชื่อกันอีกว่าแว่นกันแดดสี ยิ่งเข้มจะยิ่งกรองรังสีอัลตราไวโอเลต ได้มาก เพื่อน ๆ เข้าใจแล้ว ไปต่อกันเลย....
  • 13. แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข้อความที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง ให้นักเรียน แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น จากข้อความที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ (๕ คะแนน) ยืดอายุรองเท้าคู่เก่ง อย่าเก็บรองเท้าเข้าตู้ขณะที่ยังเปียกหรือชื้นอยู่ ต้องเช็คทาความสะอาด และผึ่งให้แห้งก่อน หรือไม่ ก็ขยากระดาษหนังสือพิมพ์เป็นก้อน ๆ ยัดใส่ไว้ด้านใน รองเท้า ทิ้งไว้ข้ามคืนกระดาษหนังสือพิมพ์จะช่วยดูดซับความชื้นได้ ดีมาก ๆ และดีกว่ากระดาษทิชชู ที่จะติดรองเท้าเป็นขุยขาว ๆ เวลาแห้งแล้ว รองเท้าเหม็นใช้เคล็ดลับพื้น ๆ แบบไทยแท้โบราณนั่นก็คือใช้ถ่านใส่ไว้ใน ตู้ รองเท้าหรือที่เก็บรองเท้า (ที่มา : กานพลู หนังสือหญิงไทย ปีที่ ๓ ปักษ์หลัง มิถุนายน ๒๕๕๑ หน้า ๓๖)
  • 14. แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ กระดาษคาตอบ ข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง ข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... ....................................................
  • 16. แนวการตอบ ตัวอย่าง ข่าว โลหะสวยและมีค่าตกจากฟ้ ามาจากดาวชนกันร่วงตกลงมาโลก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น นักวิทยาศาสตร์ พบวี่แววว่า บรรดาโลหะ โดนดาวเคราะห์น้อยชนใส่เมื่อ อันสวยงามลีค่า ที่ขุดพบกันอยู่บน โลก หลายพันล้านปีก่อนทั้งสิ้น นั้นล้วนแต่ตกมาจากฟ้า เนื่องมาจาก ดาวเคราะห์อายุน้อยนายเกอรฮาร์ด ชมิด จากมหาวิทยาลัยเมนช์ทางตะวันตก ของเยอรมนี ผู้ทาการตรวจสอบบริเวณ หลุมบ่อที่เกิดจากดาวตกใส่ โดยนาเอา ตัวอย่างดินไปวิเคราะห์หาร่องรอยของ โลหะที่สวยงามและมีค่า เขาได้นา ตัวอย่างที่ขุดขึ้นมาได้จากชั้นภายในของ โลกที่อยู่ระหว่างเปลือกโลกและแกนไป เทียบกับเศษดาวตกจากดาวอังคารที่พบ บนโลก
  • 17. แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากข่าวที่กาหนดให้อ่าน ต่อไปนี้ (๕ คะแนน) วงแหวนดาวเสาร์ (ที่มา:หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ปีที่๑๘ ฉบับที่๖๕๑๔ หน้า ๒๔)
  • 18. กระดาษคาตอบ ชุดที่ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... .................................................... ...................................................... ....................................................
  • 19. ตัวอย่าง ใบความรู้ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลง เพลง คาแก้ตัวของคนแพ้ (ศิลปิน ปนัดดา เรืองวุฒิ) รักของฉันไม่ครอบครอง รักของฉันไม่แย่งชิงรักเธอจริงต้องยอมเสียน้าตา ถึงเขารักเธอเท่าไรฉันนั้นรักเธอมากกว่า เพราะฉะนั้นต้องยอมตัดสินใจ เสียสละสูงส่ง เหลือเกินที่จะเดินออกมาให้จบเรื่องนี้ไปก็แค่คาแก้ตัวของคนพ่ายแพ้ เมื่อในวันนี้ เธอมี เหลือแต่แค่ความเห็นใจ คาว่ารักไม่หลงไม่เหลือให้เห็นนั่นคือเหตุผลที่มันชัดเจนฉันควรเป็นฝ่ายไป แพ้ชนะไม่สาคัญ แพ้ชนะมันไร้ค่า ถ้าคนกลางอย่างเธอต้องทุกข์ใจไม่ปล่อยมือกันซัก คน เธอต้องทนอีกเท่าไหร่ เธอจะลาบากใจแค่ไหนกัน
