SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ชาดกเป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทพระพุทธศาสนานิกายนี้ได้แพร่ห
ลายและมีอิทธิพลในประเทศไทยสมัยสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชพระองค์ทรงนิมนต์พ
ระสังฆราชผู้ซึ่งเป็นนิกายลังกาวงศ์มาจากนครศรีธรรมราชมาประดิษฐานพระพุทธศาสนาในกรุงสุ
โ ข ทั ย เ สื่ อ ม ใ ส ศ รั ท ธ า ดั ง ป ร า ก ฏ ใ น ศิ ล า จ า รึ ก พ่ อ ขุ น ร า ม ค า แ ห ง
พระสังฆราชได้นาเอาพระคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถามายังสุโขทัยและมีการศึกษาพระคัมภี
ร์เหล่านั้นในราชสานักด้วยในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องชาดกได้แพร่หลายมากในสมัยพระบาทสมเด็
จพ ระบรมไตรโลกนาถพระองค์ได้ให้นักปราชญ์แต่งมห าช าติคาห ลวงขึ้ น ใน พ .ศ.
๒๐๒๕ต่อมาพระเจ้าทรงธรรมได้ทรงพระราชนิพนธ์มหาชาติสานวนไทยขึ้นอีกฉบับหนึ่ ง
เรียกว่า “กาพย์มหาชาติ”
ในสมัยรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรดให้มีการทาสังคายนาพระไ
ตรปิฏก เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑ คัมภีร์ชาดกซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฏกขุททกนิกาย
ก็ได้รับการสังคายนาด้วย
ก่อนที่จะกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทยจะกล่าวถึงการชาระจารึกและ
การพิมพ์
พระไตรปิฏกในประเทศไทยเสียก่อนเพื่อเป็นการนาเข้าหาหัวข้อการแปลชาดกในประเทศไทยการ
ชาระจารึกและการพิมพ์พระไตรปิฏกในประเทศไทยแบ่งออกเป็น ๔ สมัย ดังนี้ คือสมัยที่ ๑
สมัยพระเจ้าติโลกราช
เมืองเชียงใหม่ได้มีการชาระและจารพระไตรปิฏกลงในใบลานด้วยอักษรล้านนาในปี พ.ศ. ๒๐๒๐
สมัยที่ ๒สมัยรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพ ฯ ได้มีการชาระและจารพระไตรปิฏกด้วยอักษรขอมในปี
พ.ศ.๒๓๓๑ สมัยที่ ๓ สมัยรัชกาลที่ ๕
ได้มีการชาระคัดลอกด้วยอักษรขอมและแปลพระไตรปิฏกเป็นอักษรไทย พิมพ์ครั้งแรก ๓๙
เล่มชุด จานวน ๑,๐๐๐ ชุด ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ –๒๔๓๖ สมัยที่ ๔ สมัยรัชกาลที่ ๗
ได้มีการชาระและแปลพระไตรปิฏกเพิ่มจากการพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็น ๖ เล่มรวมเป็น ๔๕
เล่ม ครบบริบูรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘ –๒๔๗๓
ที่มา : http://sasikan93.blogspot.com/2009/02/blog-post_9036.html
การนาชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การแปลชาดกในประเทศ
ไทย
ต่อไปนี้ ขอกล่าวถึงการแปลชาดกใน ประเทศไทยการแปลนิ ทานชาดกมีขึ้น
จากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงการแปลและการพิมพ์นิทานชาด
ก ดั ง ข้ อ ค ว า ม ต อ น ห นึ่ ง ว่ า
“ถ้าหนังสือเช่นนี้มิได้ในเมืองไทยทั้งหมดก็นับว่าเป็นเครื่องอลังการใหญ่ในหนังสือแปลภาษาขอ
ง เ ร า ” แ ล ะ ด้ ว ย พ ร ะ ร า ช ด า ริ ดั ง ก ล่ า ว นี้
เมื่อคราวบาเพ็ญพระราชกุศลในงานพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าหญิงศรีวิไลยลักษณ์กรมขุ
น สุ พ ร ร ณ ภ า ค ว ดี จึ ง ไ ด้ ท ร ง อ า ร า ธ น า ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ้ า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรสให้เป็นประธานพร้อมด้วยพระราชาคณะผู้ใหญ่อื่นอีกกับทั้งกรมพระ
