SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
Problem Base
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
และการออกแบบการสอน
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3
2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8
3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น
ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็น
ผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอหัวข้อที่จะทา กาหนด
สมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน
รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง
โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงาน
ในโรงเรียนด้วย และจะต้องมีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครู
อภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงาน
ดังกล่าว
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : แนวทางการจัดการเรียนรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎี
พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ซึ่งเชื่อว่า การเจริญเติบโตทางสมองของเด็กส่วนหนึ่ง
เป็นผลมาจากวุฒิภาวะและการปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ทาให้
เด็กได้ดูดซึมประสบการณ์ใหม่ๆ ให้รวมอยู่ในโครงสร้างของเชาวน์ปัญญา และปรับตัวกับ
สิ่งแวดล้อม
ตัวอย่างการนาทฤษฎีมาใช้
• นามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความยากง่ายเหมาะกับระดับของเด็ก
• การจัดให้มีศูนย์กิจกรรมต่างๆเพื่อให้เด็กได้เลือกประสบการณ์การเรียนเอง
• เด็กควรได้รับการส่งเสริมการพูด การแสดงความคิดเห็น การโต้แย้ง เพื่อช่วย
เสริมสร้างให้เกิดสติปัญญางอกงามขึ้น
• อย่าบังคับเด็กให้เรียนในเมื่อยังไม่พร้อม แต่ควรช่วยจัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดความพร้อม
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างระหว่างการสอน
ครูสุขสวรรค์
ข้อดี ข้อเสีย
- นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เกิด
ความจาระยะยาว
- นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อน
- ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระเพื่อช่วยส่งเสริม
ความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
- จัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ไม่
เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน
- นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่
เท่ากัน ซึ่งอาจทาให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้
ไม่เท่ากัน
- การจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับระดับของ
การรับรู้และเข้าใจของนักเรียน
- เมื่อนักเรียนทางานกันเป็นกลุ่ม นักเรียนอาจหยอก
ล้อเล่นกันได้
- นักเรียนไม่ได้แสดงความคิดใดๆ
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างระหว่างการสอน (ต่อ)
ครูอภิชัย
ข้อดี ข้อเสีย
-จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ
ทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้ดี
-นักเรียนสามรถเชื่อมโยงเนื้อหาจากความรู้เดิมได้
-นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อน
-เมื่อนักเรียนทางานกันเป็นกลุ่ม นักเรียนอาจหยอก
ล้อเล่นกันได้
-นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่
เท่ากัน ซึ่งอาจทาให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้ไม่
เท่ากัน
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล
ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โดยคุณ
ต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กวัยเตรียมอนุบาล
เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัยอนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จาก
สัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการ
สอนของครูผู้สอนต่อไป
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่นามาใช้ในการจัดหลักสูตร
เลือกทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของบรูเนอร์ มาใช้กับการจัดหลักสูตรของโรงเรียน โดยทฤษฎี
ของบรูเนอร์มีหลักสาคัญดังนี้
คนทุกคนจะมีการพัฒนาการทางความคิด ความเข้าใจ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า
acting , imaging และ symbolizing ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ต่อเนื่องไปตลอดชีวิต มิใช่ว่า
เกิดขึ้นเพียงช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น และการเรียนการสอนที่ดี ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ
สาคัญ 4 ประการคือ
1) โครงสร้างของเนื้อหาสาระ
2) ความพร้อมที่จะเรียนรู้
3) การหยั่งรู้โดยการคะเนจากประสบการณ์อย่างมีหลักเกณฑ์
4) แรงจูงใจที่จะเรียนเนื้อหาใดๆ
และบูรเนอร์ให้ความสาคัญกับสมดุลระหว่างผลลัพธ์กับกระบวนการเรียนการสอนบรูเนอร์เชื่อว่า
มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย
ขั้นที่1 Enactive representation การแสดงความคิดโดยการกระทา
อายุแรกเกิด – 2 ขวบ โดยใช้การกระทาเป็นการเรียนรู้ หรือเรียกว่า Enactive mode เด็กจะใช้การ