  • 20. แนวการตอบ เพลง คาแก้ตัวของคนแพ้ (ศิลปิน ปนัดดา เรืองวุฒิ) ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น รักของฉันไม่ครอบครอง รักของฉัน รักเธอจริงต้องยอมเสียน้าตา ไม่แย่งชิง คาว่ารักไม่หลงให้เห็น ถึงเขารักเธอเท่าไร ฉันนั้นรัก นั่นคือเหตุผลที่มันชัดเจนฉันควร เธอมากกว่า เพราะฉะนั้นต้อง เป็นฝ่ายไป ยอมตัดสินใจ เสียสละสูงส่ง เหลือเกินที่จะเดินออกมาให้จบ เรื่องนี้ไป ก็แค่คาแก้ตัวของคน พ่ายแพ้ เมื่อในวันนี้ เธอมีเหลือ แต่แค่ความเห็นใจ แพ้ชนะ ไม่ สาคัญ แพ้ชนะมันไร้ค่า ถ้าคน กลางอย่างเธอต้องทุกข์ใจไม่ปล่อย มือกันซักคน เธอต้องทน อีกเท่าไหร่ เธอจะลาบากใจแค่ไหนกัน
  • 21. แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากเนื้อเพลงที่กาหนดให้ อ่านต่อไปนี้ โดยเขียนตัวอักษร (จ)ท้ายประโยคที่เป็นข้อเท็จจริง เขียน ตัวอักษร (ค)ท้ายประโยคที่เป็นข้อคิดเห็น เพลง แชร์ (ศิลปิน Potato) เธอกักขังตัวเองไว้นานเท่าไร ไม่รับใครเข้ามา ความปวดร้าวในคราวนั้น ที่มันฝังใจอย่าแบกให้เหนื่อยล้า มองที่ฉันคนนี้ ที่รักเธอมานานคนที่เธอนั้นมองผ่าน เรื่อยมาอย่าเพิ่งคิดว่าชีวิตของเธอไม่มีค่า ฉันขอรักษาเธอได้ไหม ให้เธอแชร์ความช้าใน หัวใจมาให้ฉัน แบ่งมันมาจน เธอนั้นสบายใจและจะแชร์ความรักไปให้เธอเก็บไว้ ใส่มันลงแทนที่ในหัวใจ ที่เธอ ปวดร้าว เธอเกลียดเขาขนาดไหน ในหัวใจ ยิ่งคิดไปคิดมาความอ่อนไหวในวันนี้ ที่ เธอนั้นมีนั้นแหละคือปัญหาผ้าที่เคยห่ม หมอนที่เคยหนุน ของที่เคยคุ้นตา ก็ไม่เหมือนเก่า เพราะ มีคาว่าเหงา เข้ามานอนแทนที่เธอและมันไม่คุ้นที่เธอหายไป ไม่มีอีกแล้ว ไม่มี ไม่มีเธออีกแล้วข้างกาย ไม่มีใครให้บอกรัก ให้ฉันพักใจ ต้องกอดความเดียวดายไปทุก
  • 22. คืน มันไม่มีอีกแล้ว วันนั้น ไม่ว่าจะหลับฝัน หรือตื่น ร้องไห้ คนเดียวกับแสงดาว อยู่ทุกคืนเพราะห้ามใจตัวเองไม่ได้เลย ให้เลิกรักเธอ ใบความรู้ ตัวอย่าง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากการอ่านนิทาน นิทานชาดก เรื่องขราทิยชาดก
  • 23. (ที่มา:พระภาวนาวิริยคุณ นิทานชาดก เล่ม ๒ กราฟิคอาร์ตพริ้นติ้ง กรุงเทพฯ มปป. หน้า ๖๒-๖๔)
  • 24. ในอดีตกาล มีพญากวางตัวหนึ่งคุมบริวารฝูงใหญ่อยู่ในป่าใกล้เมืองพาราณสี พญากวางเป็นผู้มีความเข้มแข็ง มีระเบียบวินัย มีเมตตาธรรม วันหนึ่งนางกวาง ซึ่งเป็นน้องสาวผู้หนึ่งของพญากวางได้พาลูกชายมาฝากฝังพญากวางให้สอน วิชาให้ด้วย พญากวางยินดีสอนและนัดวันให้มาเรียน
  • 25. เมื่อถึงวันเรียน ลูกกวางบนกับเพื่อน ๆ ว่า “ฉันไม่อยากเรียนเรื่อง ตะกุยดิน เบ่งท้อง พองลม ทาเป็นตายนะ ไม่เห็นสนุกเลย ไม่ยากเลยไม่เรียน ก็ได้ ” ฝ่ายเพื่อน ๆ ค้านว่า “นี่เธอ มันอาจจะไม่ง่ายเหมือนอย่างที่คิด ก็ได้นะ พญากวางท่านอุตส่าห์สอนให้ มีโอกาสแล้วก็รีบเถอะ ”
  • 27. ฝ่ายนางกวางไม่เห็นลูกกลับมา วันแรก ๆ ยังคิดว่าลูกตนคงขะมักเขม้นเรียนวิชา อยู่กับ พญากวางผู้เป็นลุงจึงรีบไปถามพญากวาง ๆจึงตอบว่า “น้องเอ๋ย ตั้งแต่วันที่เจ้าเอาลูกมา ฝากให้สอนวิชาแล้ว ฉันก็ไม่เห็นหน้ามันอีกเลย” นางกวางได้ยินดังนั้นจึงตกใจมาก เที่ยววิ่งไปสอบถามบรรดาเพื่อน ๆ ของลูกชาย จึงรู้ว่าลูกของนางวิ่งเล่นไปจนติดบ่วง นายพรานและถูกฆ่าตายเสียแล้ว นางเศร้าโศกเสียใจมากได้แต่ร้องไห้คร่าครวญไป ต่าง ๆ นานา นางกวางร้องไห้สะอื้น ประหนึ่งว่าจะขาดใจ พญากวางจึงกล่าวให้สติแก่ นางว่า “ขราทิยาเอ๋ย เจ้าอย่าได้เศร้าโศกเสียใจกับลูก หัวดื้อ ไม่ยอมอยู่ในโอวาทนั่น เลย ฉันไม่อาจสั่งสอนและไม่คิดจะสั่งสอนเจ้ากวางผู้มี ๘ กีบ มีเขาคตตั้งแต่โคนจนถึง ปลาย ทนดื้อด้านอยู่ได้ตั้ง ๗ วันเช่นนี้
