SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
716
á¼¹¡ÒÃÊ͹ª‹Ç§ªÑé¹µÒÁÇѯ¨Ñ¡Ã¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠ô MAT
à¾×èÍÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳÐ
´Õ à¡‹§ ÁÕÊØ¢
หน่วยการเรียนรู้ที่
à·ÕèÂÇ·ÑèÇä·Â
àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡ÒºŒÒ¹àÃÒ
¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÙÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ
ªÑé¹ ».ñ - ó
๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
717
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๑-๓
หน่วยการเรียนรู้ที่	๕	เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง	ท้องฟาบ้านเรา	ระยะเวลาในการสอน	๒๔	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๗.๑	 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ	กาแล็กซี่และอวกาศ	การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
และผลต่อสิ่งมีชีวิตในโลก	มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	และดวงดาว
ป.	๒/๑	 สืบค้นและอภิปรายความสำาคัญของดวงอาทิตย์
มาตรฐาน ว ๖.๑	 เข้าใจกระบวนการต่างๆ	ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก	ความสัมพันธ์ของกระบวนการ
ต่างๆ	ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ	และสันฐานของโลก	มีกระบวนการสืบเสาะ	หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สำารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนำ้าจากแหล่งนำ้าในท้องถิ่นและนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.	๓/๒	 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสำาคัญของอากาศ
ป.	๓/๓	 ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของอุณหภูมิ
๒.	กำาหนดสาระสำาคัญของการเรียนรู้
บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	และดวงดาว	ในเวลากลางวันเราจะสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ซึ่งมีแสงสว่างจ้า
มาก	จนมองไม่เห็นดวงดาว	ที่มีความสว่างน้อยกว่า	แต่จะสังเกตเห็นดวงจันทร์และดวงดาวได้ชัดเจนในเวลากลางคืน
เราใช้ดวงอาทิตย์ในการบอกทิศ	โดยกำาหนดว่า	เมื่อสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ในตอนเช้าอยู่ด้านใด	ด้านนั้นเรียก
ว่าทิศตะวันออก	ส่วนด้านที่สังเกตเห็นดวงอาทิตย์ตกในตอนเย็น	เรียกว่า	ทิศตะวันตก	แล้วใช้ทิศตะวันออก	และ
ทิศตะวันตกเป็นหลักในการกำาหนดทิศเหนือและทิศใต้
ดวงอาทิตย์นอกจากจะใช้ในการบอกทิศแล้วยังเป็นแหล่งพลังงานของโลกที่ให้ทั้งพลังงานความร้อนและ
พลังงานแสงซึ่งช่วยในการดำารงชีวิตและการผลิตอาหารของพืชด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อเลี้ยงชาวโลก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
718
ศิลปะ
–	 ร้องเพลงที่เกี่ยวข้อง
	 กับท้องฟ้าและดวงดาว
	 วาดภาพระบายสีท้องฟ้า
ท้องฟ้าบ้านเรา
สังคมศึกษา
–	 การใช้แหล่งเรียนรู้
	 และภูมิปัญญา
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
–	 ออกแบบอุปกรณ์ง่ายๆ
	 เกี่ยวกับลูกโลกและ
	 ดวงดาว
คณิตศาสตร์
–	 การบันทึกข้อมูล
	 การสังเกตเงา
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	นักเรียนเป็นคนดีโดย
	 	–	 ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร
	 	–	 ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
	 ๒.	นักเรียนเป็นคนเก่งโดย
	 	–	 แสวงหาความรู้และประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น แสวงหาจากสื่อหรือเทคโนโลยี แหล่ง
	 เรียนรู้ตามธรรมชาติและสุรปเป็นองค์ความรู้ได้
	 	–	 มีทักษะในการคิด การจัดการและการแก้ปัญหา ระบุปัญหา บอกวิธีการแก้ปัญหา และสามารถแก้ปัญหา
	 ง่ายๆ ได้ตามวัย
	 	–	 บอกสิ่งที่สังเกตเห็นบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน
	 	–	 บอกทิศโดยสังเกตการขึ้นตกของดวงอาทิตย์
	 	–	 อธิบายและสรุปความสำ�คัญของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก
	 ๓.	นักเรียนเป็นคนมีความสุขโดย
	 	–	 ให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น กล้าแสดงออกด้วยความมั่นใจ ร่าเริงแจ่มใส
๔.	การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
ภาษาไทย
–	 ต่อคำ�คล้องจอง
	 เกี่ยวกับเรื่องดวงดาว
	 บนท้องฟ้า
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
719
๘
๗
๑
๒
๓
๕ ๔
๖
ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม
ช่วยกันวาดภาพระบายสี
ท้องฟ้าในธรรมชาติ
ท้องฟ้าบ้านเรา
๕.	ผังการวางแผนตามแนววัฏจักรการเรียนรู้
ครูนำ�สนทนาท้องฟ้า
จากผลงานของแต่ละกลุ่ม
ที่นำ�เสนอมีอะไรบ้างบนท้องฟ้า
ครูนำ�ผู้เรียนร้องเพลง
เกี่ยวกับท้องฟ้าและดวงดาวผู้เรียนดูท้องฟ้า
ในเวลากลางวัน
และกลางคืนบันทึกใน
ใบกิจกรรมที่๓.๔และ๓.๔/๑
นำ�เสนอรายงาน
–ผู้เรียนสอบถามจากบิดามารดาหรือ
ผู้ปกครองเกี่ยวกับลักษณะของดวงจันทร์
และดวงดาวการขึ้นตกของดวงอาทิตย์
บันทึกในใบกิจกรรมที่
๓.๔/๔-๓.๔/๕
ผู้เรียนแต่ละคน
นำ�เสนอผลงานเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
–ประเมินผลงาน
โดยครูและนักเรียน
ผู้เรียนทุกคนศึกษาเรื่องทิศ
บันทึกในใบกิจกรรมที่๓.๔
ผู้เรียนสร้างอุปกรณ์ดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์และดวงดาว
–เล่นเกมหาทิศโดยใช้
อุปกรณ์ที่สร้าง
    –การค้นหาเงา                              ให้ผู้เรียนอธิบาย
	   ถึงประโยชน์ของ
          ดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และ
บันทึกในใบกิจกรรมที่๓.๔/๕
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 ครูแจกกระดาษวาดรูปแผ่นใหญ่ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวาดภาพ
ระบายสีท้องฟ้าและวัตถุในท้องฟ้า
	 *	 ตัวแทนผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงาน
	๒.	 ครูนำ�สนทนาในท้องฟ้ามีอะไรบ้าง ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง
จักรวาล เอกภาพ ระบบสุริยะและดวงดาวในท้องฟ้า
	๓.	 ครูนำ�ผู้เรียนร้องเพลง “แสงดาว” ดังนี้ แสงดาวพราวบนฟ้า เจิดแจ่มจ้า
งามตาน่าชม คํ่าคืนชื่นอารมณ์ ยามเมื่อลมพัดรำ�เพยมา ดาวเด่น ระยับ