สัมผัส เช่น จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปากกับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบ ๆ ตัว สิ่งสาคัญเด็กจะต้องลง
มือกระทาด้วยตนเอง เช่น การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทากับวัตถุสิ่งของ
ขั้นที่2 Iconic representation การแสดงความคิดโดยการมองเห็น
เกิดจากการมองเห็น การสัมผัส โดยการนึกมโนภาพ การสร้างจินตนาการ พัฒนาการนี้จะเพิ่มขึ้นตาม
อายุของเด็ก การเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่า Iconic mode เด็กจะสามารถเรียนรู้โดยการใช้ภาพแทนการสัมผัสของ
จริง เพื่อช่วยขยายการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความคิดรวบยอด กฎ และหลักการ ซึ่งไม่สามารถแสดงให้
เห็นได้ จึงต้องนาโสตทัศนวัสดุมาใช้ในการสอน ได้แก่ ภาพนิ่ง โทรทัศน์ หรืออื่น ๆ เพื่อที่จะช่วยให้เด็ก
เกิดจินตนาการประการณ์เพิ่มมากขั้น
ขั้นที่3 Symbolic representation การแสดงความคิดโดยการใช้สัญลักษณ์ภาษา
พัฒนาการทางขั้นนี้ เป็นการพัฒนาการขั้นสูงสุดของความรู้ความเข้าใจ เช่น การคิดเชิงเหตุผล หรือการ
แก้ปัญหา วิธีการเรียนรู้ขั้นนี้เรียกว่า Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมีความเข้าใจในสิ่งที่เป็น
นามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 3 : แนวทางจัดการเรียนรู้
ระดับอนุบาลและระดับประถมต้น
ในการสอนระดับอนุบาลนั้นครูจะต้องสนองความต้องการของเด็กอย่างทันท่วงทีและให้มี
บรรยากาศที่ผ่อนปรนไม่ตึงเครียด เปิดโอกาสให้เด็กได้ลองทาสิ่งต่างๆ ถ้าเด็กได้รับการสอนอย่างเป็น
พิธีรีตองเกินไป (formal instruction)จะทาให้เด็กเกิดความรู้สึกกลัวการตอบผิด และจะทาให้เกิด
ความตึงเครียดได้ง่ายกว่าการสอนในบรรยากาศที่เป็นกันเอง กล่าวคือ ยังต้องการสนองความพึงพอใจ
อย่างทันท่วงทีภายหลังที่ทางานเสร็จ และบรรยากาศที่ผ่อนปรนไม่ตึงเครียดเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง
ระดับประถมปลาย
ควรใช้วิธีที่ครูช่วยจัดสภาพการที่กระตุ้นให้เด็กถามคาถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ (อาจใช้เกม 20
คาถาม) และการตั้งสมมุติฐานว่าทาไมสิ่งนั้นๆจึงเกิดขึ้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
เด็กวัยนี้สามารถคิดอย่างมีเหตุผล แต่อาจจะมิใช่เหตุผลดังที่ผู้ใหญ่คิด ดังนั้น ครูอาจทราบ
เหตุผลของเด็กได้โดยการกระตุ้นให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และการเขียนรายงาน
โดยไม่มีคะแนน สาหรับเด็กในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด
วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า
จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม
โดยจะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน
ทาให้ยากต่อการทาความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น
และลองถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะ
อธิบายได้ ขาดกรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ในเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงได้
เนื่องจากเนื้อหาของวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ยาก อีกทั้งครูไม่รู้จักวิธีการจัดการเรียน
การสอนที่ทาให้นักเรียนเข้าใจในเนื้อหาได้ นักเรียนจึงไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนและไม่
สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : วิธีแก้ไขปัญหา
วิธีแก้ไขปัญหาตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือก่อนที่ครูเข้าสู่เนื้อหาต้องแจ้ง
จุดประสงค์และโครงเรื่องให้นักเรียนได้ทราบก่อน พร้อมทั้งอธิบายกรอบ และหลักการ
เพื่อให้นักเรียนทราบว่าจะต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง โดยต้องรู้จักนาสิ่งเล้าที่เป็นสื่อการสอน
การเรียนรู้ที่อยู่ใกล้ตัวของผู้เรียนหรือเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจาวันของตัวผู้เรียนเอง
เพื่อให้ง่ายต่อต่อความเข้าใจ และก่อนที่ครูสรยุทธ์จะสอนเนื้อหาต่อไปจะต้องให้นักเรียนไป
คิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนในชั่วโมงที่ผ่านมาแล้วก่อน เพื่อที่นักเรียนสามารถ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับเนื้อหาใหม่ได้
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหาเกี่ยวกับการสอน
คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ เข้าใจและจาได้ เมื่อถาม
คาถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทาหน้าชั้นเรียนก็สามารถทาได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลา
ผ่านไป เช่น ในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก
หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้
ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทางช่วยครู
ทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่นามาใช้แก้ไขปัญหา
เลือกใช้ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ซึ่งว่าด้วยการ
อธิบายเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ความรู้ (acquire) สะสมความรู้ (store) การระลึกได้
(recall) วิธีการใช้ข่าวสารข้อมูล
ประมวลอย่างไร? เก็บอย่างไร? ใช้อย่างไร? เพื่อให้ผู้เรียนจดจาได้ในระยะยาว