  • 28. แนวการตอบ นิทานชาดก เรื่องขราทิยชาดก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ในอดีตกาล มีพญากวางตัวหนึ่งคุม บริวารฝูงใหญ่อยู่ในป่าใกล้เมืองพาราณสี วันหนึ่งนางกวางซึ่งเป็นน้องสาวผู้หนึ่ง ของพญากวางได้พาลูกชายมาฝากฝังพญา กวางให้สอนวิชาให้ด้วย พญากวางยินดี สอนและนัดวันให้มาเรียน เมื่อถึงวัน เรียน ลูกกวางบนกับเพื่อน ๆว่า ฝ่ าย เพื่อน ๆ ค้านว่า “แล้วลูกกวางก็เที่ยวเล่น ในป่ า จน กระทั่งไปติดบ่วงของ นาย พรานเข้าในวันหนึ่ง ฝ่ายนางกวาง ไม่เห็นลูกกลับมา “น้องเอ๋ย ตั้งแต่วันที่ เจ้าเอาลูกมาฝากให้สอนวิชาแล้ว ฉันก็ไม่ เห็นหน้ามันอีกเลย” เที่ยววิ่งไปสอบถาม บรรดาเพื่อน ๆ ของลูกชาย จึงรู้ว่าลูก ของนางวิ่งเล่นไปจนติดบ่วงนายพราน และถูกฆ่าตายเสียแล้ว พญากวางเป็นผู้มีความเข้มแข็ง มีระเบียบวินัย มีเมตตาธรรม “ฉันไม่อยากเรียนเรื่องตะกุยดิน เบ่งท้อง พองลม ทาเป็นตายนะ ไม่เห็นสนุก เลย ไม่ยากเลยไม่เรียนก็ได้ ”นี่เธอ มันอาจจะ ไม่ง่ายเหมือนอย่างที่คิดก็ได้นะ พญากวาง ท่านอุตส่าห์สอนให้ มีโอกาสแล้วก็รีบเถอะ” แต่กวางน้อยยังคงดื้อดึง ไม่สนใจฟังคาแนะนา ตักเตือนของเพื่อน ๆ วันแรก ๆ ยังคิดว่าลูกตน คงขะมักเขม้นเรียนวิชาอยู่กับพญากวางผู้เป็น ลุงจึงรีบไปถามพญากวาง ๆจึงตอบว่า นาง กวางได้ยินดังนั้นจึงตกใจมาก นางเศร้าโศก เสียใจมากได้แต่ร้องไห้คร่าครวญไปต่าง ๆ นานา นางกวางร้องไห้สะอื้น ประหนึ่งว่าจะ ขาดใจ พญากวางจึงกล่าวให้สติแก่นางว่า “ขราทิยาเอ๋ย เจ้าอย่าได้เศร้าโศกเสียใจกับลูก หัวดื้อ ไม่ยอมอยู่ในโอวาทนั่นเลย ฉันไม่อาจ สั่งสอนและไม่คิดจะสั่งสอนเจ้ากวางผู้มี ๘ กีบ มีเขาคตตั้งแต่โคนจนถึงปลาย ทนดื้อด้านอยู่ ได้ตั้ง ๗ วันเช่นนี้
  • 29. N แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ จุดประสงค์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากนิทานที่กาหนดให้อ่านได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นจากที่นิทานที่อ่านต่อไปนี้ (๑๐ คะแนน) นิทาน ดวงใจดอกไม้และดวงตาผีเสื้อ ตอน ทะเลหิมะ
  • 30. บนหุบเขาอันไกลโพ้น เด็กหญิงมาลัยกาลังเผ้าดูแลอาการของ พี่สาวด้วยความห่วงใย พี่สาวของมาลัยกาลังไม่สบาย เธอป่วยเป็นโรค วัณโรคขั้นรุนแรง เด็กหญิงสองคนอยู่ร่วมกันอย่างโดดเดี่ยว เพราะ พ่อแม่ของพวกเธอได้หายจากบ้านไปนานแล้ว มาลัยกับมะลิช่วยกัน ทางานหาอาหารมาประทังชีวิต
  • 32. อีกหน่อยบ้านริมทะเลก็จะกลายเป็นหิมะ ลุงสายเคยบอกเอาไว้ก่อน ที่เขา จะย้ายไปจากที่นี่ มาลัยเธอทิ้งพี่ไว้ที่นี่เถอะรีบหนีไปก่อนที่จะถูกความหนาว เย็นทาร้าย มาลัยได้ยินมะลิบอกเช่นนั้น เด็กหญิงจึงร้องไห้และกอดพี่สาวไว้ จนแน่น “หนูไม่ไปไหนทั้งนั้น ถ้าไปก็ต้องไปด้วยกัน หนูจะทิ้งพี่ให้ถูก หิมะทับตายได้ ยังไง เราอยู่ด้วยกันก็จะได้มีเพื่อน การกอดกันอบอุ่นมากนะ จะทาให้พวกเราไม่ต้องหนาวไง ”มะลิรู้สึกอบอุ่นขึ้น เธอยื่นมือน้อย ๆ มา สวมกอดน้องสาว “เราเดินทางเถอะ พี่จะไม่ให้น้องต้องหนาวตายอยู่ที่นี่ ” มาลัยกอดพี่สาวแน่นยิ่งขึ้น เธอยิ้มแล้วพูดเสียงแห้ง ๆ เพราะเริ่มรู้สึกว่าลิ้นชา “พี่ยอมเดินทางแล้วหรือจ๊ะ ” ตอนที่ลุงสายมาชวนเราสองคน พี่กลัวว่าเราจะ เป็นภาระของพวกเขา เพราะพี่ไม่สบาย พี่อยากให้น้องไปกับลุงสาย แต่น้องก็ ไม่ยอมทิ้งพี่ไป “หนูไม่ทิ้งพี่มะลิหรอกจ๊ะ เพราะ พี่รักหนู ”