สมมตอมรพันธุ์ช่วยกันเริ่มแปลนิบาตชาดกถวายตามพระราชประสงค์ทันพิมพ์แจกในงานพระศ
พ ค รั้ ง นั้ น ๓ ว ร ร ค ร ว ม ๓ ๐ นิ ท า น
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์กระแสพระราชดาริและพระราช
ป ร า ร ภ พิ ม พ์ เ ป็ น ค า น า ไ ว้ ข้ า ง ต้ น ค รั้ ง ถึ ง ปี พ .ศ . ๒ ๔ ๕ ๓
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตพวกบัณฑิตผู้รู้ภาษาบาลีดีทั้งพระภิกษุและฆรา
วาสปรารภกันว่าควรช่วยกันแปลนิบาตชาดกให้สาเร็จตลอดดังพระราชประสงค์เพื่อเป็นการบาเพ็
ญกุศลสนองพระเดชพระคุณเมื่อกรรมการหอพระสมุดสาหรับพระนครมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระสมมตอมรพันธุ์เป็นประธานได้ทราบและได้ให้การสนับสนุนโดยจัดหาต้นฉบับหนังสือ
นิบาตชาดกภาษาบาลีรวบรวมหนังสือที่แปลมาแล้วและรับจะจัดพิมพ์เมื่อความนั้นแพร่ออกไปผู้รู้
ภาษาบาลีทั้งพระภิกษุและฆราวาสซึ่งมีศรัทธาได้แปลนิบาตชาดกที่ค้างอยู่สาเร็จและหอพระสมุด
สาหรับพระนครได้พิมพ์สาเร็จ
ปัจจุบันนี้หนังสือนิบาตชาดกฉบับแปลสมบูรณ์ทั้ง ๕๔๗ เรื่องมีอยู่๔ ฉบับ
คือฉบับห อสมุดแห่งช าติ ฉบับของสานักอบรมครู วัดสามพ ระ ยา โดยใช้ชื่อว่า
“พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส.”พิมพ์ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ ฉบับของ ส.ธรรมศักดี มี ๕ เล่ม
จ บ บ ริ บู ร ณ์ แ ล ะ ฉ บั บ สุ ด ท้ า ย คื อ
ฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัยซึ่งแปลรวมทั้งพระไตรปิ ฎกและอรรถกถาไว้ในเล่มเดียวกันมี ๑๐
เล่มนอกจากฉบับที่สมบูรณ์ดังกล่าวมาแล้วยังมีผู้นาเอานิบาตชาดกไปใช้ให้เกิดประโยชน์นั่นคือบ
า ง ค น เ ลื อ ก แ ป ล แ ล ะ ย่ อ เ ฉ พ า ะ บ า ง เ รื่ อ ง ที่ ง่ า ย
ๆสาคัญและเหมาะสมสาหรับผู้เรียนผู้อ่านเพื่อเป็นนิทานสุภาษิตหรือเป็นหนังสืออ่านประกอบก็มี
เฉพาะมหานิบาตชาดกคือ ทศชาติชาดก (พระเจ้า ๑๐ ชาติ) มีผู้นาไปแต่งเป็นร้อยกรอง หรือ
ร้อยแก้วก็มี
การอ่านชาดก
เพื่อการเทศน์และการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลินบางคนเลือกเอาเฉพาะเรื่องใดเรื่
องหนึ่งมาเรียบเรียงเพื่อสอนเป็นคติเตือนใจในการดาเนินชีวิตบางคนก็เลือกเอาเฉพาะเรื่องที่รู้จักกั
น ทั่ ว ๆ
ไปนาไปเรียบเรียงให้เข้ากับนิทานพื้นบ้านของไทยซึ่งทั้งหมดนั้นก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือเป็
นคติหรือเป็นเรื่องสอนใจสามารถนาไปปรับให้เข้ากับการ
ดาเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุขตลอดไป
แหล่งกาเนิด
แ ห ล่ ง ก า เ นิ ด ข อ ง นิ ท า น ช า ด ก ๕ ๔ ๗ เ รื่ อ ง
มีลักษณะเป็นนิทานพื้นบ้านเก่าแก่มีมาก่อนพุทธกาลดังพระบรมราชาอธิบายเรื่องนิบาตชาดกของ
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ต อ น ห นึ่ ง ว่า “
เรื่องชาดกนี้ไม่ใช่เรื่องราวครั้งพุทธกาลเป็นเรื่องมีมาเก่าแก่ก่อนพุทธกาลที่จะพึงกาหนดได้ด้วยหลั
กฐาน ห ลายอย่าง ถึงใ น ช าดกเอง ก็รับ ว่าเป็ น เรื่อง เก่าด้วยกัน อดีตทุก ๆ แห่ง
เมื่อพ ระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมถึงที่ควรจะให้ความชัดขึ้น ด้วยชักนิ ทาน มากล่าว
มาชักมาสาธกให้เห็นความกระจ่าง
ที่มา : http://sasikan93.blogspot.com//2009/02/blog-post_9036.html

More Related Content

What's hot

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542CUPress
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพPonrawat Jangdee
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารchaiedu
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณyeanpean
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 

What's hot (20)

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
9789740335542
97897403355429789740335542
9789740335542
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
การสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพการสถาปนากรุงเทพ
การสถาปนากรุงเทพ
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณ
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
สส
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 

Viewers also liked

ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1Rung Kru
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดกRung Kru
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
คุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทานคุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทานRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์Rung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2Rung Kru
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1Rung Kru
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1Rung Kru
 

Viewers also liked (20)

ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดก
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
คุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทานคุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
 
ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 
ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
 

Similar to การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาPanda Jing
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 

Similar to การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย (20)

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธีลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

More from Rung Kru

ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3Rung Kru
 

More from Rung Kru (6)

ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
 

การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย

  • 1. ชาดกเป็นคัมภีร์วรรณคดีบาลีในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทพระพุทธศาสนานิกายนี้ได้แพร่ห ลายและมีอิทธิพลในประเทศไทยสมัยสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชพระองค์ทรงนิมนต์พ ระสังฆราชผู้ซึ่งเป็นนิกายลังกาวงศ์มาจากนครศรีธรรมราชมาประดิษฐานพระพุทธศาสนาในกรุงสุ โ ข ทั ย เ สื่ อ ม ใ ส ศ รั ท ธ า ดั ง ป ร า ก ฏ ใ น ศิ ล า จ า รึ ก พ่ อ ขุ น ร า ม ค า แ ห ง พระสังฆราชได้นาเอาพระคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถามายังสุโขทัยและมีการศึกษาพระคัมภี ร์เหล่านั้นในราชสานักด้วยในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องชาดกได้แพร่หลายมากในสมัยพระบาทสมเด็ จพ ระบรมไตรโลกนาถพระองค์ได้ให้นักปราชญ์แต่งมห าช าติคาห ลวงขึ้ น ใน พ .ศ. ๒๐๒๕ต่อมาพระเจ้าทรงธรรมได้ทรงพระราชนิพนธ์มหาชาติสานวนไทยขึ้นอีกฉบับหนึ่ ง เรียกว่า “กาพย์มหาชาติ” ในสมัยรัตนโกสินทร์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้โปรดให้มีการทาสังคายนาพระไ ตรปิฏก เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑ คัมภีร์ชาดกซึ่งอยู่ในพระสุตตันตปิฏกขุททกนิกาย ก็ได้รับการสังคายนาด้วย ก่อนที่จะกล่าวถึงการแปลชาดกในประเทศไทยจะกล่าวถึงการชาระจารึกและ การพิมพ์ พระไตรปิฏกในประเทศไทยเสียก่อนเพื่อเป็นการนาเข้าหาหัวข้อการแปลชาดกในประเทศไทยการ ชาระจารึกและการพิมพ์พระไตรปิฏกในประเทศไทยแบ่งออกเป็น ๔ สมัย ดังนี้ คือสมัยที่ ๑ สมัยพระเจ้าติโลกราช เมืองเชียงใหม่ได้มีการชาระและจารพระไตรปิฏกลงในใบลานด้วยอักษรล้านนาในปี พ.ศ. ๒๐๒๐ สมัยที่ ๒สมัยรัชกาลที่ ๑ กรุงเทพ ฯ ได้มีการชาระและจารพระไตรปิฏกด้วยอักษรขอมในปี พ.ศ.๒๓๓๑ สมัยที่ ๓ สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีการชาระคัดลอกด้วยอักษรขอมและแปลพระไตรปิฏกเป็นอักษรไทย พิมพ์ครั้งแรก ๓๙ เล่มชุด จานวน ๑,๐๐๐ ชุด ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ –๒๔๓๖ สมัยที่ ๔ สมัยรัชกาลที่ ๗ ได้มีการชาระและแปลพระไตรปิฏกเพิ่มจากการพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็น ๖ เล่มรวมเป็น ๔๕ เล่ม ครบบริบูรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘ –๒๔๗๓ ที่มา : http://sasikan93.blogspot.com/2009/02/blog-post_9036.html การนาชาดกเข้ามาในประเทศไทย การแปลชาดกในประเทศ ไทย
  • 2. ต่อไปนี้ ขอกล่าวถึงการแปลชาดกใน ประเทศไทยการแปลนิ ทานชาดกมีขึ้น จากพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงการแปลและการพิมพ์นิทานชาด ก ดั ง ข้ อ ค ว า ม ต อ น ห นึ่ ง ว่ า “ถ้าหนังสือเช่นนี้มิได้ในเมืองไทยทั้งหมดก็นับว่าเป็นเครื่องอลังการใหญ่ในหนังสือแปลภาษาขอ ง เ ร า ” แ ล ะ ด้ ว ย พ ร ะ ร า ช ด า ริ ดั ง ก ล่ า ว นี้ เมื่อคราวบาเพ็ญพระราชกุศลในงานพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าหญิงศรีวิไลยลักษณ์กรมขุ น สุ พ ร ร ณ ภ า ค ว ดี จึ ง ไ ด้ ท ร ง อ า ร า ธ น า ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ้ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสให้เป็นประธานพร้อมด้วยพระราชาคณะผู้ใหญ่อื่นอีกกับทั้งกรมพระ สมมตอมรพันธุ์ช่วยกันเริ่มแปลนิบาตชาดกถวายตามพระราชประสงค์ทันพิมพ์แจกในงานพระศ พ ค รั้ ง นั้ น ๓ ว ร ร ค ร ว ม ๓ ๐ นิ ท า น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์กระแสพระราชดาริและพระราช ป ร า ร ภ พิ ม พ์ เ ป็ น ค า น า ไ ว้ ข้ า ง ต้ น ค รั้ ง ถึ ง ปี พ .