SlideShare a Scribd company logo
1 of 131
Download to read offline
~1~


                                               บทที่ 1
                                               บทนา

ปรัชญา          การศึกษาเป็ นการพัฒนาสภาพชีวตและสังคม
                                            ิ

วิสัยทัศน์
         โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกาลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ท่ีมีความ
                                  ู
สมดุลทั้งร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสานึกในหน้าที่ทางสังคม ความเป็ นพลเมืองไทย และเป็ นพลโลก ยึด
มันในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน
  ่                                                              ์
รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
                                                                              ิ
                               ่
สาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อที่วา ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นสมรรถนะของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                           ู
พ.ศ.2551 โดยมีสมรรถนะพื้นฐาน 5 ประการ
          1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา
                                                                                ั
ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
                  ั
ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
              ิ
          2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื สารสนเทศ
                             ิ
เพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
          3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญ หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ
แก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดย คานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและ
สิ่ งแวดล้อม
          4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
                                      ั      ิ
การดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่วมกันใน
                ิ                       ้                                                 ่
~2~


สังคมด้วยการ สร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
                                     ั
เหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยง
                         ั                                                     ั
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น
                                                  ้
        5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ
                                                                                    ้
มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทางาน
   ั
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
        โดยสอนสอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานการเรี ยนรู้/ตัวชี้วดทั้ง 8 สาระการเรี ยนรู้
                                                            ั

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
         โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสู ตรแกนกลาง
                                  ู
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เพื่อต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนทุกคน ดังนี้
         1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
         2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
         3. มีวนย ิ ั
         4. ใฝ่ เรี ยนรู้
                ่
         5. อยูอย่างพอเพียง
         6. มุ่งมันในการทางาน
                    ่
         7. รักความเป็ นไทย
         8. มีจิตสาธารณะ
         และโรงเรี ยนได้เพิมเติมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ดังนี้
                             ่
9. มีจิตสานึกในหน้าที่ทางสังคม
         คุณลักษณะเหล่านี้ สอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานและตัวชี้วดของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆและ
                                                                      ั
สามารถพัฒนาผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อโครงการต่างๆของโรงเรี ยน
~3~


                                                บทที่ 2
                                     โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา

ระดับการศึกษา
                                                    ่
        โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล จัดระดับการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และ
                               ู
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)

กลุ่มสาระการเรียนรู้
     กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ มี 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1.            ภาษาไทย
2.            คณิ ตศาสตร์
3.            วิทยาศาสตร์
4.            สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5.            สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6.            ศิลปะ
7.            การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.            ภาษาต่างประเทศ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
        กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มี 3 ลักษณะ
         1. กิจกรรมแนะแนว
         เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู ้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสิ นใจ คิด
                                                           ั
แก้ปัญหา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
                                        ิ
นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองใน
              ั             ั                                                                     ู้
การมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน
         2. กิจกรรมนักเรียน
         เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินย ความเป็ นผูนาผู ้ ตามที่ดี ความรับผิดชอ บ การทางาน
                                                       ั           ้
ร่ วมกัน การรู ้จกแก้ปัญหา การตัดสิ นใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปั นกัน เอื้ออาทร และ
                 ั
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยน ให้ได้ปฏิบติดวย             ั ้
ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบติตามแผน ประเมินและปรับปรุ งการทางาน
                                                                 ั
~4~


เน้นการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของ
สถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย

        2.1 กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
                                                       ้
         2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม
         3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์
                         ่
         เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบาเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ตอสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ
                                                                        ่
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละต่อสังคม มีจิต
สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยจัดกิจจกรมอาสาพาไปพัฒนา
หมู่บ้านในชุ มชน


โครงสร้ างเวลาเรียน
     โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา
(ม.1 - 3)
                                                                    เวลาเรียน
          กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม
                                                      ม.1                ม.2           ม.3
      กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย                                         120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.)
คณิ ตศาสตร์                                     120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.)
วิทยาศาสตร์                                     120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.)
สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม                      120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.)
สุ ขศึกษาและพลศึกษา                              80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.)
ศิลปะ                                            80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี                          80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.)
ภาษาต่างประเทศ                                  120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.)
รวมเวลาเรียนพืนฐาน
                 ้                              840 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.)
      กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน                           120                120           120
      รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด
                            ่
                                                             ปี ละไม่เกิน 240 ชัวโมง
                                                                                 ่
         เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น
            ่
รวมเวลาเรียนทั้งหมด                                       ปี ละไม่เกิน 1,200 ชัวโมง/ปี
                                                                               ่
~5~




       โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา
(ม.4 - 6)
                                                                        เวลาเรียน
          กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม
                                                          ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
      กลุ่มสาระการเรียนรู้                                               ม. 4-6
ภาษาไทย                                                             240 (6 นก.)
คณิ ตศาสตร์                                                         240 (6 นก.)
วิทยาศาสตร์                                                         240 (6 นก.)
สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม                                          240 (6 นก.)
สุ ขศึกษาและพลศึกษา                                                 240 (6 นก.)
ศิลปะ                                                               240 (6 นก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี                                             240 (6 นก.)
ภาษาต่างประเทศ                                                      240 (6 นก.)
รวมเวลาเรียนพืนฐาน
                 ้                                                 1,590 (39 นก.)
      กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน                                                360
      รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด
                            ่
                                                            ไม่นอยกว่า 1,680 ชัวโมง
                                                                 ้                ่
         เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น
            ่
รวมเวลาเรียนทั้งหมด                                    รวม 3 ปี ไม่นอยกว่า 3,600 ชัวโมง/ปี
                                                                      ้             ่
~6~


สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

      โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ใน 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จานวน 67
                             ู
มาตรฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ดังนี้