  • 33. มะลิค่อย ๆ ลุกขึ้น เดินออกมาจากบ้านพร้อมกับน้องสาว มาลัย จับมือน้องสาวค่อยๆจูงออกมาจากโลกที่เคยปิดกั้นมิดชิด เด็กหญิงทั้งสอง พร้อมที่จะออกไปเผชิญกับโลกภายนอกบ้านด้วยความกล้าหาญและ อดทน เธอทั้งสองต่างรู้ดีว่าการเดินทางยาวไกลเพียงเพื่อจะได้พบอาณาจักรอบอุ่นที่ไม่ ต้องอ้างว้างอีกต่อไป
  • 34. มาลัยเคยรู้สึกว่าโลกของหิมะเต็มไปด้วยความงดงาม แม้ความหนาวเย็น ช่างโหดร้ายแต่เมื่อมีมะลิคอยเล่าถึงความสวยงามของมัน เด็กหญิงก็เริ่ม มองเห็นโลกอีกด้านทะเลหิมะเป็นเพียงอาณาจักรที่คุมขังของนักโทษที่รับ การตัดสิน นับแต่เจ้าแห่งทะเลทรายได้ถูกสาปให้กลายเป็นหิมะนับแต่นั้น ดินแดนแห่งความหนาวเย็นก็กลายเป็นโลกอีกด้านของผืนเขาทะเลทราย
  • 35. มะลิเปลี่ยนความโชคร้ายของตัวเองให้กลายเป็นความเข้าใจ เด็กหญิง จึงมีโลก ที่สดใส ทาให้เผชิญกับโรคร้ายที่กาลังคุกคามชีวิตของเธอ วันละนิดละน้อย มาลัยคือความสุขที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในตอนนี้ อย่างน้อยเธอมีน้องสาวที่เข้าใจ เป็น เพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสุข แบ่งปันกาลังใจ ต่อกันทะเลหิมะอันหนาวเหน็บไม่ได้ ทาให้มาลัยและมะลิท้อแท้สิ้นหวังอีกแล้ว เด็กหญิงทั้งสองต่างทาหน้าที่รักษา ชีวิตตนเองเอาไว้เพื่อ จะได้ไปถึงโลกแห่งความอบอุ่น
  • 36. แบบฝึกกิจกรรม เสริมทบทวนความรู้ การอ่านแยกข้อเท็จจริงข้อคิดเห็น คาชี้แจง นักเรียนเขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้วแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ………………………………. ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………
  • 37. ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ที่มา………………………………………………………………… แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ ๔ เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท (x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด ๑. ลักษณะของข้อคิดเห็นตรงกับข้อใด ก. เป็นการคาดคะเน ข. หลักฐานเชื่อถือได้ ค. สามารถพิสูจน์ได้ ง. มีความสมเหตุสมผล ๒. ข้อใดเป็นลักษณะของข้อเท็จจริง ก. มีความสมจริง ข. เป็นการคาดคะเน ค. ไม่สามารถพิสูจน์ได้ ง. เป็นการแสดงความรู้สึก ๓. “วรรณคดี เรื่องนิราศภูเขาทองเป็นวรรณคดีที่แต่งด้วยคาประพันธ์ ประเภทกลอนนิราศ” ข้อความดังกล่าวตรงกับลักษณะในข้อใด ก. เป็นการคาดคะเน ข. มีความเป็นไปได้ ค. สามารถพิสูจน์ได้
  • 38. ง. มีความสมเหตุสมผล ๔. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง ก. เดือนพฤษภาคมอยู่ในช่วงฤดูฝน ข. เดือนพฤษภาคมโรงเรียนมักจะเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๑ ค. เดือนพฤษภาคมจะเป็นเดือนแรกที่ชาวนาเริ่มลงมือทานา ง. เดือนพฤษภาคมโดยส่วนรวมแล้วจะมีผู้ป่วยโรคไข้หวัดสูงสุด ๕. ข้อใดเป็นข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น ก. จังหวัดกาญจนบุรีมีทั้งหมด ๑๓ อาเภอ ข. จังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด ๒๕ แห่ง ค. จังหวัดกาญจนบุรีน่าจะเป็นจังหวัดที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากที่สุด ง. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นสถานที่เกี่ยวข้องกับการทาสงคราม โลกครั้งที่ ๒ จากข้อ ๖ - ๑๐ ให้พิจารณา ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดที่เป็นข้อเท็จจริงให้เขียน ตัวอักษร จ และข้อความใดที่ เป็นข้อคิดเห็นให้เขียนตัวอักษร ค หน้าข้อความ ............. ๖. น้าตกไทรโยคเป็นชื่อเดียวกับอาเภอในจังหวัดกาญจนบุรี ............. ๗. อ้อยเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตน้าตาล ............... ๘. น้าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของร่างกายทั้งคนและสัตว์
  • 39. ............... ๙. สะพานข้ามแม่น้าแควน่าจะเป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวรู้จักมาก ที่สุดในจังหวัดกาญจนบุรี ............... ๑๐. พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรีมักจะเป็นพื้นที่ ในการทาเกษตรกรรม เกณฑ์การประเมินการอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน รายการ เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความหมาย อธิบายความหมายของ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้ ถูกต้อง ชัดเจน มีตัวอย่าง ประกอบ อธิบายความหมายของ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ได้ถูกต้อง ชัดเจนไม่มี ตัวอย่างประกอบ อธิบายความหมายของ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ได้ถูกต้องแต่ยังไม่ ชัดเจน อธิบายความหมายของ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ได้ไม่ถูกต้อง ๒ ลักษณะ ของข้อเท็จจริง อธิ บ ายลักษ ณ ะของ ข้อเท็จจริงได้ครบถ้วนทั้ง ๕ ข้อโดยเรี ยงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อเท็จจริงได้ครบทั้ง ๕ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อเท็จจริงได้ ๓ ข้อ โ ด ย เรี ย ง ล า ดั บ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อเท็จจริงได้ ๓ ข้อโดย ไ ม่ เ รี ย ง ล า ดั บ ความสาคัญ ๓ ลักษณะ ของข้อคิดเห็น อธิ บ ายลักษ ณ ะของ ข้อคิดเห็นได้ครบถ้วนทั้ง ๔ ข้อโดยเรี ยงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อคิดเห็นได้ครบทั้ง ๔ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อคิดเห็นได้ ๒ ข้อ โ ด ย เรี ย ง ล า ดั บ ความสาคัญ อธิบายลักษณะของ ข้อคิดเห็นได้ ๒ ข้อโดย ไ ม่ เ รี ย ง ล า ดั บ ความสาคัญ ๔ การแยก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แ ยก ป ระ โย ค ที่ เป็ น ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น โดยบ อกลักษ ณ ะได้ ถูกต้อง ครบถ้วนและ ชัดเจน แยกประโยคที่ เป็ น ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ ข้อคิดเห็น โดยบอก ลักษณะได้ ๒ ลักษณะ แต่ไม่ชัดเจน แยกประโยคที่เป็ น ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ ข้อคิดเห็นได้ โดยบอก ลักษณะได้เพียงอย่าง เดียว แยกประโยคที่ เป็ น ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ ข้อคิดเห็นได้โดยบอก เหตุผลได้ไม่ชัดเจน ๕ นิสัยรัก อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่ าน ข้อ ค วาม แ ล้ว