ทั้งนี้ผู้เรียนต้องมี
1) ความใส่ใจ (attention)
2) กลยุทธ์การเรียนรู้ (learning strategies)
3) พื้นฐานความรู้ (knowledge base)
4) ความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง (metacognition)
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ขั้นตอนการนาทฤษฎีไปใช้แก้ไขปัญหา
ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนพัฒนาความจาทั้ง 3 ระดับ ตามขั้นตอนของหลักการประมวลสารสนเทศของมนุษย์ คลอสไมเออร์
(Klausmeier) ซึ่งได้พยายามอธิบายกระบวนการประมวลผลข่าวสารข้อมูลที่เกิดขึ้นในสมองของมนุษย์
1.การบันทึกผัสสะ (Sensory register)
ความจาในการได้รับสิ่งเร้าทาง หู ตา จมูก ลิ้น อาทิ เค็ม รู้ว่านั่นหนังสือ กระดาน ฯลฯ เพื่อจะพิจารณาว่าควรจะ
เลือกจาในระยะสั้นหรือไม่
2.ความจาระยะสั้น (Short-term Memory)
เมื่อผ่านผัสสะ สมองจะพินิจให้ผ่านเป็นความจาระยะสั้น เช่น เมื่อเราผัสสะ สมองจาจาเบอร์โทรศัพท์ หลังจอปิดลงเราจะ
ยังคงจาตัวเลขนั้นได้ครบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปเราจะลืมอย่างรวดเร็ว
ในกรณีที่นักเรียนจาไม่ได้ ควรหัดให้จัดกลุ่มตัวเลข หรือชื่อสารเคมี เช่น 112-1245 วิธีนี้จะจาให้นานขึ้นเพื่อพิจารณาเป็น
ความจาระยะยาวต่อไปตามความสาคัญที่ผู้เรียนคาดว่าต้องการจดจา
3.ความจาระยะยาว (Long-term Memory)
การเข้ารหัส (Encoding) เกิดจากการ หลังจากที่ข้อมูลถูกบันทึกไว้ในความจาระยะสั้นแล้ว เช่น การท่องสูตรคูณ ซึ่งเป็น
การท่องจาที่ไม่ต้องใช้ความคิดคือ การสร้างความสัมพันธ์ หรือ การเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่ หรือข้อมูลใหม่ กับความรู้เดิม
ของผู้เรียนที่เก็บไว้ใน ความจาระยะยาว ซึ่งจะช่วยในการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful learning) นาไปต่อยอดในการ
คิดคานวณได้ไม่มีวันสิ้นสุด
สถานการณ์ปัญหาที่ 5
ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปา
รวีมีเหตุการณ์เป็นดังนี้
ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้ว
ให้นักเรียนกลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่าง
เขาจะหยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์
ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้ว
สุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้
ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือ
คู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมากที่สุด มาใช้แก้โจทย์
ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่สอดคล้องกับกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา
สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับความคิดของตนเอง (Meta cognition) โดยทฤษฎีนี้เชื่อ
ว่าผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ คือ เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง (Self-
regulation)
ฟลาเวล ได้ศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกิจกรรมทางปัญญา (Cognitive Activity) และให้
ความหมายของคาว่า “Meta Cognitive” หมายถึง ความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้
หรือสิ่งที่ตนรู้ (Knowing) ซึ่งต่างกับ “Cognitive” ซึ่งหมายถึงการรู้คิดหรือปัญญาที่เกิดจากการ
เรียนรู้อะไรก็ตามด้วยความเข้าใจ
ตัวอย่าง
การเข้าใจความหมายและหน้าที่ของพลเมืองดี “Meta Cognitive” หมายถึง การที่ตนเองรู้สึก
และตระหนักรู้ว่าตนเองจะปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีได้มากน้อยเพียงไร สานึกในหน้าที่ของพลเมือง และ
คิดอย่างลึกซึ้งว่าตนเองจะสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีได้มากน้อยเพียงไร
ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : การจัดการเรียนรู้ในสภาพจริง
ฟลาเวล กล่าวว่า ความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเองขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ
1. บุคคล (Person) หมายถึงความสามารถของผู้เรียนที่จะมีความรู้เกี่ยวกับตนเองในฐานะผู้เรียน เช่น
ระดับความสามารถ ลีลาในการเรียนรู้ที่ตนถนัด
2. งาน (Task) ความรู้เกี่ยวกับงานที่จะต้องเรียนรู้ รวมทั้งระดับความยากง่ายของงาน
3. ยุทธศาสตร์ (Strategy) ที่ใช้ในการเรียนรู้ “งาน” หรือสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ขึ้นอยู่กับวัยของผู้เรียน
ผลที่มีต่อการเรียนรู้
ผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 3 อย่าง เกี่ยวกับ บุคคลต้องมีความรู้ว่าตนเองมี
ความสามารถและมีความรู้พื้นฐานอะไรบ้าง ประเมินตนเองได้ว่ามีความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องนั้นมากน้อย
เพียงไร สาหรับความรู้เกี่ยวกับงานจะต้องรู้ว่าปัญหาที่จะต้องแก้เป็นงานยากง่าย ความรู้เกี่ยวกับตนเอง
และงาน ถ้าหากให้พิจารณาว่างานเป็นเรื่องไกลตัวซึ่งตนเองไม่ถนัดนัก ก็จะต้องขวนขวายหาความรู้เรื่องที่
เป็นพื้นฐานเสียก่อน เมื่อมีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 3 อย่างแล้วจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรู้
แบบ Long Term Memory ซึ่งสามารถเรียกใช้ได้และเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆได้
Thank You !!