สว่างวาววับเราสุดจะนับจำ�นวนดารา แสงสว่างสุกใสอยู่ในนภา ใคร
ประดิษฐ์เจ้ามาน่าชมจริงเอย
	๔.	 ครูพาผู้เรียนออกไปที่สนามแล้วให้ทุกคนแหงนดูดาวบนท้องฟ้า (โดยต้อง
เตือนผู้เรียนว่าอย่ามองที่ดวงอาทิตย์ตรงๆ เพราะอาจทำ�ให้ตาเจ็บหรือ
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนวาดภาพระบายสี
และนำ�เสนอผลงาน
–	 นักเรียนร้องเพลง
–	 นักเรียนอภิปราย และบันทึก
ผลในใบกิจกรรม, วาดภาพ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
720
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนสังเกตท้องฟ้าใน
เวลากลางคืน
–	 นักเรียนร่วมกันอภิปราย
บันทึกผล ในใบกิจกรรม
แล้ววาดภาพ
–	 นักเรียนอภิปรายประโยชน์
ของดวงอาทิตย์,ตอบคำ�ถาม,
บันทึก
–	 นักเรียนออกแบบสร้าง
ชิ้นงาน
บอดได้) เมื่อกลับเข้าห้องเรียนให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย สิ่งที่เห็น
บนท้องฟ้าในเวลากลางวัน บันทึกผลในใบกิจกรรมที่ ๓.๔ และวาดภาพ
ท้องฟ้าในเวลากลางวันนำ�เสนอผลงาน
	 *	 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปสังเกตท้องฟ้าในเวลากลางคืน
ที่บ้าน ว่าเห็นอะไรบ้างในท้องฟ้า ให้ผู้เรียนปรึิกษาขอคำ�แนะนำ�จาก
พ่อแม่หรือพี่หรือผู้ปกครองหรือบุคคลอื่นๆ
	 	 	 –	 นำ�ผลการสังเกตมาอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม บันทึกผลในใบ
กิจกรรมที่ ๓.๔/๑ และวาดภาพท้องฟ้าในเวลากลางคืน ซึ่งอาจมี
ดวงดาว ดวงจันทร์ (หรือบางครั้งอาจไม่พบดวงจันทร์ เพราะเป็น
ข้างแรม) เป็นต้น
	 *	 ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มคอยติดตามสังเกตว่าดวงอาทิตย์ขึ้น
และตกทางด้านใดแล้ว แล้วนำ�เสนอต่อชั้นเรียน
	 	 	 –	 ครูให้ความรู้เรื่องการกำ�หนดทิศเหนือ ใต้ ออก ตก จากการสังเกต
การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ ให้ผู้เรียนบันทึกผลการสังเกตใน
ใบกิจกรรมที่ ๓.๔/๔ และ ๓.๔/๕
	๕.	 ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงประโยชน์ของดวงอาทิตย์ว่านอกจากจะใช้
ในการกำ�หนดทิศแล้ว ยังมีประโยชน์อะไรอีกบ้าง แล้วให้ตอบคำ�ถามและ
บันทึกข้อสรุปลงในใบกิจกรรมที่๓.๔/๓
	 *	 ให้แต่ละกลุ่มนำ�ข้อสรุปเสนอต่อชั้นเรียน อภิปรายร่วมกันจนได้
ข้อสรุปว่าดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน แสงสว่างและความร้อน
	 *	 ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายต่อไปอีกว่า พลังงานแสงและพลังงาน
ความร้อนใช้ประโยชน์อะไรบ้าง แล้วนำ�ข้อสรุปของกลุ่มเสนอต่อชั้น
เรียน เพื่ออภิปรายร่วมกันจนได้ข้อสรุป เช่น
	 	 	 –	 แสงจากดวงอาทิตย์ให้ความสว่างช่วยในการมองเห็น
	 	 	 –	 ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
	 	 	 –	 ผลิตอาหารให้แก่มนุษย์และสัตว์
	 	 	 –	 นำ�พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า
	 	 	 –	 พลังงานความร้อนช่วยทำ�ให้โลกอบอุ่น
	 	 	 –	 ใช้แปรรูปอาหารสดให้เป็นอาหารแห้งเก็บไว้ใช้ได้นานๆ
	๖.	 ผู้เรียนสร้างโมเดล ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โลกและดวงดาวต่างๆ โดยใช้
ดินเหนียวหรือแป้งประดิษฐ์
	 *	 เล่นเกมหาทิศโดยใช้อุปกรณ์ที่สร้าง
	 *	 เกมการค้นหาเงา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
721
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๗.	 ให้ผู้เรียนอาสาสมัคร ๑ คน ออกมากางแขนโดยใช้มือขวาชี้ไปทางทิศ
ตะวันออก มือซ้ายชี้ไปทางทิศตะวันตก แล้วให้ความรู้เพิ่มเติมว่าด้าน
หน้าของนักเรียนจะเป็นทิศเหนือส่วนด้านหลังของนักเรียนจะเป็นทิศใต้
	 –	 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย บันทึกลงในใบกิจกรรมที่ ๓.๔/๒
	๘.	 ผู้เรียนแต่ละคนและแต่ละกลุ่มจัดแสดงผลงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
การนำ�ไปประยุกต์ใช้
	 	 –	 ครูและนักเรียนประเมินผลชิ้นงาน
–	 นักเรียนร่วมกันอภิปราย
บันทึก
–	 นักเรียนนำ�เสนอผลงาน
๗.	สื่อการเรียนการสอน
	 ๑.	ใบกิจกรรม	
	 ๒.	ลูกโลก
	 ๓.	กระดาษวาดเขียนแผ่นใหญ่	
	 ๔.	ดินเหนียวหรือดินนํ้ามัน
	 ๕.	ท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน
๘.	การประเมินผลตามสภาพจริง
กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม สังเกต
การสัมภาษณ์
แบบสังเกต
๒. ตรวจผลงาน การตรวจผลงาน
๓. การนำ�เสนอผลงาน / การรายงาน การรายงานตนเองของนักเรียน แบบสัมภาษณ์
ผู้ประเมิน	 –	 ครู
	 –	 นักเรียน และเพื่อนนักเรียน
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
722
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๑
หน่วยการเรียนรู้ที่	๕	เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง	ท้องฟาแสนสวย	ระยะเวลาในการสอน	๑	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๗.๑	 เข้าใจวิวัฒนาการ	กาแล็กซี่	อวกาศ	การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต
บนโลก	มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	และดวงดาว
๒.	สาระการเรียนรู้
ท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	และดวงดาว	โดยในเวลากลางวันจะสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ซึ่งมีแสงสว่างจ้า
มาก	จนไม่อาจเห็นดวงดาวที่มีแสงสว่างน้อยกว่า	แต่จะเห็นดวงจันทร์และดวงดาวชัดเจนในเวลากลางคืน
๓.	จุดประสงคการเรียนรู้
ระบุสิ่งที่สังเกตเห็นบนท้องฟ้าทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน
๔.	การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง	เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน
	๒.	 ครูถามนักเรียนว่า	นักเรียนเคยเห็นท้องฟ้าที่สวยที่สุดที่ไหน	นักเรียน
ตอบทีละคน	พร้อมกับอธิบายสั้นๆ	ว่าสวยอย่างไร
	๓.	 ให้นักเรียนดูท้องฟ้าในแต่ละสถานที่ต่างๆ	และร่วมกันบรรยายภาพนั้นๆ
	๔.	 นักเรียนดูภาพท้องฟ้า	ครูถามนักเรียนจากภาพเป็นเวลากลางวันหรือ
กลางคืน
	๕.	 ครูถามนักเรียนต่อไปว่าจากการสังเกตเห็นอะไรบ้าง	นักเรียนอาจต่อไป
	 	 –	 ก้อนเมฆ
	 	 –	 ดวงอาทิตย์
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ
เพลงพร้อมๆ	กัน
–	 นักเรียนตอบทีละคนพร้อม
อภิปรายสั้นๆ
–	 นักเรียนดูภาพท้องฟ้าและ