  • 40. การอ่าน อ่านเนื้อเพลง อ่านนิทาน แ ล้ ว ส า ม า ร ถ แ ย ก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้ ถูกต้อง ชัดเจน อ่ าน เนื้ อ เพ ล งแล้ว สามารถแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้ถูกต้อง ชัดเจน แ ล้วส าม าร ถ แ ย ก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ได้ถูกต้อง ชัดเจน สามารถแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นได้ถูกต้อง ชัดเจน หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ คะแนน ๘ - ๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕ - ๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑ - ๔ หมายถึง ปรับปรุง แบบประเมินการอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน ที่ รายการประเมิน รวม คะแนน ๒๐ เฉลี่ย ๑๐ คะแนน สรุปผลการประเมิน ความ หมาย ๔ ลักษณะ ข้อเท็จจริง ๔ ลักษณะ ข้อคิดเห็น ๔ การแยก ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๔ นิสัยรัก การอ่าน ๔ ดี พอใช้ ปรับปรุง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๕ ๑๖ ๑๗
  • 42. (.............................................. ) ............../.................../............. หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕-๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑-๔ หมายถึง ปรับปรุง ภาคผนวก
  • 45. เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ ข้อ ก ข ค ง ๑ X ๒ X ๓ X ๔ X ๕ X ๖ X ๗ X ๘ X ๙ X ๑๐ X
  • 46. ๑. ข้อความที่บอกเหตุการณ์มีความเป็นไปได้สมเหตุสมผล มีความสมจริง มีหลักฐานสามารถพิสูจน์ได้ ๒. ข้อความที่แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก หรือการคาดคะเน ๓. การอ่านอย่างละเอียดทุกตัวอักษรแล้วแยกแยะว่าอะไรคือข้อเท็จจริงอะไร คือข้อคิดเห็น อะไรผิด อะไรถูก ๔. มีความเป็นไปได้สมจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้สมเหตุสมผล สามารถ พิสูจน์ได้ ๕. เป็นการคาดคะเน การแสดงความรู้สึก เป็นความคิดของผู้เขียน ไม่สามารถ พิสูจน์ได้ เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ ยืดอายุรองเท้าคู่เก่ง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
  • 47. ทิ้งไว้ข้ามคืน เวลาแห้งแล้ว รองเท้า อย่าเก็บรองเท้าเข้าตู้ ขณะที่ปียก เหม็น ใช้เคล็ดลับพื้น ๆ แบบไทย หรือชื้นอยู่ต้องเช็คทาความสะอาด แท้โบราณ นั่นก็คือใช้ถ่านใส่ไว้ และผึ่งให้แห้งก่อน หรือไม่ก็ขยา ในตู้รองเท้าหรือที่เก็บรองเท้า กระดาษหนังสือพิมพ์เป็นก้อน ๆ ยัดใส่ไว้ด้านในรองเท้า กระดาษ หนังสือพิมพ์จะช่วยดูดซับความชื้น ได้ดีมาก ๆ และดีกว่ากระดาษ ทิสชู่ที่จะติดรองเท้าเป็นขุยขาว ๆ (ที่มา:กานพลู หนังสือหญิงไทย ปีที่ ๓ ปักษ์หลัง มิถุนายน ๒๕๕๑ หน้า ๓๖) เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ วงแหวนดาวเสาร์
  • 48. ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วงแหวนดาวเสาร์ นายแลรี่ เอสโพสิโต อาจมีขนาดใหญ่กว่าและเก่าแก่ นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัย กว่าที่นักดาราศาสตร์ เคย โคโลราโดสหรัฐรัฐอเมริกากล่าวว่า สันนิษฐานไว้ “เราเคยเชื่อว่า เนื่องจากวงแหวนดูสะอาดและสว่าง วงแหวนดาวเสาร์มีอายุน้อยกว่า แต่มันยังคงสว่างอยู่ ดาวเสาร์อย่างน้อย ๑๐๐ ล้านปี แต่เมื่อพิจารณาเข้าไปใกล้ๆ เห็นว่าวงแหวนมีลักษณะหยาบ กว่าที่คิด ดังนั้นวงแหวนอาจ เก่าแก่กว่าที่เราคิด เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ เพลง แชร์ (ศิลปิน Potato) ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