More Related Content

What's hot

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นFern's Phatchariwan
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์Habsoh Noitabtim
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12Aon Lalita
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 

What's hot (20)

การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12ความเป็นครู  กลุ่มที่ 1 d12
ความเป็นครู กลุ่มที่ 1 d12
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 

Viewers also liked

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osNisachol Poljorhor
 
สกินเนอร์
สกินเนอร์สกินเนอร์
สกินเนอร์ping1393
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ping1393
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟping1393
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนnarongsak promwang
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 

Viewers also liked (6)

คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i osคู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
คู่มือการใช้งานโปรแกรมพัฒนา Application สำหรับระบบปฏิบัติการ i os
 
สกินเนอร์
สกินเนอร์สกินเนอร์
สกินเนอร์
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
 
พาฟลอฟ
พาฟลอฟพาฟลอฟ
พาฟลอฟ
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1kaminthamonwan
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน (20)

Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

More from Nisachol Poljorhor

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนNisachol Poljorhor
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 

More from Nisachol Poljorhor (10)

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Theories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologiesTheories for learning with emerging technologies
Theories for learning with emerging technologies
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1201700 : Chapter 1
201700 : Chapter 1
 

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน

  • 1. Problem Base ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม และการออกแบบการสอน รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิราพร ประทุมชัย รหัสนักศึกษา 565050037-3 2. นางสาวนิศาชล พลจอหอ รหัสนักศึกษา 565050043-8 3. นางอรวรรณ สิทธิสาร รหัสนักศึกษา 565050050-1
  • 2. สถานการณ์ปัญหาที่ 1 ครูสุขสวรรค์ สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ได้กาหนดงานเพื่อให้นักเรียนชั้น ม.1 และ ม.3 ประมวลความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่สนใจ โดยประดิษฐ์ เป็น ผลงานขึ้นมาหนึ่งอย่าง ให้แบ่งกลุ่มเป็น 3 คน นาเสนอหัวข้อที่จะทา กาหนด สมมติฐาน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และออกแบบการดาเนินงาน ให้เป็นขั้นตอน รวมทั้งงบประมาณที่ใช้ ระยะเวลา ระบุวิธีการดาเนินการ และสรุปผลการทดลอง โดยให้นาเสนอผลงานและข้อค้นพบในท้ายเทอม และจัดเป็นนิทรรศการแสดงผลงาน ในโรงเรียนด้วย และจะต้องมีการรายงานความคืบหน้ากับครูเป็นระยะ ซึ่งผิดกับครู อภิชัยที่ให้เฉพาะ ม.3 ทาโครงงานโดยคิดว่า ม.1 ยังไม่พร้อมที่จะทาโครงงาน ดังกล่าว