         1. กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1           ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหา
                                                                            ั
 ในการดาเนินชีวตและมีนิสยรักการอ่าน
                   ิ        ั
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว
                        ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
                        อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด
                                              ิ
                        ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์
                                                        ิ
สาระที่ 4 หลักการใช้ ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
                        ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
                        เห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
                                                           ิ

         2. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง     ิ
มาตรฐาน ค 1.2            เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
                         การดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4            เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้
สาระที่ 2 การวัด
~7~


มาตรฐาน ค 2.1        เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด ้
มาตรฐาน ค 2.2        แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 31         อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ          (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ
                     ใช้แบบจาลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1        เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน      ั
มาตรฐาน ค 4.2        ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์
                     (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย
                     และนาไปใช้แก้ปัญหา

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1             เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล
                                           ิ                          ้
มาตรฐาน ค 5.2             ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้
                                   ิ
                          อย่างสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ
 ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ
                                                                   ั
                          ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิด
                          ริ เริ่ มสร้างสรรค์

         3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
                    ิ                            ิ
มาตรฐาน ว 1.1             เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
                                                             ิ
                                                                          ั
                          ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
                                                        ิ
                          สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแล
                                                                                  ิ
                          สิ่ งมีชีวต
                                    ิ



มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
~8~


                          วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่
                               ั                 ิ
                          มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ
                          สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้
สาระที่ 2 ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม
             ิ
มาตรฐาน ว 2.1             เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต   ิ
                          ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ
                                                            ิ
                          หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
                          ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                          และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน ่
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1             เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง
                          ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
                          จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
                          การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่
                          เรี ยนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่
                          ่
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์                              มี
                          กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
                          อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2             เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
                          สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้
                          ประโยชน์
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1             เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
                                                                                   ิ
                          ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ          ิ
                          สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และ
                          นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
~9~


สาระที่ 6 : กระบวนการเปลียนแปลงของโลก
                          ่
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ
                       กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
                       ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้
                       และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1          เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน
                                ั
                       ระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
                                                     ิ
                       จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศและ
                       ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะ หา
                       ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่าง
                       มีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                                        ิ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1          ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ
                                     ่
                       แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ               ที่
                       แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูใน
                                                                               ้                    ่
                       ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม
                       มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั

         4. กลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1             รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ
                          ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตาม
                                                                                ่         ั
                          หลักธรรม เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข
                                            ่
มาตรฐาน ส 1.2              เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ น สาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา
                                                    ั
                          พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ 2 หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม
                  ่                                    ิ
มาตรฐาน ส 2.1                                                                 ่
                          เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และ
                                         ั
                          ธารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทย และ
                                                                      ิ ่
                          สังคมโลกอย่างสันติสุข
~ 10 ~


มาตรฐาน ส 2.2          เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารง
                                                                ั      ่
                       รักษาไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น
                                                                                ์
                       ประมุข
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1        เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้
                                         ่
                         ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ
                                                                          ้
                         ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ
                                                               ิ
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
                         ความจาเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1            เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
                         วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
มาตรฐาน ส 4.2            เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ
                                                                            ั
                         การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ
                         วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส 4.3            เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
                         ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1            เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน
                         และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ
                         ค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
                                                       ้
มาตรฐาน ส 5.2            เข้าใจปฏิสมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
                                    ั                    ั
                         การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
                                           ั
                         และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน
                                                           ั่

        5. กลุ่มสาระสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

สาระที่ 2 ชีวตและครอบครัว
             ิ
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต
                                                                ั               ิ
สาระที่ 3 การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
                 ่
~ 11 ~


มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
                            ั
มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจาอย่าง
                                                                            ั
                        สม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน
                                    ิ ั
                        การแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา
สาระที่ 4 การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค  ้
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ การป้ องกัน
                                  ั
                        โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวต   ิ
มาตรฐาน พ 5.1           ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้
                                                                                         ั
                        ยาสารเสพติด และความรุ นแรง

         6. กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ 1.1            สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
                         วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
                         อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน
                                                                ิ
มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
                         งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
                         สากล
สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1            เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่า
                                                                                       ิ
                         ดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์
                         ใช้ในชีวตประจาวัน
                                   ิ
มาตรฐาน ศ 2.2            เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
                         ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ 3.1            เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
                         คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
                         ชีวตประจาวัน
                             ิ
มาตรฐาน ศ3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ
                         นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
~ 12 ~




         7. กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว
                        ิ
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน
                                                           ั                              ทักษะ
                           การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะ
                           การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก
                           ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวตและครอบครัว
                                                                                    ิ
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้
                           หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้
                           เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการ
                                                             ิ
                           จัดการเทคโนโลยีที่ยงยืน
                                                 ั่
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาตรฐาน ง 3.1              เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล
 การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทางาน                        และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
 ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ 4 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1              เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
                                      ั
                                                                                  ่
                           ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ

         8. กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพือการสื่ อสาร
                  ่
มาตรฐาน ต 1.1             เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิเห็น
                                                                                               ด
                          อย่างมีเหตุผล

มาตรฐาน ต 1.2           มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึกและ
                           ั
                        ความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

มาตรฐาน ต 1.3         นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ
                      โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
~ 13 ~


มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้
                        อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2           เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
                        ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ 3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบกลุ่มสาระการเรียนรู้ อน
                                  ั                     ื่
มาตรฐาน ต3.1            ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อและเป็ น
                                                                  ั                     ื่น
                        พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู ้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบชุ มชนและโลก
                                ั
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2           ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
                                                   ั
                        และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบสังคมโลก
จานวนตัวชี้วด
            ั
        จานวนตัวชี้วดระดับมัธยมศึกษา
                    ั
                                                 ตัวชี้วดชั้นปี
                                                        ั                               ตัวชี้วดช่ วงชั้น
                                                                                               ั
   กลุ่มสาระการเรียนรู้
                                ม.1           ม.2               ม.3       รวม                 ม.4-6
1.ภาษาไทย                       35            32                 36       103                    36
2.คณิตศาสตร์                    27            26                 25        78                    32
3.วิทยาศาสตร์                   42            37                 40       119                    67
4.สั งคมศึกษาฯ                  45            44                 49       138                    63
5.สุ ขศึกษาฯ                    23            25                 24        72                    29
6.ศิลปะ                         27            27                 32        86                    39
7.การงานอาชีพฯ                   9            14                 12        35                    29
8.ภาษาต่ างประเทศ               20            21                 21        62                    21
           รวม                  228           226               239       693                  316
~ 14 ~


มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วด
                             ั

                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ทาไมต้ องเรียนภาษาไทย
          ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพและ
เสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารเพื่อสร้าง
ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุ ระ การงาน และดารงชีวตร่ วมกัน ใน
                                                                                        ิ
สังคมประชาธิ ปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู ้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนต่อการ ั
เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนา
อาชีพให้มีความมันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยงเป็ นสื่ อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ
                  ่                             ั
ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล้ าค่าควรแก่การเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ และสื บสาน ให้คง
อยูคู่ชาติไทยตลอดไป
   ่

เรียนรู้ อะไรในภาษาไทย
           ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตองฝึ กฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การเรี ยนรู ้อย่าง
                                 ้
มีประสิ ทธิภาพ และเพื่อนาไปใช้ในชีวตจริ ง
                                       ิ
        • การอ่าน การอ่านออกเสี ยงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ
การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู ้จากสิ่ งที่อ่าน เพื่อนาไป
ปรับใช้ในชีวตประจาวัน
               ิ
      • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่ อสาร โดยใช้ถอยคาและรู ปแบบต่างๆ ของ
                                                                       ้
การเขียน ซึ่ งรวมถึงการเขียนเรี ยงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์
วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
      • การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู ้สึก
                                                     ิ
พูดลาดับเรื่ องราวต่างๆ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็ นทางการและ ไม่เป็ นทางการ
และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
     • หลักการใช้ ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ
โอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิ พลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
     • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด
คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรี ยนรู ้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก
~ 15 ~


เพลงพื้นบ้านที่เป็ นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่ งได้ถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เรื่ องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้ งและภูมิใจ
ในบรรพบุรุษที่ได้ส่งสมสื บทอดมาจนถึงปั จจุบน
                     ั                        ั

                                            คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
         • อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่ งที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้ง
เกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่านได้ วิเคราะห์
วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลาดับความอย่างมีข้ นตอนและความเป็ นไปได้ของเรื่ องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความ
                                              ั
ถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนจากเรื่ องที่อ่าน
         • เขียนสื่ อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถอยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคาขวัญ
                                                        ้
คาคม คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุ นทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์
ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุ ระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ความคิด
หรื อโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและเขียนโครงงาน
       • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่ งที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้
ในชีวตประจาวัน พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบ
       ิ
มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ
รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
      • เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่นๆ คาทับศัพท์ และศัพท์บญญัติ      ั
ในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน
ลักษณะภาษาที่เป็ นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็ นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ กาพย์
และโคลงสี่ สุภาพ
      • สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตวละครสาคัญ วิถีชีวตไทย และคุณค่าที่ได้รับ
                                                               ั               ิ
จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุ ปความรู ้ขอคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
                                                                  ้                         ิ

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
     • อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปล
ความ และขยายความเรื่ องที่อ่านได้ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอ
                                            ิ
ความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด
~ 16 ~


ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู ้ความคิด
จากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ และ นาความรู ้ความคิดไป
ประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน
                                      ิ
         • เขียนสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่ อที่มี
รู ปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรี ยงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขียนบันทึก
รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ขอมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของ
                                                             ้
ตนเองในรู ปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผูอื่นและนามาพัฒนางาน
                                                                             ้
เขียนของตนเอง
         • ตั้งคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ อง ที่ฟังและ
                                                                     ิ
ดู วิเคราะห์วตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่ องที่ฟังและดู ประเมินสิ่ งที่ฟังและดู
                ั
แล้วนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวต มีทกษะการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ น
                                        ิ  ั
ทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
         • เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิ พลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคาสร้าง
ประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้
เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คาราชาศัพท์และคาสุ ภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคาใน
ภาษาไทย อิทธิ พลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจาก
สื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
         • วิเคราะห์วจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู ้และเข้าใจลักษณะ
                       ิ
เด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์
และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวตจริ ง
     ิ
~ 17 ~


สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่ านสร้ างความรู้ และความคิด เพือนาไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ ปัญหาในการ
                                                                     ่
                    ดาเนินชีวตและมีนิสัยรักการอ่าน
                              ิ
                                     ตัวชี้วดชั้นปี
                                            ั                                            ตัวชี้วดช่วงชั้น
                                                                                                ั
             ม. ๑                        ม. ๒                      ม. ๒                   ม. ๔ – ม. ๖
๑. อ่านออกเสี ยง             ๑. อ่านออกเสี ยง           ๑. อ่านออกเสี ยง         ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อย
บทร้อยแก้ว                   บทร้อยแก้วและบทร้อย บทร้อยแก้วและบทร้อย แก้ว
และบท                        กรอง                       กรองได้ถูกต้องและ        และบทร้อยกรองได้
ร้อยกรอง                     ได้ถูกต้อง                 เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน อย่างถูกต้อง
ได้ถูกต้อง                   ๒. จับใจความ               ๒. ระบุความ              ไพเราะ และเหมาะสม
เหมาะสม                      สาคัญ                      แตกต่างของคา             กับเรื่ อง        ที่อ่าน
กับเรื่ องที่อ่าน            สรุ ปความ                  ที่มีความหมาย            ๒. ตีความ แปลความ
๒. จับใจความ                 และอธิบาย                  โดยตรง และ               และขยายความเรื่ องที่
สาคัญจากเรื่ อง              รายละเอียด                 ความหมาย                 อ่าน
ที่อ่าน                      จากเรื่ องที่อ่าน          โดยนัย                   ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์
๓. ระบุเหตุ                  ๓. เขียน                   ๓. ระบุใจความสาคัญ        เรื่ อง
และผล และ                    ผังความคิด                 และรายละเอียด            ที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่าง
ข้อเท็จจริ ง                 เพื่อแสดงความเข้าใจใน ของข้อมูล                 ที่  มีเหตุผล
กับข้อคิดเห็น                บทเรี ยนต่างๆ              สนับสนุน จากเรื่ องที่   ๔. คาดคะเนเหตุการณ์
จากเรื่ องที่อ่าน            ที่อ่าน                    อ่าน                     จากเรื่ อง
๔. ระบุ                      ๔. อภิปรายแสดงความ ๔. อ่านเรื่ อง                   ที่อ่าน และประเมินค่า
และอธิบาย                    คิดเห็น          และข้อ    ต่างๆ แล้วเขียน          เพื่อนาความรู้ ความคิด
คาเปรี ยบเทียบ               โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่ กรอบแนวคิด               ไปใช้ตดสิ นใจแก้ปัญหา
                                                                                            ั
และคาที่มี                   อ่าน                       ผังความคิด               ในการดาเนินชีวต      ิ
หลายความหมาย                 ๕. วิเคราะห์               บันทึก ย่อความ           ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์
ในบริ บทต่างๆ                และจาแนก                   และรายงาน                แสดงความคิดเห็น
จากการอ่าน                   ข้อเท็จจริ ง               ๕. วิเคราะห์             โต้แย้งกับเรื่ องที่อาน่
๕. ตีความคายาก    ใน         ข้อมูลสนับสนุน             วิจารณ์ และ              และเสนอความคิดใหม่
เอกสารวิชาการ                และข้อคิดเห็น              ประเมินเรื่ อง           อย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากบริ บท จากบทความ                           ที่อ่านโดยใช้            ๖. ตอบคาถามจากการ
๖. ระบุ                      ที่อ่าน                    กลวิธีการ                 อ่าน
ข้อสังเกต                    ๖. ระบุ                    เปรี ยบเทียบ             ประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่
~ 18 ~


และความ                      ข้อสังเกต               เพื่อให้ผอ่าน
                                                               ู้             กาหนด
สมเหตุสมผล                   การชวนเชื่อ             เข้าใจได้ดีข้ ึน        ๗. อ่านเรื่ องต่างๆ แล้ว
ของงานเขียน                  การโน้มน้าว หรื อความ   ๖. ประเมิน              เขียน
ประเภทชักจูง                 สมเหตุสมผลของงาน        ความถูกต้อง             กรอบแนวคิด ผัง
โน้มน้าวใจ                   เขียน                   ของข้อมูล               ความคิด บันทึก ย่อความ
๗. ปฏิบติตาม
           ั                 ๗. อ่านหนังสื อ         ที่ใช้สนับสนุน          และรายงาน
คู่มือแนะนา                  บทความหรื อ             ในเรื่ องที่อ่าน        ๘. สังเคราะห์ความรู้จาก
วิธีการใช้งาน                คาประพันธ์              ๗. วิจารณ์ความ           การอ่าน
ของเครื่ องมือ               อย่างหลากหลาย           สมเหตุสมผล              สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อ
หรื อเครื่ องใช้ในระดับที่   และประเมิน              การลาดับความและความ      อิเล็กทรอนิกส์
ยากขึ้น                      คุณค่าหรื อ             เป็ นไปได้              และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ
๘. วิเคราะห์คุณค่าที่        แนวคิดที่ได้            ของเรื่ อง               มาพัฒนา
ได้รับจากการอ่าน             จากการอ่าน              ๘. วิเคราะห์เพื่อ       ตน พัฒนาการเรี ยน และ
งานเขียนอย่าง                เพื่อนาไปใช้            แสดงความ                 พัฒนา
หลากหลาย                     แก้ปัญหาในชีวต ิ        คิดเห็นโต้แย้ง          ความรู้ทางอาชีพ
เพื่อนาไปใช้                 ๘. มีมารยาท             เกี่ยวกับเรื่ องที่     ๙. มีมารยาทในการอ่าน
แก้ปัญหาในชีวต   ิ           ในการอ่าน               อ่าน
๙. มีมารยาท                                          ๙. ตีความและ
ในการอ่าน                                            ประเมินคุณค่า
                                                     และแนวคิด ที่ได้จาก
                                                     งานเขียน
                                                     อย่างหลากหลาย
                                                     เพื่อนาไปใช้
                                                     แก้ปัญหาในชีวต      ิ
                                                     ๑๐ มีมารยาทในการอ่าน
~ 19 ~


สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้ กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
                    รู ปแบบต่ างๆเขียนรายงานข้ อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้ นคว้ าอย่ างมี
                     ประสิ ทธิภาพ
                                   ตัวชี้วดชั้นปี
                                          ั                                         ตัวชี้วดช่วงชั้น
                                                                                           ั
               ม. ๑                    ม. ๒                      ม. ๒                  ม. ๔ – ม. ๖
๑. คัดลายมือ               ๑. คัดลายมือ              ๑. คัดลายมือ            ๑. เขียนสื่ อสารใน
ตัวบรรจง                   ตัวบรรจง                  ตัวบรรจง                 รู ปแบบต่างๆ
ครึ่ งบรรทัด               ครึ่ งบรรทัด              ครึ่ งบรรทัด            ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
๒. เขียนสื่ อสาร           ๒. เขียน                  ๒. เขียน                 โดยใช้
โดยใช้ถอยคา  ้             บรรยาย                    ข้อความโดยใช้           ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มี
ถูกต้อง ชัดเจน             และพรรณนา                 ถ้อยคาได้ถูกต้องตาม      ข้อมูล
เหมาะสม และ                ๓. เขียน                  ระดับภาษา               และสาระสาคัญชัดเจน
สละสลวย                    เรี ยงความ                ๓. เขียนชีวประวัติหรื อ ๒. เขียนเรี ยงความ
๓. เขียนบรรยาย             ๔. เขียน                  อัตชีวประวัติ           ๓. เขียนย่อความจากสื่ อ
ประสบการณ์                 ย่อความ                   โดยเล่า                 ที่มีรูปแบบ และเนื้อหา
โดยระบุ                    ๕. เขียนรายงาน            เหตุการณ์               หลากหลาย
สาระสาคัญ                  การศึกษา                  ข้อคิดเห็น              ๔. ผลิตงานเขียนของ
และรายละเอียด              ค้นคว้า                   และทัศนคติ               ตนเอง
สนับสนุน                   ๖. เขียน                  ในเรื่ องต่างๆ          ในรู ปแบบต่างๆ
๔. เขียน                   จดหมายกิจธุ ระ            ๔. เขียนย่อความ         ๕. ประเมินงานเขียน
เรี ยงความ                 ๗. เขียน                  ๕. เขียน                ของผูอื่น
                                                                                     ้
๕. เขียน                   วิเคราะห์                 จดหมายกิจธุ ระ          แล้วนามาพัฒนางานเขียน
ย่อความจาก                 วิจารณ์ และ               ๖. เขียนอธิบาย          ของตนเอง
           ่
เรื่ องที่อาน              แสดงความรู้               ชี้แจง แสดง             ๖. เขียนรายงาน
๖. เขียนแสดง               ความคิดเห็น               ความคิดเห็น              การศึกษาค้นคว้า
ความคิดเห็น                หรื อโต้แย้ง              และโต้แย้ง              เรื่ องที่สนใจตาม
เกี่ยวกับสาระ              ในเรื่ องที่อ่าน          อย่างมีเหตุผล            หลักการเขียนเชิง
จากสื่ อที่ได้รับ          อย่างมีเหตุผล             ๗. เขียน                วิชาการ และใช้ขอมูล ้
๗. เขียน                   ๘. มีมารยาท               วิเคราะห์ วิจารณ์        สารสนเทศ
จดหมายส่ วนตัว             ในการเขียน                และแสดงความรู้          อ้างอิงอย่างถูกต้อง
และจดหมาย                                            ความคิดเห็น             ๗. บันทึกการศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน

More Related Content

What's hot

หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)Nattayaporn Dokbua
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค พัน พัน
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดkalzitem
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายTanakorn Pansupa
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาChaiyong_SP
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
Ppt immunity ชีววิทยา ม.5
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคา
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

Irrational thinking fear gastric cancer
Irrational thinking fear gastric cancerIrrational thinking fear gastric cancer
Irrational thinking fear gastric cancer
 
People for Education
People for EducationPeople for Education
People for Education
 
Slidesheet
SlidesheetSlidesheet
Slidesheet
 
Weight and-massppt1322
Weight and-massppt1322Weight and-massppt1322
Weight and-massppt1322
 
Nội dung chi tiết
Nội dung chi tiếtNội dung chi tiết
Nội dung chi tiết
 
Community is King
Community is KingCommunity is King
Community is King
 
Analysis of professional magazine covers
Analysis of professional magazine coversAnalysis of professional magazine covers
Analysis of professional magazine covers
 
Lim restaurant
Lim restaurantLim restaurant
Lim restaurant
 

Similar to ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 

Similar to ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน (20)

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Nattayaporn Dokbua

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศNattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)Nattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาNattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบNattayaporn Dokbua
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1Nattayaporn Dokbua
 

More from Nattayaporn Dokbua (9)

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
 

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน

  • 1. ~1~ บทที่ 1 บทนา ปรัชญา การศึกษาเป็ นการพัฒนาสภาพชีวตและสังคม ิ วิสัยทัศน์ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกาลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ท่ีมีความ ู สมดุลทั้งร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสานึกในหน้าที่ทางสังคม ความเป็ นพลเมืองไทย และเป็ นพลโลก ยึด มันในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน ่ ์ รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น ิ ่ สาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อที่วา ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นสมรรถนะของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ู พ.ศ.2551 โดยมีสมรรถนะพื้นฐาน 5 ประการ 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ั ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ั ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ิ 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื สารสนเทศ ิ เพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญ หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ แก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดย คานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและ สิ่ งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน ั ิ การดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่วมกันใน ิ ้ ่
  • 2. ~2~ สังคมด้วยการ สร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง ั เหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยง ั ั พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ้ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ ้ มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทางาน ั การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม โดยสอนสอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานการเรี ยนรู้/ตัวชี้วดทั้ง 8 สาระการเรี ยนรู้ ั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสู ตรแกนกลาง ู การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เพื่อต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนทุกคน ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนย ิ ั 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 6. มุ่งมันในการทางาน ่ 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจิตสาธารณะ และโรงเรี ยนได้เพิมเติมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ดังนี้ ่ 9. มีจิตสานึกในหน้าที่ทางสังคม คุณลักษณะเหล่านี้ สอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานและตัวชี้วดของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆและ ั สามารถพัฒนาผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อโครงการต่างๆของโรงเรี ยน
  • 3. ~3~ บทที่ 2 โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา ระดับการศึกษา ่ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล จัดระดับการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และ ู มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ มี 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิ ตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มี 3 ลักษณะ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู ้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสิ นใจ คิด ั แก้ปัญหา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม ิ นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองใน ั ั ู้ การมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินย ความเป็ นผูนาผู ้ ตามที่ดี ความรับผิดชอ บ การทางาน ั ้ ร่ วมกัน การรู ้จกแก้ปัญหา การตัดสิ นใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปั นกัน เอื้ออาทร และ ั สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยน ให้ได้ปฏิบติดวย ั ้ ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบติตามแผน ประเมินและปรับปรุ งการทางาน ั
  • 4. ~4~ เน้นการทางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของ สถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร ้ 2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม 3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์ ่ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบาเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ตอสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ ่ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละต่อสังคม มีจิต สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยจัดกิจจกรมอาสาพาไปพัฒนา หมู่บ้านในชุ มชน โครงสร้ างเวลาเรียน โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา (ม.1 - 3) เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม ม.1 ม.2 ม.3  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) คณิ ตศาสตร์ 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) วิทยาศาสตร์ 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) สุ ขศึกษาและพลศึกษา 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) ศิลปะ 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) รวมเวลาเรียนพืนฐาน ้ 840 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.)  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120  รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด ่ ปี ละไม่เกิน 240 ชัวโมง ่ เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น ่ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ปี ละไม่เกิน 1,200 ชัวโมง/ปี ่
  • 5. ~5~ โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา (ม.4 - 6) เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ม. 4-6 ภาษาไทย 240 (6 นก.) คณิ ตศาสตร์ 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 240 (6 นก.) สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม 240 (6 นก.) สุ ขศึกษาและพลศึกษา 240 (6 นก.) ศิลปะ 240 (6 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 240 (6 นก.) ภาษาต่างประเทศ 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียนพืนฐาน ้ 1,590 (39 นก.)  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 360  รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด ่ ไม่นอยกว่า 1,680 ชัวโมง ้ ่ เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น ่ รวมเวลาเรียนทั้งหมด รวม 3 ปี ไม่นอยกว่า 3,600 ชัวโมง/ปี ้ ่
  • 6. ~6~ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ใน 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จานวน 67 ู มาตรฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ดังนี้ 1. กลุ่มสาระภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหา ั ในการดาเนินชีวตและมีนิสยรักการอ่าน ิ ั สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ิ ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์ ิ สาระที่ 4 หลักการใช้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ 2. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง ิ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ สาระที่ 2 การวัด
  • 7. ~7~ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด ้ มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 31 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจาลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน ั มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล ิ ้ มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้ ิ อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ั ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิด ริ เริ่ มสร้างสรรค์ 3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ิ ั ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ ิ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแล ิ สิ่ งมีชีวต ิ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