ศ . ๒ ๔ ๕ ๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตพวกบัณฑิตผู้รู้ภาษาบาลีดีทั้งพระภิกษุและฆรา วาสปรารภกันว่าควรช่วยกันแปลนิบาตชาดกให้สาเร็จตลอดดังพระราชประสงค์เพื่อเป็นการบาเพ็ ญกุศลสนองพระเดชพระคุณเมื่อกรรมการหอพระสมุดสาหรับพระนครมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์เป็นประธานได้ทราบและได้ให้การสนับสนุนโดยจัดหาต้นฉบับหนังสือ นิบาตชาดกภาษาบาลีรวบรวมหนังสือที่แปลมาแล้วและรับจะจัดพิมพ์เมื่อความนั้นแพร่ออกไปผู้รู้ ภาษาบาลีทั้งพระภิกษุและฆราวาสซึ่งมีศรัทธาได้แปลนิบาตชาดกที่ค้างอยู่สาเร็จและหอพระสมุด สาหรับพระนครได้พิมพ์สาเร็จ ปัจจุบันนี้หนังสือนิบาตชาดกฉบับแปลสมบูรณ์ทั้ง ๕๔๗ เรื่องมีอยู่๔ ฉบับ คือฉบับห อสมุดแห่งช าติ ฉบับของสานักอบรมครู วัดสามพ ระ ยา โดยใช้ชื่อว่า “พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส.”พิมพ์ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ ฉบับของ ส.ธรรมศักดี มี ๕ เล่ม จ บ บ ริ บู ร ณ์ แ ล ะ ฉ บั บ สุ ด ท้ า ย คื อ ฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัยซึ่งแปลรวมทั้งพระไตรปิ ฎกและอรรถกถาไว้ในเล่มเดียวกันมี ๑๐ เล่มนอกจากฉบับที่สมบูรณ์ดังกล่าวมาแล้วยังมีผู้นาเอานิบาตชาดกไปใช้ให้เกิดประโยชน์นั่นคือบ า ง ค น เ ลื อ ก แ ป ล แ ล ะ ย่ อ เ ฉ พ า ะ บ า ง เ รื่ อ ง ที่ ง่ า ย ๆสาคัญและเหมาะสมสาหรับผู้เรียนผู้อ่านเพื่อเป็นนิทานสุภาษิตหรือเป็นหนังสืออ่านประกอบก็มี เฉพาะมหานิบาตชาดกคือ ทศชาติชาดก (พระเจ้า ๑๐ ชาติ) มีผู้นาไปแต่งเป็นร้อยกรอง หรือ ร้อยแก้วก็มี
  • 3. การอ่านชาดก เพื่อการเทศน์และการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลินบางคนเลือกเอาเฉพาะเรื่องใดเรื่ องหนึ่งมาเรียบเรียงเพื่อสอนเป็นคติเตือนใจในการดาเนินชีวิตบางคนก็เลือกเอาเฉพาะเรื่องที่รู้จักกั น ทั่ ว ๆ ไปนาไปเรียบเรียงให้เข้ากับนิทานพื้นบ้านของไทยซึ่งทั้งหมดนั้นก็มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือเป็ นคติหรือเป็นเรื่องสอนใจสามารถนาไปปรับให้เข้ากับการ ดาเนินชีวิตในปัจจุบันเพื่อให้เกิดสันติสุขตลอดไป แหล่งกาเนิด แ ห ล่ ง ก า เ นิ ด ข อ ง นิ ท า น ช า ด ก ๕ ๔ ๗ เ รื่ อ ง มีลักษณะเป็นนิทานพื้นบ้านเก่าแก่มีมาก่อนพุทธกาลดังพระบรมราชาอธิบายเรื่องนิบาตชาดกของ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ต อ น ห นึ่ ง ว่า “ เรื่องชาดกนี้ไม่ใช่เรื่องราวครั้งพุทธกาลเป็นเรื่องมีมาเก่าแก่ก่อนพุทธกาลที่จะพึงกาหนดได้ด้วยหลั กฐาน ห ลายอย่าง ถึงใ น ช าดกเอง ก็รับ ว่าเป็ น เรื่อง เก่าด้วยกัน อดีตทุก ๆ แห่ง เมื่อพ ระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมถึงที่ควรจะให้ความชัดขึ้น ด้วยชักนิ ทาน มากล่าว มาชักมาสาธกให้เห็นความกระจ่าง ที่มา : http://sasikan93.blogspot.com//2009/02/blog-post_9036.html