ร่วมกันตอบคำาถาม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
723
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพในท้องฟ้า	
	 ๒.	ใบกิจกรรม
๖.	การวัดผลประเมิน
	 ๑.	การตอบคำ�ถาม	
	 ๒.	การร่วมกิจกรรม	
	 ๓.	การประเมินใบกิจกรรม
๗.	บันทึกผลหลังการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 	 –	 นก
	 	 	 เป็นต้น
	๖.	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่มองเห็นในภาพท้องฟ้าในเวลา
กลางวันว่าในเวลากลางวันเราสามารถมองเห็นเมฆและดวงอาทิตย์ได้
	๗.	 นักเรียนร่วมกันสะกดคำ�ว่าเมฆดวงอาทิตย์
	๘.	 กิจกรรมนักเรียนวาดภาพท้องฟ้าเวลากลางวันตามจินตนาการ
	๙.	 นำ�เสนอผลงานวาดท้องฟ้าเวลากลางวันของนักเรียน และร่วมกันอภิปราย
ภาพนั้น
	๑๐.	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปว่า สิ่งที่เรามองเห็นบนท้องฟ้า
เวลากลางวันคือเมฆและดวงอาทิตย์
	๑๑.	 ครูแนะนำ�ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องราวเกี่ยวกับท้องฟ้า
เวลากลางวันจากแหล่งความรู้ต่างๆเช่นหนังสือในห้องสมุดอินเทอร์เน็ต
–	 นักเรียนวาดภาพท้องฟ้า
ตามจินตนาการแล้วนำ�เสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรียน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
724
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๒
หน่วยการเรียนรู้ที่	๕	เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง	ประโยชนของดวงอาทิตย	ระยะเวลาในการสอน	๑	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๗.๑	 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ	กาแล็กซี่	และเอกภพ	การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
และส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก	มีกระบวนการ	การสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๒/๑	 สืบค้นและอภิปรายความสำาคัญของดวงอาทิตย์
๒.	สาระการเรียนรู้
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่สำาคัญที่สุดของโลกเพราะให้ทั้งพลังงานความร้อน	และพลังงานแสง	ซึ่งช่วย
ในการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
๓.	จุดประสงคการเรียนรู้
อภิปรายและสรุปประโยชน์ของดวงอาทิตย์
๔.	การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง	เพื่อเตรียมความพร้อม
	๒.	 ให้นักเรียนดูภาพความงดงามของแสงจากดวงอาทิตย์ขึ้นและตก	และ
ร่วมกันบรรยายภาพต่างๆ	เหล่านั้น
	๓.	 ให้ตัวแทนนักเรียนอภิปรายสั้นๆ	ในหัวข้อ	ดวงอาทิตย์มีประโยชน์อย่างไร
ซึ่งนักเรียนอาจตอบว่า
	 	 –	 ดวงอาทิตย์ทำาให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ
	 	 –	 ดวงอาทิตย์ให้ความอบอุ่น
	 	 –	 ดวงอาทิตย์ทำาให้ผ้าแห้ง
	 	 	 ฯลฯ
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนร่วมกันเคลื่อนไหว
พร้อมๆ	กัน
–	 นักเรียนร่วมกันบรรยายภาพ
นั้นๆ
–	 ตัวแทนนักเรียนนำาเสนอ
ความคิดเกี่ยวกับประโยชน์
ของดวงอาทิตย์
ระยะเวลาในการสอน	๑	ชั่วโมง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
725
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	รูปภาพ	
	 ๒.	ใบกิจกรรม
๖.	การวัดผลประเมิน
	 ๑.	การตอบคำ�ถาม	
	 ๒.	การร่วมกิจกรรม
	 ๓.	การประเมินใบกิจกรรม
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	๔.	 นักเรียนดูภาพแล้วช่วยกันตอบว่า ดวงอาทิตย์มีประโยชน์อย่างไรกับภาพ
ที่เห็น ซึ่งภาพนั้นอาจเป็นภาพเกี่ยวกับ การอ่านหนังสือ การเจริญเติบโต
ของต้นไม้การถนอมอาหารโดยการตากแห้งการขับรถยนต์เป็นต้น
	๕.	 นักเรียนสังเกตภาพแล้วช่วยกันอธิบายเพื่อสรุปว่าดวงอาทิตย์มีประโยชน์
ต่อสิ่งต่างๆ คือความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำ�ให้ผ้าแห้ง ทำ�ให้ปลาไม่เน่า ซึ่ง
เป็นการถนอมอาหารอีกวิธีหนึ่ง แสงจากดวงอาทิตย์ทำ�ให้คนเราและสัตว์
มองเห็นสิ่งต่างๆ แสงเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อกระบวนการสร้างอาหารของพืช
พลังงานแสงสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ก้อนหินต้องการแสง
และความร้อนจากดวงอาทิตย์ในการผุกร่อนและกลายเป็นดิน
	๖.	 ครูถามนักเรียนว่าถ้าโลกนี้ไม่มีดวงอาทิตย์จะเป็นอย่างไร
	๗.	 นักเรียนช่วยกันคาดคะเนสิ่งที่อาจเกิดขึ้นเมื่อไม่มีดวงอาทิตย์ จนได้ข้อสรุป
ว่า หากไม่มีดวงอาทิตย์ พืชจะไม่มีแสงช่วยในการสร้างอาหารโลกของเรา
ก็จะขาดความอบอุ่น ทำ�ให้มีอากาศเย็นจัด สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก
ก็จะตายการเคลื่อนที่ขาดดาวต่างๆในระบบสุริยะก็จะเปลี่ยนไป
	๘.	 ครูแนะนำ�ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากห้องสมุดหรือ
แหล่งเรียนรู้อื่นๆ
–	 นักเรียนตั้งใจดูภาพแล้ว
ตอบว่าดวงอาทิตย์
มีประโยชน์อย่างไร
–	 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อ
สรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของ
ดวงอาทิตย์
–	 นักเรียนช่วยกันคิดหาคำ�ตอบ
อย่างมีวิจารณญาณ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
726
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๓
หน่วยการเรียนรู้ที่	๕	เที่ยวทั่วไทย
เรื่อง	อากาศรอบตัวเรา	ระยะเวลาในการสอน	๕	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๖.๑	 เข้าใจกระบวนการต่างๆ	ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก	ความสัมพันธ์ของกระบวนการ
ต่างๆ	ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ	และสันฐานของโลก	มีกระบวนการสืบเสาะ	หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สำารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนำ้าจากแหล่งนำ้าในท้องถิ่น	และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ป.	๓/๒	 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศ
ป.	๓/๓	 ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของอุณหภูมิ
สาระสําคัญ
	 ๑.	ส่วนประกอบของอากาศ	
	 ๒.	สมบัติทั่วไปของอากาศ
	 ๓.	ความสำาคัญของอากาศต่อการดำารงชีวิต	และการนำาอากาศไปใช้ประโยชน์อื่นๆ	ในชีวิตประจำาวัน
	 ๔.	การเปลี่ยนแปลงอุณภูมิของอากาศตามเวลาและสถานที่
๒.	สาระการเรียนรู้
อากาศประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจน	๗๘%	ออกซิเจน	๒๑%	คาร์บอนไดออกไซด์	และแก๊สอื่นๆ	๑%	โดย
ปริมาตร	นอกจากนี้ยังมีไอนำ้าและฝุ่นละออง	ซึ่งหากมีฝุ่นละอองมากจะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
อากาศมีสถานะเป็นแก๊ส	สามารถเข้าไปอยู่ในที่ว่างทุกหนทุกแห่ง	และการนำาอากาศไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
สมบัติของอากาศโดยทั่วๆ	ไป	ไม่มีสี	ไม่มีกลิ่นและไม่มีรส	อากาศมีนำ้าหนัก	และมีแรงกระทำาต่อวัตถุทุกทิศทาง
มีปริมาตร	และต้องการที่อยู่
อุณหภูมิของอากาศในวันหนึ่งๆ	เปลี่ยนแปลงตามเวลาและสถานที่แตกต่างกันตามสถานที่ต่างๆ	ที่ทำาให้เกิดลม	
ลมจะพัดตามแนวราบ	จากบริเวณที่อุณหภูมิตำ่าไปยังที่มีอุณหภูมิสูง
ทักษะกระบวนการ
	 ๑.	การเปรียบเทียบ	
	 ๒.	การอธิบาย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
727
	 ๓.	การสืบค้นข้อมูลการอภิปราย	
	 ๔.	การสำ�รวจ	
	 ๕.	แว่นขยาย	
	 ๖.	การจำ�แนก	
	 ๗.	การสังเกต	
	 ๘.	กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
	 ๑.	สนใจใฝ่เรียนรู้	
	 ๒.	การนำ�ประโยชน์ไปใช้
	 ๓.	มีจิตวิทยาศาสตร์
๓.	การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
	 ๑.	แบบฝึกหัด	
	 ๒.	ภาพวาด
เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน
ประเด็น
การประเมิน
ระดับคุณภาพ
๔ ๓ ๒ ๑
๑. ผลงานตรงกับ
จุดประสงค์
ที่กำ�หนด
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์
ทุกประเด็น
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์เป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์บาง
ประเด็น
ผลงานไม่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์
๒. ผลงานมีความ
ถูกต้องสมบูรณ์
เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง
ครบถ้วน
เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้องเป็น
ส่วนใหญ่
เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้องเป็น
บางประเด็น
เนื้อหาสาระของ
ผลงานไม่ถูกต้องเป็น
ส่วนใหญ่
๓. ผลงานมีความ
คิดสร้างสรรค์
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และ
เป็นระบบ
ผลงานมีแนวคิด
แปลกใหม่ แต่ยัง
ไม่เป็นระบบ
ผลงานมีความ
น่าสนใจ แต่ยังไม่มี
แนวคิดแปลกใหม่
ผลงานไม่แสดง
แนวคิดใหม่
๔. ผลงานมีความ
เป็นระเบียบ
ผลงานมีความเป็น
ระเบียบแสดงออกถึง
ความประณีต
ผลงานส่วนใหญ่
มีความเป็นระเบียบ
แต่ยังมีข้อบกพร่อง
เล็กน้อย
ผลงานมีความ
เป็นระเบียบ
แต่มีข้อบกพร่อง
บางส่วน
ผลงานส่วนใหญ่
ไม่เป็นระเบียบและ
มีข้อบกพร่องมาก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
728
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๐ - ๑๓ ดี
๖ - ๙ ปานกลาง
๔ - ๕ ปรับปรุง
๔.	กิจกรรมการเรียนรู้
	 ๑.	นำ�เข้าสู่บทเรียน	
	 ๒.	ศึกษา อธิบาย สำ�รวจ จำ�แนก ทดลอง ส่วนประกอบของอากาศ สมบัติทั่วไปของอากาศ การเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของอากาศตามเวลาและสถานที่
	 ๓.	เทคนิคการสอน แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการเรียนร่วมกัน	
	 ๔.	ทำ�ภาระงานและชิ้นงาน
	 ๕.	ประเมินผลการทำ�งาน
๕.	สื่อการเรียนรู้
	 ๑.	ตัวอย่างหินชนิดต่างๆ	
	 ๒.	ภาพสิ่งของต่างๆ
	 ๓.	วัสดุอุปกรณ์การทดลอง	
	 ๔.	ใบงาน
	 ๕.	แบบบันทึกกิจกรรม
	 ๖.	หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
729
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñ
คําชี้แจง	 ช่วยกันตอบว่าในเวลากลางวันบนท้องฟ้ามีอะไรบ้าง	โดยขีดเครื่องหมาย		P	ลงใน		¨
¨	 ดวงอาทิตย์ ¨	 ดวงจันทร์
¨	 เมฆ	 ¨	 ดวงดาว
ลองวาดภาพบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡Ò¢Í§àÃÒ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
730
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ò
คําชี้แจง	 ช่วยกันตอบว่าในเวลากลางคืนบนท้องฟ้ามีอะไรบ้าง	โดยขีดเครื่องหมาย		P	ลงใน		¨
¨	 ดวงอาทิตย์ ¨	 ดวงจันทร์
¨	 เมฆ	 ¨	 ดวงดาว
ลองวาดภาพบนท้องฟ้าในเวลากลางคืนที่บ้านของนักเรียน
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡Ò¢Í§àÃÒ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
731
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ó
	๑.	 ชักชวนพ่อแม่	พี่และน้องดูท้องฟ้าในเวลากลางคืน	วาดรูปและระบายสีตามที่เห็น
	๒.	 เขียนเล่าเรื่องที่เห็นบนท้องฟ้าสวยๆ	เพื่อนำาไปปิดป้ายประกาศในห้องเรียน
วันที่.............................เดือน......................................................................................พ.ศ..............................เวลา.............................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ÁÕÍÐäú¹·ŒÍ§¿‡Òã¹àÇÅÒ¡ÅÒ§¤×¹
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
732
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ô
คําชี้แจง	 ช่วยกันชี้ว่า	ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกทางทิศไหน
àÃ×èͧ ´Ç§ÍҷԵ¢Öé¹áÅе¡·Ò§·ÔÈä˹
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
	๑.	 ทิศที่ดวงอาทิตย์ขึ้นเรียกว่า............................................................................................................................................................................................................
ทิศที่ดวงอาทิตย์ตกเรียกว่า.............................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 นอกจากจะใช้ดวงอาทิตย์บอกทิศแล้วยังให้ประโยชน์
อะไรอีกบ้าง............................................................................................................................................
	 	 	 .........................................................................................................................................................................
	 	 	 .........................................................................................................................................................................
