SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
 
  ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ . ศ . 2530  ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่  ( Prince of Songkla University)  และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที  ( AIT)  ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย  ( โครงการ  IDP) ประวัติความเป็นมา
ต่อมาในพ . ศ . 2531  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต  Sritrang.psu.th   ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย
ต่อมาใน พ . ศ . 2531  ประเทศออสเตรเลียมีโครงการให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์  ในประเทศไทย  โดยมีมหาวิทยาลัยไทย  3  แห่งอยู่ในโครงการ  คือ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย  ( AIT)  และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เครือข่ายของมหาวิทยาลัยของทั้งสามแห่งนี้เรียกชื่อว่า  “ TCSNET”  (Thai Computer Science Network)
เครือข่าย  Thai Computer Science Network  (TCSNET)  เป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเครือข่ายแรกของประเทศไทย
พ . ศ . 2534  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ได้ติดตั้งโปรแกรม  MHSNet  โดยใช้  modem  ความเร็ว  14.4  Kbps  โดยได้รับความช่วยเหลือจากประเทศออสเตรเลีย  และเป็นทางผ่านใหม่สำหรับการติดต่อระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัยในประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น  การใช้อีเมล์ผ่าน  MHSNet  และ  UUCP  เริ่มเข้ามามีส่วนสำคัญสำหรับสถาบันการศึกษาในสมัยนั้น
  พ . ศ . 2535  ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ  ( NECTEC)  ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย  6  แห่ง ได้แก่  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,  สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย  ( AIT),  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,  ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC),  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  เข้าด้วยกันเรียกว่า  “เครือข่ายไทยสาร”
“ เครือข่ายไทยสาร”
  พ . ศ .  2538  เกิดโครงการ  SchoolNet  โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC)  และเกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับเอกชน  โดยความร่วมมือของ  การสื่อสารแห่งประเทศไทย  ( CAT)  องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย  ( TOT)   และสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ  ( สวทช .)
 

More Related Content

Similar to อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตTeerayut43
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลPattie Pattie
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 

Similar to อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย (20)

อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
Group 1
Group 1Group 1
Group 1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดลย่านตาขาวโมเดล
ย่านตาขาวโมเดล
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย

  • 1.  
  • 2. ประเทศไทยได้เริ่มติดต่อกับอินเทอร์เน็ตในปี พ . ศ . 2530 ในลักษณะการใช้บริการ จดหมายเล็กทรอนิกส์แบบแลกเปลี่ยนถุงเมล์เป็นครั้งแรก โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่  ( Prince of Songkla University) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียหรือสถาบันเอไอที ( AIT)  ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและออสเตรเลีย ( โครงการ IDP) ประวัติความเป็นมา
  • 3. ต่อมาในพ . ศ . 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยได้รับที่อยู่อินเทอร์เน็ต Sritrang.psu.th ซึ่งนับเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ตแห่งแรกของประเทศไทย
  • 4. ต่อมาใน พ . ศ . 2531 ประเทศออสเตรเลียมีโครงการให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในประเทศไทย โดยมีมหาวิทยาลัยไทย 3 แห่งอยู่ในโครงการ คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครือข่ายของมหาวิทยาลัยของทั้งสามแห่งนี้เรียกชื่อว่า “ TCSNET” (Thai Computer Science Network)
  • 5. เครือข่าย Thai Computer Science Network (TCSNET) เป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเครือข่ายแรกของประเทศไทย
  • 6. พ . ศ . 2534 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ติดตั้งโปรแกรม MHSNet โดยใช้ modem ความเร็ว 14.4 Kbps โดยได้รับความช่วยเหลือจากประเทศออสเตรเลีย และเป็นทางผ่านใหม่สำหรับการติดต่อระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัยในประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น การใช้อีเมล์ผ่าน MHSNet และ UUCP เริ่มเข้ามามีส่วนสำคัญสำหรับสถาบันการศึกษาในสมัยนั้น
  • 7. . ศ . 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ( AIT), มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรียกว่า “เครือข่ายไทยสาร”
  • 9. . ศ . 2538 เกิดโครงการ SchoolNet โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) และเกิดเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับเอกชน โดยความร่วมมือของ การสื่อสารแห่งประเทศไทย ( CAT) องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ( TOT) และสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ( สวทช .)
  • 10.