  • 8. ~8~ วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่ ั ิ มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ สาระที่ 2 ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม ิ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต ิ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ ิ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน ่ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ ิ สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • 9. ~9~ สาระที่ 6 : กระบวนการเปลียนแปลงของโลก ่ มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน ั ระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ ิ จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะ หา ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่าง มีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ ่ แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ ที่ แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูใน ้ ่ ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั 4. กลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตาม ่ ั หลักธรรม เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข ่ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ น สาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา ั พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม ่ ิ มาตรฐาน ส 2.1 ่ เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และ ั ธารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทย และ ิ ่ สังคมโลกอย่างสันติสุข
  • 10. ~ 10 ~ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารง ั ่ รักษาไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น ์ ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้ ่ ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ ้ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ ิ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ ั การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด ั ั การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ั และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน ั่ 5. กลุ่มสาระสุ ขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวตและครอบครัว ิ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต ั ิ สาระที่ 3 การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ่
  • 11. ~ 11 ~ มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ั มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจาอย่าง ั สม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน ิ ั การแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา สาระที่ 4 การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค ้ มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ การป้ องกัน ั โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวต ิ มาตรฐาน พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ ั ยาสารเสพติด และความรุ นแรง 6. กลุ่มสาระศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ิ มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่า ิ ดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ ใช้ในชีวตประจาวัน ิ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวตประจาวัน ิ มาตรฐาน ศ3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
  • 12. ~ 12 ~ 7. กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 1 การดารงชีวตและครอบครัว ิ มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ั ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวตและครอบครัว ิ สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการ ิ จัดการเทคโนโลยีที่ยงยืน ั่ สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ั ่ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ 8. กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพือการสื่ อสาร ่ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิเห็น ด อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึกและ ั ความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
  • 13. ~ 13 ~ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบกลุ่มสาระการเรียนรู้ อน ั ื่ มาตรฐาน ต3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อและเป็ น ั ื่น พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู ้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบชุ มชนและโลก ั มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ ั และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบสังคมโลก จานวนตัวชี้วด ั จานวนตัวชี้วดระดับมัธยมศึกษา ั ตัวชี้วดชั้นปี ั ตัวชี้วดช่ วงชั้น ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ ม.1 ม.2 ม.3 รวม ม.4-6 1.ภาษาไทย 35 32 36 103 36 2.คณิตศาสตร์ 27 26 25 78 32 3.วิทยาศาสตร์ 42 37 40 119 67 4.สั งคมศึกษาฯ 45 44 49 138 63 5.สุ ขศึกษาฯ 23 25 24 72 29 6.ศิลปะ 27 27 32 86 39 7.การงานอาชีพฯ 9 14 12 35 29 8.ภาษาต่ างประเทศ 20 21 21 62 21 รวม 228 226 239 693 316
  • 14. ~ 14 ~ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วด ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ทาไมต้ องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพและ เสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารเพื่อสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุ ระ การงาน และดารงชีวตร่ วมกัน ใน ิ สังคมประชาธิ ปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู ้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนต่อการ ั เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนา อาชีพให้มีความมันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยงเป็ นสื่ อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ่ ั ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล้ าค่าควรแก่การเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ และสื บสาน ให้คง อยูคู่ชาติไทยตลอดไป ่ เรียนรู้ อะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตองฝึ กฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การเรี ยนรู ้อย่าง ้ มีประสิ ทธิภาพ และเพื่อนาไปใช้ในชีวตจริ ง ิ • การอ่าน การอ่านออกเสี ยงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู ้จากสิ่ งที่อ่าน เพื่อนาไป ปรับใช้ในชีวตประจาวัน ิ • การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่ อสาร โดยใช้ถอยคาและรู ปแบบต่างๆ ของ ้ การเขียน ซึ่ งรวมถึงการเขียนเรี ยงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์ • การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู ้สึก ิ พูดลาดับเรื่ องราวต่างๆ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็ นทางการและ ไม่เป็ นทางการ และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ • หลักการใช้ ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ โอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิ พลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย • วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรี ยนรู ้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก
  • 15. ~ 15 ~ เพลงพื้นบ้านที่เป็ นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่ งได้ถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี เรื่ องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้ งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษที่ได้ส่งสมสื บทอดมาจนถึงปั จจุบน ั ั คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ • อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่ งที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลาดับความอย่างมีข้ นตอนและความเป็ นไปได้ของเรื่ องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความ ั ถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนจากเรื่ องที่อ่าน • เขียนสื่ อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถอยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคาขวัญ ้ คาคม คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุ นทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุ ระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู ้ความคิด หรื อโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและเขียนโครงงาน • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่ งที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ ในชีวตประจาวัน พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบ ิ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอื่นๆ คาทับศัพท์ และศัพท์บญญัติ ั ในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็ นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็ นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุ ภาพ กาพย์ และโคลงสี่ สุภาพ • สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตวละครสาคัญ วิถีชีวตไทย และคุณค่าที่ได้รับ ั ิ จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุ ปความรู ้ขอคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ้ ิ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ • อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปล ความ และขยายความเรื่ องที่อ่านได้ วิเคราะห์วจารณ์เรื่ องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งและเสนอ ิ ความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด
  • 16. ~ 16 ~ ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู ้ความคิด จากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ และ นาความรู ้ความคิดไป ประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน ิ • เขียนสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจากสื่ อที่มี รู ปแบบและเนื้อหาที่หลากหลาย เรี ยงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ขอมูลสารสนเทศในการอ้างอิง ผลิตผลงานของ ้ ตนเองในรู ปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผูอื่นและนามาพัฒนางาน ้ เขียนของตนเอง • ตั้งคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ อง ที่ฟังและ ิ ดู วิเคราะห์วตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่ องที่ฟังและดู ประเมินสิ่ งที่ฟังและดู ั แล้วนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวต มีทกษะการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ น ิ ั ทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด • เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิ พลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและกลุ่มคาสร้าง ประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ ายและฉันท์ ใช้ภาษาได้ เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คาราชาศัพท์และคาสุ ภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ สร้างคาใน ภาษาไทย อิทธิ พลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจาก สื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ • วิเคราะห์วจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู ้และเข้าใจลักษณะ ิ เด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ใน ชีวตจริ ง ิ
  • 17. ~ 17 ~ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้ กระบวนการอ่ านสร้ างความรู้ และความคิด เพือนาไปใช้ ตัดสิ นใจ แก้ ปัญหาในการ ่ ดาเนินชีวตและมีนิสัยรักการอ่าน ิ ตัวชี้วดชั้นปี ั ตัวชี้วดช่วงชั้น ั ม. ๑ ม. ๒ ม. ๒ ม. ๔ – ม. ๖ ๑. อ่านออกเสี ยง ๑. อ่านออกเสี ยง ๑. อ่านออกเสี ยง ๑. อ่านออกเสี ยงบทร้อย บทร้อยแก้ว บทร้อยแก้วและบทร้อย บทร้อยแก้วและบทร้อย แก้ว และบท กรอง กรองได้ถูกต้องและ และบทร้อยกรองได้ ร้อยกรอง ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน อย่างถูกต้อง ได้ถูกต้อง ๒. จับใจความ ๒. ระบุความ ไพเราะ และเหมาะสม เหมาะสม สาคัญ แตกต่างของคา กับเรื่ อง ที่อ่าน กับเรื่ องที่อ่าน สรุ ปความ ที่มีความหมาย ๒. ตีความ แปลความ ๒. จับใจความ และอธิบาย โดยตรง และ และขยายความเรื่ องที่ สาคัญจากเรื่ อง รายละเอียด ความหมาย อ่าน ที่อ่าน จากเรื่ องที่อ่าน โดยนัย ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์ ๓. ระบุเหตุ ๓. เขียน ๓. ระบุใจความสาคัญ เรื่ อง และผล และ ผังความคิด และรายละเอียด ที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่าง ข้อเท็จจริ ง เพื่อแสดงความเข้าใจใน ของข้อมูล ที่ มีเหตุผล กับข้อคิดเห็น บทเรี ยนต่างๆ สนับสนุน จากเรื่ องที่ ๔. คาดคะเนเหตุการณ์ จากเรื่ องที่อ่าน ที่อ่าน อ่าน จากเรื่ อง ๔. ระบุ ๔. อภิปรายแสดงความ ๔. อ่านเรื่ อง ที่อ่าน และประเมินค่า และอธิบาย คิดเห็น และข้อ ต่างๆ แล้วเขียน เพื่อนาความรู้ ความคิด คาเปรี ยบเทียบ โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่ กรอบแนวคิด ไปใช้ตดสิ นใจแก้ปัญหา ั และคาที่มี อ่าน ผังความคิด ในการดาเนินชีวต ิ หลายความหมาย ๕. วิเคราะห์ บันทึก ย่อความ ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ ในบริ บทต่างๆ และจาแนก และรายงาน แสดงความคิดเห็น จากการอ่าน ข้อเท็จจริ ง ๕. วิเคราะห์ โต้แย้งกับเรื่ องที่อาน่ ๕. ตีความคายาก ใน ข้อมูลสนับสนุน วิจารณ์ และ และเสนอความคิดใหม่ เอกสารวิชาการ และข้อคิดเห็น ประเมินเรื่ อง อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากบริ บท จากบทความ ที่อ่านโดยใช้ ๖. ตอบคาถามจากการ ๖. ระบุ ที่อ่าน กลวิธีการ อ่าน ข้อสังเกต ๖. ระบุ เปรี ยบเทียบ ประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่
  • 18. ~ 18 ~ และความ ข้อสังเกต เพื่อให้ผอ่าน ู้ กาหนด สมเหตุสมผล การชวนเชื่อ เข้าใจได้ดีข้ ึน ๗. อ่านเรื่ องต่างๆ แล้ว ของงานเขียน การโน้มน้าว หรื อความ ๖. ประเมิน เขียน ประเภทชักจูง สมเหตุสมผลของงาน ความถูกต้อง กรอบแนวคิด ผัง โน้มน้าวใจ เขียน ของข้อมูล ความคิด บันทึก ย่อความ ๗. ปฏิบติตาม ั ๗. อ่านหนังสื อ ที่ใช้สนับสนุน และรายงาน คู่มือแนะนา บทความหรื อ ในเรื่ องที่อ่าน ๘. สังเคราะห์ความรู้จาก วิธีการใช้งาน คาประพันธ์ ๗. วิจารณ์ความ การอ่าน ของเครื่ องมือ อย่างหลากหลาย สมเหตุสมผล สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อ หรื อเครื่ องใช้ในระดับที่ และประเมิน การลาดับความและความ อิเล็กทรอนิกส์ ยากขึ้น คุณค่าหรื อ เป็ นไปได้ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ ๘. วิเคราะห์คุณค่าที่ แนวคิดที่ได้ ของเรื่ อง มาพัฒนา ได้รับจากการอ่าน จากการอ่าน ๘. วิเคราะห์เพื่อ ตน พัฒนาการเรี ยน และ งานเขียนอย่าง เพื่อนาไปใช้ แสดงความ พัฒนา หลากหลาย แก้ปัญหาในชีวต ิ คิดเห็นโต้แย้ง ความรู้ทางอาชีพ เพื่อนาไปใช้ ๘. มีมารยาท เกี่ยวกับเรื่ องที่ ๙. มีมารยาทในการอ่าน แก้ปัญหาในชีวต ิ ในการอ่าน อ่าน ๙. มีมารยาท ๙. ตีความและ ในการอ่าน ประเมินคุณค่า และแนวคิด ที่ได้จาก งานเขียน อย่างหลากหลาย เพื่อนาไปใช้ แก้ปัญหาในชีวต ิ ๑๐ มีมารยาทในการอ่าน
  • 19. ~ 19 ~ สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้ กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รู ปแบบต่ างๆเขียนรายงานข้ อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้ นคว้ าอย่ างมี ประสิ ทธิภาพ ตัวชี้วดชั้นปี ั ตัวชี้วดช่วงชั้น ั ม. ๑ ม. ๒ ม. ๒ ม. ๔ – ม. ๖ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. เขียนสื่ อสารใน ตัวบรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง รู ปแบบต่างๆ ครึ่ งบรรทัด ครึ่ งบรรทัด ครึ่ งบรรทัด ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ๒. เขียนสื่ อสาร ๒. เขียน ๒. เขียน โดยใช้ โดยใช้ถอยคา ้ บรรยาย ข้อความโดยใช้ ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มี ถูกต้อง ชัดเจน และพรรณนา ถ้อยคาได้ถูกต้องตาม ข้อมูล เหมาะสม และ ๓. เขียน ระดับภาษา และสาระสาคัญชัดเจน สละสลวย เรี ยงความ ๓. เขียนชีวประวัติหรื อ ๒. เขียนเรี ยงความ ๓. เขียนบรรยาย ๔. เขียน อัตชีวประวัติ ๓. เขียนย่อความจากสื่ อ ประสบการณ์ ย่อความ โดยเล่า ที่มีรูปแบบ และเนื้อหา โดยระบุ ๕. เขียนรายงาน เหตุการณ์ หลากหลาย สาระสาคัญ การศึกษา ข้อคิดเห็น ๔. ผลิตงานเขียนของ และรายละเอียด ค้นคว้า และทัศนคติ ตนเอง สนับสนุน ๖. เขียน ในเรื่ องต่างๆ ในรู ปแบบต่างๆ ๔. เขียน จดหมายกิจธุ ระ ๔. เขียนย่อความ ๕. ประเมินงานเขียน เรี ยงความ ๗. เขียน ๕. เขียน ของผูอื่น ้ ๕. เขียน วิเคราะห์ จดหมายกิจธุ ระ แล้วนามาพัฒนางานเขียน ย่อความจาก วิจารณ์ และ ๖. เขียนอธิบาย ของตนเอง ่ เรื่ องที่อาน แสดงความรู้ ชี้แจง แสดง ๖. เขียนรายงาน ๖. เขียนแสดง ความคิดเห็น ความคิดเห็น การศึกษาค้นคว้า ความคิดเห็น หรื อโต้แย้ง และโต้แย้ง เรื่ องที่สนใจตาม เกี่ยวกับสาระ ในเรื่ องที่อ่าน อย่างมีเหตุผล หลักการเขียนเชิง จากสื่ อที่ได้รับ อย่างมีเหตุผล ๗. เขียน วิชาการ และใช้ขอมูล ้ ๗. เขียน ๘. มีมารยาท วิเคราะห์ วิจารณ์ สารสนเทศ จดหมายส่ วนตัว ในการเขียน และแสดงความรู้ อ้างอิงอย่างถูกต้อง และจดหมาย ความคิดเห็น ๗. บันทึกการศึกษา