  • 49. เธอกักขังตัวเองไว้นานเท่าไร ความปวดร้าวในคราวนั้นที่มันฝังใจ อย่า ไม่รับใครเข้ามา มองที่ฉันคนนี้ แบกให้เหนื่อยล้า ที่รักเธอมานาน อย่าเพิ่ง คนที่เธอนั้นมองผ่าน เรื่อยมานั้น คิดว่าชีวิตของเธอไม่ มีค่าฉันขอรักษาเธอ แหละคือปัญหา ร้องไห้คนเดียว ให้เธอแชร์ความช้าในหัวใจมาให้ฉันแบ่ง ได้ไหมกับแสงดาวอยู่ทุกคืน มันมาจนเธอนั้นสบายใจ และจะแชร์ ความรักไปให้เธอเก็บไว้ใส่มันลงแทนที่ใน หัวใจที่เธอ ปวดร้าวเธอเกลียดเขา ขนาดไหน ในหัวใจยิ่งคิดไปคิดมา ความ อ่อนไหวในวันนี้ ที่เธอนั้นมีผ้าที่เคยห่ม หมอนที่เคยหนุน ของที่เคยคุ้นตา ก็ไม่ เหมือนเก่า (ค) เพราะมีคาว่าเหงา เข้ามา นอนแทน ที่เธอ และมันไม่คุ้นที่เธอหายไป ไม่มีอีกแล้ว ไม่มี ไม่มีเธออีกแล้วข้างกาย ไม่มีใครให้บอกรัก ให้ฉันพักใจ ต้องกอด ความเดียวดายไปทุกคืน มันไม่มีอีกแล้ว วันนั้น ไม่ว่าจะหลับฝันหรือตื่นเพราะ ห้ามใจตัวเองไม่ได้เลย ให้เลิกรักเธอ เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ นิทาน ดวงใจดอกไม้และดวงตาผีเสื้อ ตอน ทะเลหิมะ
  • 50. ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น พี่สาวของมาลัยกาลังไม่สบาย เธอ ป่ วยเป็ นโรควัณโรคขั้นรุนแรง เพราะพ่อแม่ของพวกเธอได้หายจาก บ้านไปนานแล้ว บ้านของพวกเธอ เป็ นบ้านที่ทาจากใบจาก เพราะ เพื่ อน บ้านย้ายถิ่น ฐานกัน ไป หมดแล้ว อีกหน่อยบ้านริมทะเลก็ จะกลายเป็นหิมะลุงสายเคยบอก เอาไว้ก่อนที่เขาจะย้ายไปจากที่นี่ มาลัยได้ยินมะลิบอกเช่นนั้ น เด็กหญิงจึงร้องไห้และกอดพี่สาวไว้ จนแน่น บนหุบเขาอันไกลโพ้น เด็กหญิงมาลัยกาลังเฝ้าดูแล อาการของพี่สาวด้วยความห่วงใย เด็กหญิงสองคน อยู่ร่วมกันอย่างโดดเดี่ยว มาลัยกับมะลิช่วยกัน ทางานหาอาหารมาประทังชีวิต เด็กหญิงทั้งสองรู้ดี ว่าพวกเธอจะต้องอยู่กันอย่างโดดเดี่ยว มาลัย เธอทิ้ง พี่ไว้ที่นี่เถอะรีบหนีไปก่อนที่จะถูกความหนาวเย็น ทาร้าย “หนูไม่ไปไหนทั้งนั้น ถ้าไปก็ต้องไป ด้วยกัน หนูจะทิ้งพี่ให้ถูกหิมะทับตายได้ยังไง เรา อยู่ด้วยกันก็จะได้มีเพื่อน การกอดกันอบอุ่นมากนะ จะทาให้พวกเราไม่ต้องหนาวไงมะลิรู้สึกอบอุ่นขึ้น เธอยื่นมือน้อยๆ มาสวมกอดน้องสาว “เราเดินทาง เถอะพี่จะไม่ให้น้องต้องหนาวตายอยู่ที่นี่ ” เธอยิ้ม แล้วพูดเสียงแห้ง ๆ เพราะเริ่มรู้สึกว่าลิ้นชา พี่กลัว ว่าเราจะเป็นภาระ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น “พี่ยอมเดินทางแล้วหรือจ๊ะ ” ตอน ที่ลุงสายมาชวนเราสองคน มาลัย กอดพี่สาวแน่นยิ่งขึ้น มะลิค่อย ๆ ลุกขึ้น เดินออกมาจากบ้านพร้อม กับน้องส าว นับ แต่เจ้าแห่ ง ของพวกเขา เพราะพี่ไม่สบาย พี่อยากให้น้องไป กับลุงสาย แต่น้องก็ไม่ยอมทิ้งพี่ไป“หนูไม่ทิ้งพี่ มะลิหรอกจ๊ะ เพราะพี่รักหนู”มาลัยจับมือน้องสาว ค่อย ๆจูงออกมาจากโลกที่เคยปิ ดกั้นมิดชิด เด็กหญิงทั้งสองพร้อมที่จะออกไปเผชิญกับโลก
  • 51. ทะเลทรายได้ถูกสาปให้กลายเป็น หิมะนับแต่นั้นดินแดนแห่งความ หนาวเย็นก็กลายเป็นโลกอีกด้าน ของผืนเขาทะเลทรายทาให้เผชิญกับ โรคร้ายที่กาลังคุกคามชีวิตของเธอ วันละนิดละน้อย ภายนอกบ้านด้วยความกล้าหาญและอดทน เธอทั้ง สองต่างรู้ดีว่าการเดินทางยาวไกลเพียงเพื่อจะได้ พบอาณาจักรอบอุ่นที่ไม่ต้องอ้างว้างอีกต่อไป มาลัยเคยรู้สึกว่าโลกของหิมะเต็มไปด้วยความ งดงาม แม้ความหนาวเย็นช่างโหดร้ายแต่เมื่อมี มะลิคอยเล่าถึงความสวยงามของมัน เด็กหญิงก็เริ่ม มองเห็นโลกอีกด้านทะเลหิมะเป็นเพียงอาณาจักร ที่คุมขังของนักโทษที่รับการตัดสิน มะลิเปลี่ยน ความโชคร้ายของตัวเองให้กลายเป็นความเข้าใจ เด็กหญิงจึงมีโลกที่สดใส มาลัยคือความสุข ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในตอนนี้ อย่างน้อยเธอมีน้องสาว ที่เข้าใจ เป็ นเพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมสุข แบ่งปัน กาลังใจต่อกัน ทะเลหิมะอันหนาวเหน็บไม่ได้ทา ให้มาลัยและมะลิท้อแท้สิ้นหวังอีกแล้ว เด็กหญิง ทั้งสองต่างทาหน้าที่รักษาชีวิตตนเองเอาไว้เพื่อจะ ได้ไปถึงโลกแห่งความอบอุ่น แนวการตอบ แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ การอ่านแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น 6
  • 52. คาชี้แจง นักเรียนเขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้ว แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตาสวย ด้วยปลา อยากตาสวย ทานปลาสิคะ ถ้าตื่นเช้ามา ดวงตาของคุณดูอิดโรย ไม่สดใส พอไปถึงที่ทางานก็จ้องหน้า คอมพิวเตอร์ มองอะไรไม่ชัดถ้าอย่างนั้นมื้อกลางวันนี้ไปทานปลากันเถอะ เพราะ มี งานวิจัยออกมาบอกว่า ไม่ใช่วิตามินเอที่ดีต่อสายตาเท่านั้น วิตามินดีซึ่งมีอยู่ในอาหาร จาพวกปลานั้น ก็ดีต่อสายตาด้วยเหมือนกัน อีกทั้งยังช่วยป้ องกันไม่ให้สายตาเสื่อม เร็ว ด้วย ในปลาทะเลนั้นมีน้ามันปลาที่มีกรดไขมัน ๒ ชนิดที่ร่างกายคนเราต้องการ แต่กลับ ไม่สามารถสร้างเองได้ นั่นคือในกลุ่มโอเมก้า ๓ ซึ่งกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว ที่เรียกว่า DHA นักวิจัยเชื่อว่ามีบทบาทสาคัญในการทางานของจอประสาทตา ยิ่ง ในคนสูงอายุยัง ช่วยลดการติดเชื้อที่อาจเกิดกับดวงตาและป้องกันเส้นเลือดขึ้นนัยน์ตา ได้อีกด้วย ที่มาข้อมูลจาก : นสพ. บางกอกทูเดย์ออนไลน์ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑ แนวการตอบ
  • 53. ตาสวย ด้วยปลา อยากตาสวย ทานปลาสิคะ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น งานวิจัยออกมาบอกว่า ไม่ใช่ ถ้าตื่นเช้ามา ดวงตาของคุณดูอิดโรย วิตามินเอที่ดีต่อสายตาเท่านั้น ไม่สดใส พอไปถึงที่ทางานก็จ้องหน้า วิตามินดีซึ่งมีอยู่ในอาหารจาพวก คอมพิวเตอร์ มองอะไรไม่ชัดก็ดีต่อ ปลานั้น ในปลาทะเลนั้นมีน้ามัน สายตาด้วยเหมือนกัน อีกทั้งยังช่วยป้องกัน ปลาที่มีกรดไขมัน ๒ ชนิดที่ร่างกาย ไม่ให้สายตาเสื่อมวัยด้วย แต่กลับไม่ คนเราต้องการ นั่นคือในกลุ่ม สามารถสร้างเองได้นักวิจัยเชื่อว่ามีบทบาท โอเมก้า ๓ ซึ่งกรดไขมันชนิด สาคัญในการทางานของจอประสาทตา ไม่อิ่มตัวที่เรียกว่า DHA ยิ่งในคนสูงอายุช่วยลดการติดเชื้อที่เกิด กับดวงตา และป้องกันเส้นเลือดขึ้นนัยน์ตา ได้อีกด้วย บรรณานุกรม ที่มา: วันทนีย์ วิบูลกีรติ หญิงไทย ปีที่ ๓๓ ปักษ์แรก สิงหาคม ๒๕๕๑ (ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๑๘๕๑๔ วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ หน้า ๗) (ที่มา:หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันจันทร์ที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๑ ปีที่๑๘ ฉบับที่๖๕๑๔ หน้า
  • 54. (ที่มา:พระภาวนาวิริยคุณ นิทานชาดก เล่ม ๒ กราฟิคอาร์ตพริ้นติ้ง กรุงเทพฯ มปป. หน้า ๖๒- ๖๔) (ที่มา: วันทนีย์ วิบูลกีรติ หญิงไทย ปีที่ ๓๓ ปักษ์แรก สิงหาคม ๒๕๕๑ หน้า๑๘๖-๑๘๗) ที่มาข้อมูลจาก : นสพ. บางกอกทูเดย์ออนไลน์ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