  • 3. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูสุขสรรค์และครูอภิชัย สอดคล้องกับทฤษฎี พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ซึ่งเชื่อว่า การเจริญเติบโตทางสมองของเด็กส่วนหนึ่ง เป็นผลมาจากวุฒิภาวะและการปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ทาให้ เด็กได้ดูดซึมประสบการณ์ใหม่ๆ ให้รวมอยู่ในโครงสร้างของเชาวน์ปัญญา และปรับตัวกับ สิ่งแวดล้อม ตัวอย่างการนาทฤษฎีมาใช้ • นามาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความยากง่ายเหมาะกับระดับของเด็ก • การจัดให้มีศูนย์กิจกรรมต่างๆเพื่อให้เด็กได้เลือกประสบการณ์การเรียนเอง • เด็กควรได้รับการส่งเสริมการพูด การแสดงความคิดเห็น การโต้แย้ง เพื่อช่วย เสริมสร้างให้เกิดสติปัญญางอกงามขึ้น • อย่าบังคับเด็กให้เรียนในเมื่อยังไม่พร้อม แต่ควรช่วยจัดสิ่งแวดล้อมให้เด็กเกิดความพร้อม
  • 4. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างระหว่างการสอน ครูสุขสวรรค์ ข้อดี ข้อเสีย - นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เกิด ความจาระยะยาว - นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อน - ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระเพื่อช่วยส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน - จัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ไม่ เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน - นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่ เท่ากัน ซึ่งอาจทาให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้ ไม่เท่ากัน - การจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับระดับของ การรับรู้และเข้าใจของนักเรียน - เมื่อนักเรียนทางานกันเป็นกลุ่ม นักเรียนอาจหยอก ล้อเล่นกันได้ - นักเรียนไม่ได้แสดงความคิดใดๆ
  • 5. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างระหว่างการสอน (ต่อ) ครูอภิชัย ข้อดี ข้อเสีย -จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการ ทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ดี -นักเรียนสามรถเชื่อมโยงเนื้อหาจากความรู้เดิมได้ -นักเรียนได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดกับเพื่อน -เมื่อนักเรียนทางานกันเป็นกลุ่ม นักเรียนอาจหยอก ล้อเล่นกันได้ -นักเรียนแต่ละคนมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้ไม่ เท่ากัน ซึ่งอาจทาให้สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือความรู้ที่ได้ไม่ เท่ากัน
  • 6. สถานการณ์ปัญหาที่ 2 ถ้าคุณเป็นคณะผู้บริหารของโรงเรียน ที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมอนุบาล ระดับอนุบาล ไปจนกระทั่งถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย โดยคุณ ต้องการที่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับเด็กในแต่ละวัย เช่น เด็กวัยเตรียมอนุบาล เป็นวัยที่การเรียนรู้เกิดจากการได้สัมผัส เด็กวัยอนุบาลจะสามารถเรียนรู้ได้จาก สัญลักษณ์ แทนวัตถุสิ่งของต่างๆ เป็นต้น เพื่อเป็นนโยบายในการจัดการเรียนการ สอนของครูผู้สอนต่อไป
  • 7. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่นามาใช้ในการจัดหลักสูตร เลือกทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของบรูเนอร์ มาใช้กับการจัดหลักสูตรของโรงเรียน โดยทฤษฎี ของบรูเนอร์มีหลักสาคัญดังนี้ คนทุกคนจะมีการพัฒนาการทางความคิด ความเข้าใจ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า acting , imaging และ symbolizing ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ต่อเนื่องไปตลอดชีวิต มิใช่ว่า เกิดขึ้นเพียงช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น และการเรียนการสอนที่ดี ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ สาคัญ 4 ประการคือ 1) โครงสร้างของเนื้อหาสาระ 2) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ 3) การหยั่งรู้โดยการคะเนจากประสบการณ์อย่างมีหลักเกณฑ์ 4) แรงจูงใจที่จะเรียนเนื้อหาใดๆ และบูรเนอร์ให้ความสาคัญกับสมดุลระหว่างผลลัพธ์กับกระบวนการเรียนการสอนบรูเนอร์เชื่อว่า มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง
  • 8. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงวัย ขั้นที่1 Enactive representation การแสดงความคิดโดยการกระทา อายุแรกเกิด – 2 ขวบ โดยใช้การกระทาเป็นการเรียนรู้ หรือเรียกว่า Enactive mode เด็กจะใช้การ สัมผัส เช่น จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปากกับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบ ๆ ตัว สิ่งสาคัญเด็กจะต้องลง มือกระทาด้วยตนเอง เช่น การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทากับวัตถุสิ่งของ ขั้นที่2 Iconic representation การแสดงความคิดโดยการมองเห็น เกิดจากการมองเห็น การสัมผัส โดยการนึกมโนภาพ การสร้างจินตนาการ พัฒนาการนี้จะเพิ่มขึ้นตาม อายุของเด็ก การเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่า Iconic mode เด็กจะสามารถเรียนรู้โดยการใช้ภาพแทนการสัมผัสของ จริง เพื่อช่วยขยายการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความคิดรวบยอด กฎ และหลักการ ซึ่งไม่สามารถแสดงให้ เห็นได้ จึงต้องนาโสตทัศนวัสดุมาใช้ในการสอน ได้แก่ ภาพนิ่ง โทรทัศน์ หรืออื่น ๆ เพื่อที่จะช่วยให้เด็ก เกิดจินตนาการประการณ์เพิ่มมากขั้น ขั้นที่3 Symbolic representation การแสดงความคิดโดยการใช้สัญลักษณ์ภาษา พัฒนาการทางขั้นนี้ เป็นการพัฒนาการขั้นสูงสุดของความรู้ความเข้าใจ เช่น การคิดเชิงเหตุผล หรือการ แก้ปัญหา วิธีการเรียนรู้ขั้นนี้เรียกว่า Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมีความเข้าใจในสิ่งที่เป็น นามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน
  • 9. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 3 : แนวทางจัดการเรียนรู้ ระดับอนุบาลและระดับประถมต้น ในการสอนระดับอนุบาลนั้นครูจะต้องสนองความต้องการของเด็กอย่างทันท่วงทีและให้มี บรรยากาศที่ผ่อนปรนไม่ตึงเครียด เปิดโอกาสให้เด็กได้ลองทาสิ่งต่างๆ ถ้าเด็กได้รับการสอนอย่างเป็น พิธีรีตองเกินไป (formal instruction)จะทาให้เด็กเกิดความรู้สึกกลัวการตอบผิด และจะทาให้เกิด ความตึงเครียดได้ง่ายกว่าการสอนในบรรยากาศที่เป็นกันเอง กล่าวคือ ยังต้องการสนองความพึงพอใจ อย่างทันท่วงทีภายหลังที่ทางานเสร็จ และบรรยากาศที่ผ่อนปรนไม่ตึงเครียดเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง ระดับประถมปลาย ควรใช้วิธีที่ครูช่วยจัดสภาพการที่กระตุ้นให้เด็กถามคาถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ (อาจใช้เกม 20 คาถาม) และการตั้งสมมุติฐานว่าทาไมสิ่งนั้นๆจึงเกิดขึ้น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เด็กวัยนี้สามารถคิดอย่างมีเหตุผล แต่อาจจะมิใช่เหตุผลดังที่ผู้ใหญ่คิด ดังนั้น ครูอาจทราบ เหตุผลของเด็กได้โดยการกระตุ้นให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และการเขียนรายงาน โดยไม่มีคะแนน สาหรับเด็กในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 10. สถานการณ์ปัญหาที่ 3 ท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร ให้นิเทศก์ติดตามการสอนของครูหมวด วิทยาศาสตร์ โดยใน ชั่วโมงการสอนเรื่องพืชของครูสรยุทธ์ พบว่า จะสอนโดยวิธีการบรรยาย เขียนกระดานดา และให้นักเรียนดูหนังสือตาม โดยจะ พูดแต่เนื้อหาไม่บอกสาระสาคัญ ไม่มีการแจ้งจุดประสงค์และโครงเรื่องก่อน ทาให้ยากต่อการทาความเข้าใจ ชั่วโมงต่อมาครูสรยุทธ์ก็ได้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนขึ้น และลองถามให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนมา นักเรียนไม่สามารถที่จะ อธิบายได้ ขาดกรอบในการนาเสนอ และนักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ในเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วได้กับเนื้อหาใหม่ๆ ที่สอน