	 	 	 ..........................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ตะวันตก ตะวันออก
เหนือ
ใต้
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
733
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè õ
คําชี้แจง ให้นักเรียนบอกว่าเราใช้แสงสว่างและความร้อนจากดวงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง
	 	๑.	 ใช้แสงจากดวงอาทิตย์
	 	 	 .............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์
	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ´Ç§ÍҷԵÁÕ»ÃÐ⪹Í‹ҧäÃ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
734
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ö
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 บนท้องฟ้าในเวลากลางวันจะมี..................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ส่วนในเวลากลางคืนเราจะพบ....................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ถ้ามือขวาชี้ทางทิศตะวันออก	มือซ้ายชี้ทิศตะวันตก
	 	 	 ด้านหน้าจะเป็นทิศ..............................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 และด้านหลังจะเป็นทิศ....................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 บอกประโยชน์ของดวงอาทิตย์มาอย่างน้อย	๓	ข้อ
๑.	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................
๒.	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................
๓.	 ..................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงWi Rut
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา  2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา  2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)พีรพงษ์ เพียรทำดี
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิkrupornpana55
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1kruuni
 

What's hot (11)

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวงโรงเรียนสีวลีคลองหลวง
โรงเรียนสีวลีคลองหลวง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา  2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา  2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2559 (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน นักศึกษา)
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 

Similar to ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltvscip2+P1 3 u05

ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)krutitirut
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
คอม ใบงานที่ 14 16
คอม ใบงานที่ 14 16คอม ใบงานที่ 14 16
คอม ใบงานที่ 14 16Lupin F'n
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม  3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม krupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs... ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltvscip2+P1 3 u05 (20)

ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง  ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แรง ป.2+222+dltvscip2+P1 3...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
คอม ใบงานที่ 14 16
คอม ใบงานที่ 14 16คอม ใบงานที่ 14 16
คอม ใบงานที่ 14 16
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม  3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
3บันทึกรายงานผลการประชุมอบรม
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs... ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.6+290+dltvs...
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltvscip2+P1 3 u05

  • 1. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 716 á¼¹¡ÒÃÊ͹ª‹Ç§ªÑé¹µÒÁÇѯ¨Ñ¡Ã¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠ô MAT à¾×èÍÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳР´Õ à¡‹§ ÁÕÊØ¢ หน่วยการเรียนรู้ที่ à·ÕèÂÇ·ÑèÇä·Â àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡ÒºŒÒ¹àÃÒ ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÙÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ ªÑé¹ ».ñ - ó ๕
  • 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 717 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๑-๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง ท้องฟาบ้านเรา ระยะเวลาในการสอน ๒๔ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และอวกาศ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตในโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว ป. ๒/๑ สืบค้นและอภิปรายความสำาคัญของดวงอาทิตย์ มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการ ต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ และสันฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สำารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนำ้าจากแหล่งนำ้าในท้องถิ่นและนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป. ๓/๒ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศและความสำาคัญของอากาศ ป. ๓/๓ ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ๒. กำาหนดสาระสำาคัญของการเรียนรู้ บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว ในเวลากลางวันเราจะสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ซึ่งมีแสงสว่างจ้า มาก จนมองไม่เห็นดวงดาว ที่มีความสว่างน้อยกว่า แต่จะสังเกตเห็นดวงจันทร์และดวงดาวได้ชัดเจนในเวลากลางคืน เราใช้ดวงอาทิตย์ในการบอกทิศ โดยกำาหนดว่า เมื่อสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ในตอนเช้าอยู่ด้านใด ด้านนั้นเรียก ว่าทิศตะวันออก ส่วนด้านที่สังเกตเห็นดวงอาทิตย์ตกในตอนเย็น เรียกว่า ทิศตะวันตก แล้วใช้ทิศตะวันออก และ ทิศตะวันตกเป็นหลักในการกำาหนดทิศเหนือและทิศใต้ ดวงอาทิตย์นอกจากจะใช้ในการบอกทิศแล้วยังเป็นแหล่งพลังงานของโลกที่ให้ทั้งพลังงานความร้อนและ พลังงานแสงซึ่งช่วยในการดำารงชีวิตและการผลิตอาหารของพืชด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อเลี้ยงชาวโลก
  • 3. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 718 ศิลปะ – ร้องเพลงที่เกี่ยวข้อง กับท้องฟ้าและดวงดาว วาดภาพระบายสีท้องฟ้า ท้องฟ้าบ้านเรา สังคมศึกษา – การใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญา การงานอาชีพและ เทคโนโลยี – ออกแบบอุปกรณ์ง่ายๆ เกี่ยวกับลูกโลกและ ดวงดาว คณิตศาสตร์ – การบันทึกข้อมูล การสังเกตเงา ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. นักเรียนเป็นคนดีโดย – ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร – ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ๒. นักเรียนเป็นคนเก่งโดย – แสวงหาความรู้และประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น แสวงหาจากสื่อหรือเทคโนโลยี แหล่ง เรียนรู้ตามธรรมชาติและสุรปเป็นองค์ความรู้ได้ – มีทักษะในการคิด การจัดการและการแก้ปัญหา ระบุปัญหา บอกวิธีการแก้ปัญหา และสามารถแก้ปัญหา ง่ายๆ ได้ตามวัย – บอกสิ่งที่สังเกตเห็นบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน – บอกทิศโดยสังเกตการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ – อธิบายและสรุปความสำ�คัญของดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก ๓. นักเรียนเป็นคนมีความสุขโดย – ให้ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดี มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น กล้าแสดงออกด้วยความมั่นใจ ร่าเริงแจ่มใส ๔. การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ภาษาไทย – ต่อคำ�คล้องจอง เกี่ยวกับเรื่องดวงดาว บนท้องฟ้า
  • 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 719 ๘ ๗ ๑ ๒ ๓ ๕ ๔ ๖ ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ช่วยกันวาดภาพระบายสี ท้องฟ้าในธรรมชาติ ท้องฟ้าบ้านเรา ๕. ผังการวางแผนตามแนววัฏจักรการเรียนรู้ ครูนำ�สนทนาท้องฟ้า จากผลงานของแต่ละกลุ่ม ที่นำ�เสนอมีอะไรบ้างบนท้องฟ้า ครูนำ�ผู้เรียนร้องเพลง เกี่ยวกับท้องฟ้าและดวงดาวผู้เรียนดูท้องฟ้า ในเวลากลางวัน และกลางคืนบันทึกใน ใบกิจกรรมที่๓.๔และ๓.๔/๑ นำ�เสนอรายงาน –ผู้เรียนสอบถามจากบิดามารดาหรือ ผู้ปกครองเกี่ยวกับลักษณะของดวงจันทร์ และดวงดาวการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ บันทึกในใบกิจกรรมที่ ๓.๔/๔-๓.๔/๕ ผู้เรียนแต่ละคน นำ�เสนอผลงานเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ –ประเมินผลงาน โดยครูและนักเรียน ผู้เรียนทุกคนศึกษาเรื่องทิศ บันทึกในใบกิจกรรมที่๓.๔ ผู้เรียนสร้างอุปกรณ์ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดวงดาว –เล่นเกมหาทิศโดยใช้ อุปกรณ์ที่สร้าง –การค้นหาเงา ให้ผู้เรียนอธิบาย ถึงประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และ บันทึกในใบกิจกรรมที่๓.๔/๕ ๖. รายละเอียดของกิจกรรม กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. ครูแจกกระดาษวาดรูปแผ่นใหญ่ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวาดภาพ ระบายสีท้องฟ้าและวัตถุในท้องฟ้า * ตัวแทนผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงาน ๒. ครูนำ�สนทนาในท้องฟ้ามีอะไรบ้าง ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง จักรวาล เอกภาพ ระบบสุริยะและดวงดาวในท้องฟ้า ๓. ครูนำ�ผู้เรียนร้องเพลง “แสงดาว” ดังนี้ แสงดาวพราวบนฟ้า เจิดแจ่มจ้า งามตาน่าชม คํ่าคืนชื่นอารมณ์ ยามเมื่อลมพัดรำ�เพยมา ดาวเด่น ระยับ สว่างวาววับเราสุดจะนับจำ�นวนดารา แสงสว่างสุกใสอยู่ในนภา ใคร ประดิษฐ์เจ้ามาน่าชมจริงเอย ๔. ครูพาผู้เรียนออกไปที่สนามแล้วให้ทุกคนแหงนดูดาวบนท้องฟ้า (โดยต้อง เตือนผู้เรียนว่าอย่ามองที่ดวงอาทิตย์ตรงๆ เพราะอาจทำ�ให้ตาเจ็บหรือ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนวาดภาพระบายสี และนำ�เสนอผลงาน – นักเรียนร้องเพลง – นักเรียนอภิปราย และบันทึก ผลในใบกิจกรรม, วาดภาพ
  • 5. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 720 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนสังเกตท้องฟ้าใน เวลากลางคืน – นักเรียนร่วมกันอภิปราย บันทึกผล ในใบกิจกรรม แล้ววาดภาพ – นักเรียนอภิปรายประโยชน์ ของดวงอาทิตย์,ตอบคำ�ถาม, บันทึก – นักเรียนออกแบบสร้าง ชิ้นงาน บอดได้) เมื่อกลับเข้าห้องเรียนให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย สิ่งที่เห็น บนท้องฟ้าในเวลากลางวัน บันทึกผลในใบกิจกรรมที่ ๓.๔ และวาดภาพ ท้องฟ้าในเวลากลางวันนำ�เสนอผลงาน * ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปสังเกตท้องฟ้าในเวลากลางคืน ที่บ้าน ว่าเห็นอะไรบ้างในท้องฟ้า ให้ผู้เรียนปรึิกษาขอคำ�แนะนำ�จาก พ่อแม่หรือพี่หรือผู้ปกครองหรือบุคคลอื่นๆ – นำ�ผลการสังเกตมาอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม บันทึกผลในใบ กิจกรรมที่ ๓.๔/๑ และวาดภาพท้องฟ้าในเวลากลางคืน ซึ่งอาจมี ดวงดาว ดวงจันทร์ (หรือบางครั้งอาจไม่พบดวงจันทร์ เพราะเป็น ข้างแรม) เป็นต้น * ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มคอยติดตามสังเกตว่าดวงอาทิตย์ขึ้น และตกทางด้านใดแล้ว แล้วนำ�เสนอต่อชั้นเรียน – ครูให้ความรู้เรื่องการกำ�หนดทิศเหนือ ใต้ ออก ตก จากการสังเกต การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ ให้ผู้เรียนบันทึกผลการสังเกตใน ใบกิจกรรมที่ ๓.๔/๔ และ ๓.๔/๕ ๕. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงประโยชน์ของดวงอาทิตย์ว่านอกจากจะใช้ ในการกำ�หนดทิศแล้ว ยังมีประโยชน์อะไรอีกบ้าง แล้วให้ตอบคำ�ถามและ บันทึกข้อสรุปลงในใบกิจกรรมที่๓.๔/๓ * ให้แต่ละกลุ่มนำ�ข้อสรุปเสนอต่อชั้นเรียน อภิปรายร่วมกันจนได้ ข้อสรุปว่าดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน แสงสว่างและความร้อน * ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายต่อไปอีกว่า พลังงานแสงและพลังงาน ความร้อนใช้ประโยชน์อะไรบ้าง แล้วนำ�ข้อสรุปของกลุ่มเสนอต่อชั้น เรียน เพื่ออภิปรายร่วมกันจนได้ข้อสรุป เช่น – แสงจากดวงอาทิตย์ให้ความสว่างช่วยในการมองเห็น – ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช – ผลิตอาหารให้แก่มนุษย์และสัตว์ – นำ�พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า – พลังงานความร้อนช่วยทำ�ให้โลกอบอุ่น – ใช้แปรรูปอาหารสดให้เป็นอาหารแห้งเก็บไว้ใช้ได้นานๆ ๖. ผู้เรียนสร้างโมเดล ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โลกและดวงดาวต่างๆ โดยใช้ ดินเหนียวหรือแป้งประดิษฐ์ * เล่นเกมหาทิศโดยใช้อุปกรณ์ที่สร้าง * เกมการค้นหาเงา
  • 6. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 721 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๗. ให้ผู้เรียนอาสาสมัคร ๑ คน ออกมากางแขนโดยใช้มือขวาชี้ไปทางทิศ ตะวันออก มือซ้ายชี้ไปทางทิศตะวันตก แล้วให้ความรู้เพิ่มเติมว่าด้าน หน้าของนักเรียนจะเป็นทิศเหนือส่วนด้านหลังของนักเรียนจะเป็นทิศใต้ – นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย บันทึกลงในใบกิจกรรมที่ ๓.๔/๒ ๘. ผู้เรียนแต่ละคนและแต่ละกลุ่มจัดแสดงผลงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ การนำ�ไปประยุกต์ใช้ – ครูและนักเรียนประเมินผลชิ้นงาน – นักเรียนร่วมกันอภิปราย บันทึก – นักเรียนนำ�เสนอผลงาน ๗. สื่อการเรียนการสอน ๑. ใบกิจกรรม ๒. ลูกโลก ๓. กระดาษวาดเขียนแผ่นใหญ่ ๔. ดินเหนียวหรือดินนํ้ามัน ๕. ท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน ๘. การประเมินผลตามสภาพจริง กิจกรรม / พฤติกรรม / ผลงานที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม สังเกต การสัมภาษณ์ แบบสังเกต ๒. ตรวจผลงาน การตรวจผลงาน ๓. การนำ�เสนอผลงาน / การรายงาน การรายงานตนเองของนักเรียน แบบสัมภาษณ์ ผู้ประเมิน – ครู – นักเรียน และเพื่อนนักเรียน ๙. สรุปผลการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 7. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 722 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง ท้องฟาแสนสวย ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการ กาแล็กซี่ อวกาศ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต บนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว ๒. สาระการเรียนรู้ ท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว โดยในเวลากลางวันจะสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ซึ่งมีแสงสว่างจ้า มาก จนไม่อาจเห็นดวงดาวที่มีแสงสว่างน้อยกว่า แต่จะเห็นดวงจันทร์และดวงดาวชัดเจนในเวลากลางคืน ๓. จุดประสงคการเรียนรู้ ระบุสิ่งที่สังเกตเห็นบนท้องฟ้าทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ๔. การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ๒. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนเคยเห็นท้องฟ้าที่สวยที่สุดที่ไหน นักเรียน ตอบทีละคน พร้อมกับอธิบายสั้นๆ ว่าสวยอย่างไร ๓. ให้นักเรียนดูท้องฟ้าในแต่ละสถานที่ต่างๆ และร่วมกันบรรยายภาพนั้นๆ ๔. นักเรียนดูภาพท้องฟ้า ครูถามนักเรียนจากภาพเป็นเวลากลางวันหรือ กลางคืน ๕. ครูถามนักเรียนต่อไปว่าจากการสังเกตเห็นอะไรบ้าง นักเรียนอาจต่อไป – ก้อนเมฆ – ดวงอาทิตย์ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ เพลงพร้อมๆ กัน – นักเรียนตอบทีละคนพร้อม อภิปรายสั้นๆ – นักเรียนดูภาพท้องฟ้าและ ร่วมกันตอบคำาถาม
  • 8. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 723 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพในท้องฟ้า ๒. ใบกิจกรรม ๖. การวัดผลประเมิน ๑. การตอบคำ�ถาม ๒. การร่วมกิจกรรม ๓. การประเมินใบกิจกรรม ๗. บันทึกผลหลังการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นก เป็นต้น ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่มองเห็นในภาพท้องฟ้าในเวลา กลางวันว่าในเวลากลางวันเราสามารถมองเห็นเมฆและดวงอาทิตย์ได้ ๗. นักเรียนร่วมกันสะกดคำ�ว่าเมฆดวงอาทิตย์ ๘. กิจกรรมนักเรียนวาดภาพท้องฟ้าเวลากลางวันตามจินตนาการ ๙. นำ�เสนอผลงานวาดท้องฟ้าเวลากลางวันของนักเรียน และร่วมกันอภิปราย ภาพนั้น ๑๐. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปว่า สิ่งที่เรามองเห็นบนท้องฟ้า เวลากลางวันคือเมฆและดวงอาทิตย์ ๑๑. ครูแนะนำ�ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องราวเกี่ยวกับท้องฟ้า เวลากลางวันจากแหล่งความรู้ต่างๆเช่นหนังสือในห้องสมุดอินเทอร์เน็ต – นักเรียนวาดภาพท้องฟ้า ตามจินตนาการแล้วนำ�เสนอ ผลงานหน้าชั้นเรียน
  • 9. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 724 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง ประโยชนของดวงอาทิตย ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่ และเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการ การสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๒/๑ สืบค้นและอภิปรายความสำาคัญของดวงอาทิตย์ ๒. สาระการเรียนรู้ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่สำาคัญที่สุดของโลกเพราะให้ทั้งพลังงานความร้อน และพลังงานแสง ซึ่งช่วย ในการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ๓. จุดประสงคการเรียนรู้ อภิปรายและสรุปประโยชน์ของดวงอาทิตย์ ๔. การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง เพื่อเตรียมความพร้อม ๒. ให้นักเรียนดูภาพความงดงามของแสงจากดวงอาทิตย์ขึ้นและตก และ ร่วมกันบรรยายภาพต่างๆ เหล่านั้น ๓. ให้ตัวแทนนักเรียนอภิปรายสั้นๆ ในหัวข้อ ดวงอาทิตย์มีประโยชน์อย่างไร ซึ่งนักเรียนอาจตอบว่า – ดวงอาทิตย์ทำาให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ – ดวงอาทิตย์ให้ความอบอุ่น – ดวงอาทิตย์ทำาให้ผ้าแห้ง ฯลฯ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนร่วมกันเคลื่อนไหว พร้อมๆ กัน – นักเรียนร่วมกันบรรยายภาพ นั้นๆ – ตัวแทนนักเรียนนำาเสนอ ความคิดเกี่ยวกับประโยชน์ ของดวงอาทิตย์ ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง
  • 10. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 725 ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. รูปภาพ ๒. ใบกิจกรรม ๖. การวัดผลประเมิน ๑. การตอบคำ�ถาม ๒. การร่วมกิจกรรม ๓. การประเมินใบกิจกรรม ๙. สรุปผลการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๔. นักเรียนดูภาพแล้วช่วยกันตอบว่า ดวงอาทิตย์มีประโยชน์อย่างไรกับภาพ ที่เห็น ซึ่งภาพนั้นอาจเป็นภาพเกี่ยวกับ การอ่านหนังสือ การเจริญเติบโต ของต้นไม้การถนอมอาหารโดยการตากแห้งการขับรถยนต์เป็นต้น ๕. นักเรียนสังเกตภาพแล้วช่วยกันอธิบายเพื่อสรุปว่าดวงอาทิตย์มีประโยชน์ ต่อสิ่งต่างๆ คือความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำ�ให้ผ้าแห้ง ทำ�ให้ปลาไม่เน่า ซึ่ง เป็นการถนอมอาหารอีกวิธีหนึ่ง แสงจากดวงอาทิตย์ทำ�ให้คนเราและสัตว์ มองเห็นสิ่งต่างๆ แสงเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อกระบวนการสร้างอาหารของพืช พลังงานแสงสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ก้อนหินต้องการแสง และความร้อนจากดวงอาทิตย์ในการผุกร่อนและกลายเป็นดิน ๖. ครูถามนักเรียนว่าถ้าโลกนี้ไม่มีดวงอาทิตย์จะเป็นอย่างไร ๗. นักเรียนช่วยกันคาดคะเนสิ่งที่อาจเกิดขึ้นเมื่อไม่มีดวงอาทิตย์ จนได้ข้อสรุป ว่า หากไม่มีดวงอาทิตย์ พืชจะไม่มีแสงช่วยในการสร้างอาหารโลกของเรา ก็จะขาดความอบอุ่น ทำ�ให้มีอากาศเย็นจัด สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก ก็จะตายการเคลื่อนที่ขาดดาวต่างๆในระบบสุริยะก็จะเปลี่ยนไป ๘. ครูแนะนำ�ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากห้องสมุดหรือ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ – นักเรียนตั้งใจดูภาพแล้ว ตอบว่าดวงอาทิตย์ มีประโยชน์อย่างไร – นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อ สรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของ ดวงอาทิตย์ – นักเรียนช่วยกันคิดหาคำ�ตอบ อย่างมีวิจารณญาณ
  • 11. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 726 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เที่ยวทั่วไทย เรื่อง อากาศรอบตัวเรา ระยะเวลาในการสอน ๕ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการ ต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ และสันฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สำารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของนำ้าจากแหล่งนำ้าในท้องถิ่น และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ป. ๓/๒ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายส่วนประกอบของอากาศ ป. ๓/๓ ทดลองอธิบายการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกต่างของอุณหภูมิ สาระสําคัญ ๑. ส่วนประกอบของอากาศ ๒. สมบัติทั่วไปของอากาศ ๓. ความสำาคัญของอากาศต่อการดำารงชีวิต และการนำาอากาศไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ในชีวิตประจำาวัน ๔. การเปลี่ยนแปลงอุณภูมิของอากาศตามเวลาและสถานที่ ๒. สาระการเรียนรู้ อากาศประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจน ๗๘% ออกซิเจน ๒๑% คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สอื่นๆ ๑% โดย ปริมาตร นอกจากนี้ยังมีไอนำ้าและฝุ่นละออง ซึ่งหากมีฝุ่นละอองมากจะก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ อากาศมีสถานะเป็นแก๊ส สามารถเข้าไปอยู่ในที่ว่างทุกหนทุกแห่ง และการนำาอากาศไปใช้ประโยชน์อื่นๆ สมบัติของอากาศโดยทั่วๆ ไป ไม่มีสี ไม่มีกลิ่นและไม่มีรส อากาศมีนำ้าหนัก และมีแรงกระทำาต่อวัตถุทุกทิศทาง มีปริมาตร และต้องการที่อยู่ อุณหภูมิของอากาศในวันหนึ่งๆ เปลี่ยนแปลงตามเวลาและสถานที่แตกต่างกันตามสถานที่ต่างๆ ที่ทำาให้เกิดลม ลมจะพัดตามแนวราบ จากบริเวณที่อุณหภูมิตำ่าไปยังที่มีอุณหภูมิสูง ทักษะกระบวนการ ๑. การเปรียบเทียบ ๒. การอธิบาย
  • 12. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 727 ๓. การสืบค้นข้อมูลการอภิปราย ๔. การสำ�รวจ ๕. แว่นขยาย ๖. การจำ�แนก ๗. การสังเกต ๘. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. สนใจใฝ่เรียนรู้ ๒. การนำ�ประโยชน์ไปใช้ ๓. มีจิตวิทยาศาสตร์ ๓. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑. แบบฝึกหัด ๒. ภาพวาด เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ผลงานตรงกับ จุดประสงค์ ที่กำ�หนด ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์ ทุกประเด็น ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์เป็น ส่วนใหญ่ ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์บาง ประเด็น ผลงานไม่สอดคล้อง กับจุดประสงค์ ๒. ผลงานมีความ ถูกต้องสมบูรณ์ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง ครบถ้วน เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น บางประเด็น เนื้อหาสาระของ ผลงานไม่ถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ ๓. ผลงานมีความ คิดสร้างสรรค์ ผลงานแสดงออกถึง ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และ เป็นระบบ ผลงานมีแนวคิด แปลกใหม่ แต่ยัง ไม่เป็นระบบ ผลงานมีความ น่าสนใจ แต่ยังไม่มี แนวคิดแปลกใหม่ ผลงานไม่แสดง แนวคิดใหม่ ๔. ผลงานมีความ เป็นระเบียบ ผลงานมีความเป็น ระเบียบแสดงออกถึง ความประณีต ผลงานส่วนใหญ่ มีความเป็นระเบียบ แต่ยังมีข้อบกพร่อง เล็กน้อย ผลงานมีความ เป็นระเบียบ แต่มีข้อบกพร่อง บางส่วน ผลงานส่วนใหญ่ ไม่เป็นระเบียบและ มีข้อบกพร่องมาก
  • 13. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 728 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๔ - ๑๖ ดีมาก ๑๐ - ๑๓ ดี ๖ - ๙ ปานกลาง ๔ - ๕ ปรับปรุง ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. นำ�เข้าสู่บทเรียน ๒. ศึกษา อธิบาย สำ�รวจ จำ�แนก ทดลอง ส่วนประกอบของอากาศ สมบัติทั่วไปของอากาศ การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของอากาศตามเวลาและสถานที่ ๓. เทคนิคการสอน แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการเรียนร่วมกัน ๔. ทำ�ภาระงานและชิ้นงาน ๕. ประเมินผลการทำ�งาน ๕. สื่อการเรียนรู้ ๑. ตัวอย่างหินชนิดต่างๆ ๒. ภาพสิ่งของต่างๆ ๓. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง ๔. ใบงาน ๕. แบบบันทึกกิจกรรม ๖. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ w w w w w w w w
  • 14. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 729 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñ คําชี้แจง ช่วยกันตอบว่าในเวลากลางวันบนท้องฟ้ามีอะไรบ้าง โดยขีดเครื่องหมาย P ลงใน ¨ ¨ ดวงอาทิตย์ ¨ ดวงจันทร์ ¨ เมฆ ¨ ดวงดาว ลองวาดภาพบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน w w w w w w w w àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡Ò¢Í§àÃÒ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 15. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 730 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ò คําชี้แจง ช่วยกันตอบว่าในเวลากลางคืนบนท้องฟ้ามีอะไรบ้าง โดยขีดเครื่องหมาย P ลงใน ¨ ¨ ดวงอาทิตย์ ¨ ดวงจันทร์ ¨ เมฆ ¨ ดวงดาว ลองวาดภาพบนท้องฟ้าในเวลากลางคืนที่บ้านของนักเรียน w w w w w w w w àÃ×èͧ ·ŒÍ§¿‡Ò¢Í§àÃÒ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 16. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 731 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ó ๑. ชักชวนพ่อแม่ พี่และน้องดูท้องฟ้าในเวลากลางคืน วาดรูปและระบายสีตามที่เห็น ๒. เขียนเล่าเรื่องที่เห็นบนท้องฟ้าสวยๆ เพื่อนำาไปปิดป้ายประกาศในห้องเรียน วันที่.............................เดือน......................................................................................พ.ศ..............................เวลา............................. ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w àÃ×èͧ ÁÕÍÐäú¹·ŒÍ§¿‡Òã¹àÇÅÒ¡ÅÒ§¤×¹ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 17. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 732 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ô คําชี้แจง ช่วยกันชี้ว่า ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกทางทิศไหน àÃ×èͧ ´Ç§ÍҷԵ¢Öé¹áÅе¡·Ò§·ÔÈä˹ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè................................. ๑. ทิศที่ดวงอาทิตย์ขึ้นเรียกว่า............................................................................................................................................................................................................ ทิศที่ดวงอาทิตย์ตกเรียกว่า............................................................................................................................................................................................................. ๒. นอกจากจะใช้ดวงอาทิตย์บอกทิศแล้วยังให้ประโยชน์ อะไรอีกบ้าง............................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ตะวันตก ตะวันออก เหนือ ใต้
  • 18. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 733 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè õ คําชี้แจง ให้นักเรียนบอกว่าเราใช้แสงสว่างและความร้อนจากดวงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ๑. ใช้แสงจากดวงอาทิตย์ ............................................................................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ๒. ใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w àÃ×èͧ ´Ç§ÍҷԵÁÕ»ÃÐ⪹Í‹ҧäà ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 19. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 734 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ö ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. บนท้องฟ้าในเวลากลางวันจะมี.................................................................................................................................................................................................. ส่วนในเวลากลางคืนเราจะพบ.................................................................................................................................................................................................... ๒. ถ้ามือขวาชี้ทางทิศตะวันออก มือซ้ายชี้ทิศตะวันตก ด้านหน้าจะเป็นทิศ.............................................................................................................................................................................................................................. และด้านหลังจะเป็นทิศ.................................................................................................................................................................................................................... ๓. บอกประโยชน์ของดวงอาทิตย์มาอย่างน้อย ๓ ข้อ ๑. .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. ๒. .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. ๓. .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................