  • 11. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถเชื่อมโยงได้ เนื่องจากเนื้อหาของวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ยาก อีกทั้งครูไม่รู้จักวิธีการจัดการเรียน การสอนที่ทาให้นักเรียนเข้าใจในเนื้อหาได้ นักเรียนจึงไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนและไม่ สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาได้
  • 12. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : วิธีแก้ไขปัญหา วิธีแก้ไขปัญหาตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือก่อนที่ครูเข้าสู่เนื้อหาต้องแจ้ง จุดประสงค์และโครงเรื่องให้นักเรียนได้ทราบก่อน พร้อมทั้งอธิบายกรอบ และหลักการ เพื่อให้นักเรียนทราบว่าจะต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง โดยต้องรู้จักนาสิ่งเล้าที่เป็นสื่อการสอน การเรียนรู้ที่อยู่ใกล้ตัวของผู้เรียนหรือเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจาวันของตัวผู้เรียนเอง เพื่อให้ง่ายต่อต่อความเข้าใจ และก่อนที่ครูสรยุทธ์จะสอนเนื้อหาต่อไปจะต้องให้นักเรียนไป คิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนในชั่วโมงที่ผ่านมาแล้วก่อน เพื่อที่นักเรียนสามารถ เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับเนื้อหาใหม่ได้
  • 13. สถานการณ์ปัญหาที่ 4 ในชั่วโมงสอนวิชาเคมีของครูทักษิณตอนนี้กาลังประสบปัญหาเกี่ยวกับการสอน คือ เวลาสอนเนื้อหาในชั่วโมงเรียน นักเรียนจะมีความ เข้าใจและจาได้ เมื่อถาม คาถาม หรือให้ออกไปแสดงวิธีทาหน้าชั้นเรียนก็สามารถทาได้ถูกต้อง แต่เมื่อเวลา ผ่านไป เช่น ในวันรุ่งขึ้น เมื่อกลับมาถามหรือให้แสดงวิธีทาปรากฏว่าจะตอบไม่ถูก หรือแสดงวิธีทาได้เพียงบางส่วน ยิ่งถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับธาตุทางเคมียิ่งจาไม่ได้ ในฐานะที่ท่าน เป็นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลองพิจารณาหาทางช่วยครู ทักษิณแก้ปัญหาดังกล่าว
  • 14. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่นามาใช้แก้ไขปัญหา เลือกใช้ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ซึ่งว่าด้วยการ อธิบายเกี่ยวกับการได้มาซึ่ง ความรู้ (acquire) สะสมความรู้ (store) การระลึกได้ (recall) วิธีการใช้ข่าวสารข้อมูล ประมวลอย่างไร? เก็บอย่างไร? ใช้อย่างไร? เพื่อให้ผู้เรียนจดจาได้ในระยะยาว ทั้งนี้ผู้เรียนต้องมี 1) ความใส่ใจ (attention) 2) กลยุทธ์การเรียนรู้ (learning strategies) 3) พื้นฐานความรู้ (knowledge base) 4) ความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง (metacognition)
  • 15. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : ขั้นตอนการนาทฤษฎีไปใช้แก้ไขปัญหา ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนพัฒนาความจาทั้ง 3 ระดับ ตามขั้นตอนของหลักการประมวลสารสนเทศของมนุษย์ คลอสไมเออร์ (Klausmeier) ซึ่งได้พยายามอธิบายกระบวนการประมวลผลข่าวสารข้อมูลที่เกิดขึ้นในสมองของมนุษย์ 1.การบันทึกผัสสะ (Sensory register) ความจาในการได้รับสิ่งเร้าทาง หู ตา จมูก ลิ้น อาทิ เค็ม รู้ว่านั่นหนังสือ กระดาน ฯลฯ เพื่อจะพิจารณาว่าควรจะ เลือกจาในระยะสั้นหรือไม่ 2.ความจาระยะสั้น (Short-term Memory) เมื่อผ่านผัสสะ สมองจะพินิจให้ผ่านเป็นความจาระยะสั้น เช่น เมื่อเราผัสสะ สมองจาจาเบอร์โทรศัพท์ หลังจอปิดลงเราจะ ยังคงจาตัวเลขนั้นได้ครบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปเราจะลืมอย่างรวดเร็ว ในกรณีที่นักเรียนจาไม่ได้ ควรหัดให้จัดกลุ่มตัวเลข หรือชื่อสารเคมี เช่น 112-1245 วิธีนี้จะจาให้นานขึ้นเพื่อพิจารณาเป็น ความจาระยะยาวต่อไปตามความสาคัญที่ผู้เรียนคาดว่าต้องการจดจา 3.ความจาระยะยาว (Long-term Memory) การเข้ารหัส (Encoding) เกิดจากการ หลังจากที่ข้อมูลถูกบันทึกไว้ในความจาระยะสั้นแล้ว เช่น การท่องสูตรคูณ ซึ่งเป็น การท่องจาที่ไม่ต้องใช้ความคิดคือ การสร้างความสัมพันธ์ หรือ การเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่ หรือข้อมูลใหม่ กับความรู้เดิม ของผู้เรียนที่เก็บไว้ใน ความจาระยะยาว ซึ่งจะช่วยในการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful learning) นาไปต่อยอดในการ คิดคานวณได้ไม่มีวันสิ้นสุด
  • 16. สถานการณ์ปัญหาที่ 5 ณ โรงเรียน บ้านหนองขี้กวงประชานุเคราะห์ ในการเรียนการสอนของครูปา รวีมีเหตุการณ์เป็นดังนี้ ชั่วโมงการสอนของครูปารวี ซึ่งสอนเรื่องสถิติ ครูปารวีสอนวิธีหาค่าเฉลี่ยแล้ว ให้นักเรียนกลับไปทาเป็นการบ้าน เด็กชายสุวัฒน์ เป็นเด็กที่ขยัน ถ้าหากมีเวลาว่าง เขาจะหยิบสมุดการบ้านขึ้นมาทา พออ่านโจทย์แล้ว สุวัฒน์ก็รู้ทันทีว่าเขาจะแก้โจทย์ ข้อนี้ได้อย่างไร เพราะพอจะเข้าใจจากที่อาจารย์สอน แต่พอลองแทนค่าในสมการแล้ว สุวัฒน์ก็ยังไม่ได้คาตอบ สุวัฒน์จึงทบทวนอ่านโจทย์ใหม่อีกครั้ง เขาถึงรู้ว่าโจทย์ข้อนี้ ซับซ้อนกว่าที่เขาเรียนมา เขาจึงต้องศึกษาเพิ่มเติมและหาวิธีการแก้โจทย์จากหนังสือ คู่มือหลายๆ เล่ม แล้วเลือกวิธีที่เขาคิดว่าเหมาะสมที่เขาเข้าใจมากที่สุด มาใช้แก้โจทย์ ข้อนี้ จนได้คาตอบ แล้วทาการตรวจทานคาตอบอีกครั้ง เพื่อความแน่ใจ
  • 17. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 1 : ทฤษฎีที่สอดคล้องกับกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา สอดคล้องกับทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับความคิดของตนเอง (Meta cognition) โดยทฤษฎีนี้เชื่อ ว่าผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ คือ เป็นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง (Self- regulation) ฟลาเวล ได้ศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกิจกรรมทางปัญญา (Cognitive Activity) และให้ ความหมายของคาว่า “Meta Cognitive” หมายถึง ความรู้ส่วนตัวของแต่ละบุคคลต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ หรือสิ่งที่ตนรู้ (Knowing) ซึ่งต่างกับ “Cognitive” ซึ่งหมายถึงการรู้คิดหรือปัญญาที่เกิดจากการ เรียนรู้อะไรก็ตามด้วยความเข้าใจ ตัวอย่าง การเข้าใจความหมายและหน้าที่ของพลเมืองดี “Meta Cognitive” หมายถึง การที่ตนเองรู้สึก และตระหนักรู้ว่าตนเองจะปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีได้มากน้อยเพียงไร สานึกในหน้าที่ของพลเมือง และ คิดอย่างลึกซึ้งว่าตนเองจะสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีได้มากน้อยเพียงไร
  • 18. ภารกิจการเรียนรู้ข้อที่ 2 : การจัดการเรียนรู้ในสภาพจริง ฟลาเวล กล่าวว่า ความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเองขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 อย่าง คือ 1. บุคคล (Person) หมายถึงความสามารถของผู้เรียนที่จะมีความรู้เกี่ยวกับตนเองในฐานะผู้เรียน เช่น ระดับความสามารถ ลีลาในการเรียนรู้ที่ตนถนัด 2. งาน (Task) ความรู้เกี่ยวกับงานที่จะต้องเรียนรู้ รวมทั้งระดับความยากง่ายของงาน 3. ยุทธศาสตร์ (Strategy) ที่ใช้ในการเรียนรู้ “งาน” หรือสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ขึ้นอยู่กับวัยของผู้เรียน ผลที่มีต่อการเรียนรู้ ผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 3 อย่าง เกี่ยวกับ บุคคลต้องมีความรู้ว่าตนเองมี ความสามารถและมีความรู้พื้นฐานอะไรบ้าง ประเมินตนเองได้ว่ามีความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องนั้นมากน้อย เพียงไร สาหรับความรู้เกี่ยวกับงานจะต้องรู้ว่าปัญหาที่จะต้องแก้เป็นงานยากง่าย ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และงาน ถ้าหากให้พิจารณาว่างานเป็นเรื่องไกลตัวซึ่งตนเองไม่ถนัดนัก ก็จะต้องขวนขวายหาความรู้เรื่องที่ เป็นพื้นฐานเสียก่อน เมื่อมีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 3 อย่างแล้วจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรู้ แบบ Long Term Memory ซึ่งสามารถเรียกใช้ได้และเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆได้