SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
1 
การทาปฏิบัติการนอกสถานที่ Out room lab diagnosis 
รวบรวมโดย 
ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ 
ประกอบการออกหน่วยตรวจทางเทคนิคการแพทย์ ค่ายอาสาคณะสหเวชศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2551
2 
ประวัติผู้เรียบเรียง 
ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ (พี่เม) สหเวชฯ รุ่น 12 
-B.Sc. (Medical Technology) เกียรตินิยม , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :2549 
-นิสิตปริญญาเอก สหสาขาชีวเวชศาสตร์ (หน่วยโรคติดเชื้อ) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
ปี 2550 
-ทุนการศึกษาปริญญาเอก เฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ปีการศึกษา 2550 
-สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ปีการศึกษา 2549 
-สมาชิกสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย 
-Poster presentation งานประชุมสมาคมเทคนิคการแพทย์ จ. เชียงใหม่ 2550 
-Vaccine training project จากประเทศฝรั่งเศส : 2550 
-ประธานโครงการส่งเสริมความรู้ทางด้านเทคนิคการแพทย์ ประธานฝ่ายวิชาการรุ่น 12 
-ผลงานเอกสารคือ : Interesting topics in Medical Technology. 
E-mail : sriprapun.m@gmail.com
3 
พระดารัส 
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ 
ในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ประจาปี 2550 
เรื่อง เทคนิคการแพทย์ตามรอยพระยุคลบาท 
“เทคนิคการแพทย์ มีความสาคัญต่อการให้บริการสุขภาพอนามัย ทั้งในการตรวจรักษา 
วินิจฉัย ติดตามผลการรักษา ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ และแม้กระทั่งการส่งเสริมสุขภาพ” 
“ฝึกฝน อบรมตนให้มีคุณธรรม จริยธรรม 
และยึดมั่นในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ถ้าทุกคนทาได้ดังนี้ 
เชื่อว่าจักสามารถปฏิบัติบทบาทหน้าที่บริการสุขภาพอนามัย ให้ประสบผลสาเร็จได้โดยไม่ยาก 
ทั้งจะได้ชื่อว่าเป็นบุคลากรทางเทคนิคการแพทย์ที่ดีมี คุณภาพ” 
ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ 
วันพุธที่ 25 เมษายน 2550
4 
บทนา 
เอกสารนี้จัดทาเพื่อเป็นแนวทางและคู่มือฉบับย่อในการออกหน่วยทางเทคนิค การแพทย์ ซึ่งอาจมีข้อมูลไม่เพียงพอมาก แต่จะเป็นแนวทางในการที่จะบริหาร จัดการได้ เนื้อหาเพิ่มเติมนั้นสามารถอ่านต่อได้ในเอกสารอ้างอิง และคู่มือต่างๆที่ เกี่ยวข้องในเนื้อหาแต่ละส่วน โดยมีการปรับปรุงเนื้อหามาจากเอกสารที่ทาในค่าย อาสาปีที่ผ่านมา 
ขอบคุณอาจารย์ และ ที่มาที่ผู้เรียบเรียงอ้างอิงทุกๆ ท่าน และทุกๆ ที่ ที่ให้ผู้เรียบ เรียงใช้ข้อมูลในการศึกษานี้ อยากให้เอกสารนี้เป็นประโยชน์ในการออกหน่วยและ เป็นคู่มือย่อๆ สาหรับน้องๆ ทุกๆ คน ถ้ามีข้อผิดพลาดอะไรในเอกสารนี้ก็ขออภัย ไว้ ณ ที่นี้ด้วย 
จากใจผู้เรียบเรียง 
ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์
5 
การทาปฏิบัติการนอกสถานที่ 
เป็นการทาการทดสอบทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ที่มิได้ทา ในห้องปฏิบัติการทั่วไป ซึ่งโดยทั่วไปมักมีจุดประสงค์ในการไปที่เป็น การออกชนบท ออกตามหมู่บ้าน หรือทาในค่ายอาสาต่างๆ 
จุดสาคัญของการทาปฏิบัติการนอกสถานที่หรือการออกหน่วยนั้นมักเป็น การตรวจคัดกรองเบื้องต้น หรือให้คาแนะนาปัญหาสุขภาพเบื้องต้นแก่ คนไข้ เพื่อที่จะให้คนไข้ไปพบแพทย์ในโรงพยาบาลต่อไป โดยการ ตรวจนั้นจะใช้การทดสอบที่สามารถทาได้ง่าย รวดเร็ว เชื้อถือได้ และไม่ ซับซ้อนมากจนเกินไป
6 
การออกหน่วยทางสาธารณสุข 
•เป้าหมายคือ เป็นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค มากกว่าการรักษา โรค โดยจะเป็นการทาในเชิง Health promotion •โดยทั่วไปในชุมชนจะมี อสม., ผสส., สาธารณสุขประจาท้องถิ่นนั้น รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ ทางานร่วมกัน 
•ซึ่งการออกหน่วยนั้นในบางท้องถิ่นที่ห่างไกลจากสถานพยาบาลหลัก เช่น อนามัย โรงพยาบาลชุมชน จะมีความจาเป็นมาก
7 
การออกหน่วยของค่ายอาสาใน คณะทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ 
•รูปแบบการออกหน่วยขึ้นอยู่ว่าคณะที่ไปนั้นเป็นคณะใด เช่นถ้าเป็นคณะ แพทยศาสตร์ จะเน้นการตรวจคนไข้ 
•ในส่วนของคณะสหเวชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ จะเน้นการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการเบื้องต้นในการคัดกรองและประเมินสภาวะสุขภาพ เบื้องต้น •ผลการตรวจนั้นจะเป็นการตรวจที่ให้ผล “น่าจะ หรือคาดว่า” มิใช่การ บอกว่าเป็นโรคนั้นโรคนี้ 
•เครื่องมือและการทดสอบที่ใช้นั้นสามารถทาได้ง่าย รวดเร็ว และสะดวก
8 
ความรู้ที่จาเป็นต้องใช้ 
•ความรู้ทางด้านวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ ทางด้านเคมีคลินิก โลหิตวิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา ปราสิตวิทยา จุลทรร ศาสตร์คลินิก 
•ความรู้เรื่องการแปลผลทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น 
•ความรู้เบื้องต้นในโรคที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ 
•ความรู้ในการใช้ภาษา คาพูดในการอธิบายคนไข้ 
•ความรู้ในเรื่องมิตรภาพ ความเห็นอกเห็นใจ และมนุษยสัมพันธ์
9 
การวางแผนการออกหน่วยทางเทคนิคการแพทย์ 
•ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ในการออกหน่วยที่สาคัญ เช่น การจัดลาดับคิว คนไข้ การเขียน-การรับสิ่งส่งตรวจ การส่งสิ่งส่งตรวจ การเก็บสิ่งส่ง ตรวจ การตรวจ การรายงานผล และการอธิบายผลรวมถึงให้คาแนะนา ซึ่งอาจมีปัญหาในเรื่องการกาจัดของเสียที่ติดเชื้อ 
•ผู้ที่ทางานจะต้องมีการวางแผนงานที่ดี มีการจัดการที่เป็นระบบ จึงจะ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ 
•จานวนคนที่ใช้ในการทางาน ทุกคนต้องเข้าใจระบบงาน และสามารถ ทางานแทนกันได้ในกรณีที่บุคคลากรในจุดตรวจต่างๆ ไม่ครบ
10 
ข้อควรคานึงในการทาปฏิบัติการนอกสถานที่ 
•สวมถุงมือและเสื้อกาวน์ในการทาปฏิบัติการหรือการสัมผัสกับสิ่งส่ง ตรวจ 
•ระวังอย่าสลับสิ่งส่งตรวจ และไม่ใส่ถุงมือสัมผัสหรือจับต้องกับผู้ป่วย โดยไม่จาเป็น รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือส่วนปฏิบัติการของผู้ ทางานเอง 
•ให้ยึดหลัก Universal precaution เสมอ 
•เก็บ ทิ้ง ทาลายสิ่งติดเชื้อให้ถูกวิธี •การเจาะเลือดควรมี buddy อยู่ด้วยเพื่อช่วยเหลือกรณีมีปัญหา
11 
•วางแผนการใช้เลือดที่เจาะออกมาให้ดี 
•ใช้วาจาสุภาพ และใจเย็นกับคนไข้ 
•ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นอย่าตื่นตระหนก ให้ตั้งสติแล้วเรียกผู้มีประสบการณ์ มากกว่ามาช่วยเหลือ 
•ให้ยึดหลักที่ว่าคนที่มารับบริการตรวจจากเราคือญาติพี่น้องของเราเอง 
ข้อควรคานึงในการทาปฏิบัติการนอกสถานที่(ต่อ)
12 
การทดสอบที่สามารถทาได้ในการออกหน่วย 
•การตรวจหมู่เลือดอย่างง่ายโดยใช้วิธี slide test* 
•การตรวจระดับน้าตาลในเลือดโดยใช้เครื่องมือแบบ point-of- care test* 
•การตรวจหาไข่พยาธิ ตรวจอุจจาระ* 
•การตรวจปัสสาวะ* 
•การตรวจ hematocrit* 
•การตรวจโดยใช้ชุดตรวจสาเร็จรูปต่างๆ 
ในค่ายนี้จะอธิบายการตรวจในส่วนที่มีเครื่องหมาย*
13 
Blood group test 
•หมู่เลือดที่นิยมทาการตรวจคือ ABO และ Rh ในที่นี้จะเน้น ABO มากกว่าเพราะการอ่านผล Rh จะใช้เวลานาน 
•ความรู้ทั่วไปเรื่องหมู่เลือด ABO 
- คนที่มีแอนติเจน A เรียกหมู่เลือด A 
- คนมีแอนติเจน B เรียกหมู่เลือด B 
- คนมีแอนติเจน A และ B เรียกหมู่เลือด AB 
- คนไม่มีแอนติเจน A และ B เรียกหมู่ O
14 
•แอนติบอดี ของหมู่เลือด ABO มี 2 ชนิดคือ anti-A และ anti- B 
- คนหมู่ A มี anti-B 
- คนหมู่ B มี anti-A 
- คนหมู่ AB ไม่มี anti-A และ anti-B 
- คนหมู่ O มี anti-A และ anti-B 
•ปกติการตรวจทางห้องปฏิบัติการจริงๆ จะทาทั้ง cell grouping และ serum grouping โดยการปั่นอ่านแล้วให้เกรด ซึ่งจะ ให้ผลที่แน่นอนกว่า 
•การออกหน่วยจะเป็นการบอกเบื้องต้นเท่านั้นโดยใช้ slide test 
Blood group test(ต่อ)
15 
Slide test for blood group 
•เลือดที่ใช้ : เป็นเลือดจากปลายนิ้ว 
•น้ายาที่ใช้ คือ anti-A, anti-B และ anti-AB •อุปกรณ์ที่สาคัญ : แผ่นสไลด์ ไม้เล็กๆ เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว ถังขยะที่ มีถุงแดง ขวดทิ้งเข็มที่มีน้ายาฆ่าเชื้อ ที่ทิ้ง slide •อุปกรณ์เจาะเลือด : 70% alcohol สาลีสะอาด ถุงมือ เข็มเจาะ เลือด
16 
วิธีการทาการตรวจ 
•นิ้วที่เจ่ะควรเป็นนิ้วนางข้างที่ไม่ได้ใช้งานบ่อย ก่อนเจาะให้เช็ดด้วย 70% alcohol รอให้แห้ง จึงทาการเจาะเลือด 
•เช็ดเลือดครั้งแรกทิ้งไปก่อน จากนั้นปล่อยให้เลือดไหลแบบ free- flow เพื่อป้องกัน fluid จาก tissue มา neutralizing น้ายาตรวจของเรา พยายามอย่าบีบเค้นเลือดมาก 
•แตะเลือดลงบน slide 3 จุดจุดละ 1 หยดให้เท่าๆ กัน 
•ใช้สาลีสะอาดปิดรอยเจาะที่นิ้วคนไข้ ให้คนไข้กดสาลีไว้เบาๆ •ทาการทดสอบหมู่เลือดโดยหยดน้ายา anti-A, anti-B และ anti-AB
17 
•ใช้ไม้เล็กๆ ลากน้ายาที่หยดข้างๆ หยดเลือดมาผสมกับเลือดที่เราหยดไว้ สังเกตการตกตะกอนและการแปลผลหมู่เลือดต่อไป 
anti-A anti-B anti-AB
18 
ตารางการแปลผลหมู่เลือด 
Anti-A 
Anti-B 
Anti-AB 
Result 
+ 
- 
+ 
A 
- 
+ 
+ 
B 
+ 
+ 
+ 
AB 
- 
- 
- 
O 
+ ให้ผลตกตะกอนเมื่อหยดน้ายาทดสอบ 
- ไม่ตกตะกอนเมื่อหยดน้ายาทดสอบ
19 
ข้อควรระวัง 
•ระวังอย่าให้เลือดแห้งก่อนทาการหยดน้ายาตรวจ 
•ถ้าต้องการใช้เลือดนั้นตรวจระดับน้าตาลในเลือดให้เอาเลือดเข้ายังแถบ ตรวจน้าตาลก่อนจึงทาการตรวจหมู่เลือด 
•ถ้าผลไม่ชัดเจนควรทาการขอตรวจใหม่ หรือดูเทียบกับข้อมูลเดิมในบัตร ประชาชนคนไข้ว่าตรงหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้ขอตรวจใหม่ หรือแนะนา คนไข้ให้ไปตรวจอีกครั้งที่โรงพยาบาล ห้ามบอกว่าการทดสอบของเรา ถูกต้องที่สุดกับคนไข้ กรณีผลการตรวจไม่ตรงกัน เพราะการตรวจนี้เป็น การตรวจที่ไม่ใช่วิธีมาตรฐาน เป็นเพียง screening เท่านั้น
20 
การตรวจระดับน้าตาลในเลือด 
•เป็นการตรวจหาระดับของน้าตาลในเลือดในคนไข้เพื่อใช้ประเมิน สภาวะความผิดปกติของ carbohydrate metabolism 
•วิธีที่เป็นวิธีมาตรฐานในห้องปฏิบัติการคือ glucose oxidase 
•ในการออกหน่วยตรวจส่วนมากจะเป็นการใช้แถบตรวจระดับน้าตาลใน เลือด 
•ผลที่ได้เป็นการประเมินสภาวะความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน เบื้องต้นเท่านั้น 
•ในการใช้เครื่องมือควรยึดตามคู่มือของแต่ละบริษัทที่ใช้
21 
การเตรียมตัวก่อนมาตรวจระดับน้าตาลในเลือด 
•ให้งดอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้าตาล ชา กาแฟ แอลกอฮอล์ก่อนทาการ ตรวจ 6-8 ชั่วโมง 
•สามารถดื่มน้าเปล่าได้ 
•ทาจิตใจให้สบาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวล 
•ควรงดกิจกรรมหรือทางานหนักก่อนมาเจาะเลือดวัดระดับน้าตาลใน เลือด
22 
นิยามค่าการตรวจน้าตาลในเลือด 
•ถ้าผู้ป่วยงดอาหารมาค่าที่ได้จะเรียกว่า FBS หรือ fasting blood sugar ซึ่งเป็นค่าที่ใช้ประเมินสภาวะได้มีประสิทธิภาพ กว่า •ถ้าผู้ป่วยไมได้อดอาหารมา ค่านั้นจะเรียกว่า Blood sugar หรือ random blood sugar 
•ดังนั้นเมื่อเห็นค่าของระดับน้าตาลในเลือดที่ผิดปกติ จึงควรซักถาม คนไข้ก่อนว่า ได้อดอาหารมาก่อนตรวจหรือไม่
23 
การแปรผลการตรวจระดับน้าตาลในเลือด 
•ค่าปกติของ fasting blood sugar: 75-115 mg/dl •Random blood sugar ค่าปกติไม่ควรเกิน 200 mg/dl •ถ้าคนไข้มีระดับน้าตาลต่ากว่า 45 mg/dl จะเรียกภาวะน้าตาลในเลือด ต่า หรือ hypoglycemia
24 
ข้อควรระวังและคานึง 
•การที่ผู้ป่วยมีระดับน้าตาลเกิน ไม่ได้บอกว่าผู้ป่วยเป็นเบาหวาน เพราะ ต้องอาศัยการตรวจอีกครั้งหนึ่ง และการตรวจยืนยันอื่นๆ นอกเหนือจาก นี้ ในที่นี้คือการประเมินความเสี่ยงเท่านั้น 
•อย่าให้เลือดแข็งตัวก่อนจะหยดลงบนแถบตรวจเพราะจะทาให้อ่านผล ไม่ได้ 
•ค่าระดับน้าตาลนั้นจะแสดงที่เครื่องตรวจเลย 
•ควรใช้แถบตรวจที่มีรหัสตรงกับเครื่องตรวจ เพื่อให้ได้ผลการตรวจที่น่า เชื้อถือมากขึ้น
25 
Hematocrit screening 
•การวัดค่าของ hematocrit นั้นเป็นการดูระดับของเม็ดเลือดแดง อัดแน่นต่อปริมาตรเลือดทั้งหมดใน tube ที่ตรวจนั้น โดยคิดเป็น% 
•อีกนัยคือ เป็นการหาความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอัดแน่นในปริมาตร ของเลือดทั้งหมด การรายงานผลจะบอกเป็น % •ประโยชน์ จะช่วยในการวินิจฉัยภาวะโรคโลหิตจาง(anemia) โดย บอกถึงปริมาณของเม็ดเลือดแดงที่อยู่ในร่างกายเราว่ามีปริมาณมากน้อย เพียงใด
26 
Hematocrit 
•โดยทั่วไปจะมีวิธีการตรวจ 2 แบบคือ 
1. Macrohematocrit จะใช้หลอดที่เรียกว่า wintrobe tube 
2. Microhematocrit จะใช้หลอดแก้ว capillary ซึ่งจะมี 2 แบบ โดยต่างกันที่แถบสีข้างหลอด ถ้ามีแถบสีแดงแสดงว่ามีสารกัน เลือดแข็งประเภท heparin แต่ถ้าแถบน้าเงินแสดงว่าไม่มีสารกัน เลือดแข็ง 
* ในที่นี้จะกล่าวถึง microhematocrit โดยต้องใช้หลอดที่มีแถบสี แดง เพราะเลือดนั้นเจาะมาจากปลายนิ้ว
27 
อุปกรณ์ในการปั่น hematocrit 
•Capillary ที่มีแถบสีแดง •เครื่องปั่น hematocrit จะทาการปั่นที่ 12,000-15,000g เป็นเวลา 5 นาที 
•Hematocrit reader 
•ดินน้ามันอุดหลอด capillary
28 
วิธีการเก็บเลือด 
•เช็ดบริเวณเจาะเลือดด้วย 70% alcohol จากนั้นเจาะเลือดโดยเช็ด เลือดหยดแรกทิ้งไป •ค่อยๆ ให้เลือดไหลเข้าในหลอดแก้ว capillary ให้ได้ปริมาตร ประมาณ 2/3 ถึง ¾ ของหลอด จากนั้นอุดปลายข้างหนึ่งด้วยดินน้ามัน เฉพาะ •นาไปปั่นที่เครื่องปั่น hematocrit ต้องปิดฝาทุกครั้งและ balance หลอดให้ดี ระวังอย่าสับหลอดหรือตาแหน่งปั่นของ คนไข้ 
•นามาอ่านผลโดยใช้ hematocrit reader
29 
การอ่านผล 
ลักษณะของหลอดที่ปั่นแล้ว จะมีส่วนต่างๆ ดังในภาพ การอ่านนั่นจะให้แถบอ่านหรือ เส้นที่ตัดผ่านหลอดแก้วนั้นอยู่ในระดับ ลูกศร อย่าอ่านชั้น buffy coat ไปด้วย เพราะทาให้ค่าผิดพลาดได้ 
•การวาง tube ในแท่นอ่านให้ขีดดาที่บริเวณ ที่วาง tube ตรงกับขอบของดินน้ามันที่อุด ที่แสดงในลูกศร 2 เส้น
30 
การอ่านและแปรผล 
•ถ้าไม่มีเครื่องอ่าน อาจใช้ไม้บรรทัดวัดแล้วคานวณตามสูตร 
ค่า hematocrit(%) = ความสูงของ Pack red cells 
ความสูงของ whole blood 
X 100 
ค่าปกติ 
ผู้ชาย 40-54 % 
ผู้หญิง 37-47 % 
เด็ก 31-43 % 
ทารก 30-40 % 
แรกเกิด 44-64 % 
ตั้งครรภ์ 30-44 %
31 
การตรวจปัสสาวะเบื้องต้น (Urine examination) 
•เป็นการตรวจดูส่วนประกอบต่างๆ ในปัสสาวะ ซึ่งมีประโยชน์ในการ ช่วยวินิจฉัยโรค บอกความรุนแรงของโรค ช่วยในการรักษาและติดตาม การดาเนินของโรคโดยเฉพาะโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ และโรค อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นโรคตับ โรคเบาหวาน •การตรวจนั้นจะมีทั้ง macroscopic และ microscopic examination ซึ่งในการออกหน่วยนั้นมักทาแบบ macroscopic examination จะสะดวกกว่า และจากนั้น จึงใช้แถบตรวจปัสสาวะในการตรวจคัดกรองเบื้องต้นเช่นกัน
32 
การเก็บปัสสาวะ 
•ควรเก็บใส่กระบอกหรือภาชนะที่สะอาดมีฝาปิดมิดชิด และเขียนชื่อ ผู้ป่วยชัดเจน •การเก็บควรเก็บปัสสาวะช่วงกลางในการตรวจ(mid stream) โดยให้ถ่ายปัสสาวะช่วงแรกทิ้งไปก่อน จากนั้นจึงนาภาชนะมารองรับ ปัสสาวะช่วงกลาง โดยเก็บประมาณ 10-15 ml •ควรนาส่งตรวจทันที ไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง อาจให้คนไข้เก็บปัสสาวะที่ หน่วยตรวจได้เลย ถ้าเก็บมาจากบ้าน ควรเก็บไว้ที่ 2-8 องศาเซลเซียส แต่ ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง
33 
Urine examination 
•การดูสีปัสสาวะ ควรรายงานด้วยว่าปัสสาวะมีสีอะไร และมีสิ่งเจือปน อะไรบ้างออกมาในปัสสาวะจากการมองด้วยตาเปล่า 
•ดูความขุ่น (turbidity) 
•กลิ่น( odor) 
•จากนั้นจึงนาแถบตรวจปัสาสวะมาจุ่มลงในปัสสาวะ จากนั้นซับให้ หมาด อ่านผลโดยเทียบกับข้างขวดที่เก็บแถวตรวจ จากนั้นรายงานผล การตรวจตามแถบตรวจนั้นๆ •การอ่านไม่ควรทิ้งไว้เกิน 1 นาที เพราะอาจเกิดสีผิดพลาดบนแถบตรวจ จนแปลผลผิดได้
34 
ลักษณะแถบตรวจปัสสาวะ
35 
การแปลผลการตรวจปัสสาวะเบื้องต้น 
•Color ค่าปกติคือ yellow or Straw yellow 
•ค่าผิดปกติ 
แดง/แดงปนน้าตาล อาจมีเม็ดเลือดแดงปนออกมา (hematuria) อาจต้องถามคนไข้ 
ว่ามีประจาเดือนหรือไม่ 
เหลืองปนน้าตาล/ปนเขียว อาจมีน้าดีปนออกมาจากโรคตับหรือโรค ทางเดินน้าดี 
ส้ม/ชาแก่ เกิดจากมี urobilin จานวนมาก 
ดา/น้าตาลดา มี hemogenesic หรือ melanin ปนออกมา 
ขาวขุ่นคล้ายน้านม เกิดจากไขมัน ,chyle(Lymph),bacteria หรือมี เม็ดเลือดขาวปนออกมา
36 
•ปกติ : clear 
•ผิดปกติ ความขุ่นอาจเกิดจาก 
1. pyuria มีเม็ดเลือดขาวปน 
2. Bacterinuria มีเชื้อแบคทีเรียปน 
3. Lipiduria มีไขมันปน 
4. Chyluria มี chyle ปน 
5. Hematuria มีเม็ดเลือดแดงปน 
Turbidity(ความขุ่น)
37 
Odor (บอกกลิ่นที่พบ) 
•ปกติ : กลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ กลิ่น Aromatic อ่อนๆ 
•ผิดปกติ 
-กลิ่นเหม็น เกิดจากการมี fermentation ของ bacteria 
-fruity odor พบในโรคเบาหวาน 
-Maple syrup เกิดจาการขับกรดอะมิโนออกมามากผิดปกติ 
-Fecal order อาจมีทางทะลุ(fistula) ระหว่างลาไส้ใหญ่กับ กระเพาะปัสสาวะ
38 
ข้อควรพิจารณา 
•เมื่อพบปัสสาวะมีสี หรือ กลิ่นผิดปกติ ควรสอบถามคนไข้ก่อนว่าได้ ทานยา หรืออาหารอะไรมา ทานเป็นประจาหรือไม่ ก่อนการแปรผล เพราะอาหารหรือยาบางชนิดที่ผู้ป่วยทานอาจมีผลต่อสี กลิ่น และ ลักษณะของปัสสาวะที่ส่งตรวจได้ 
•เมื่อรับสิ่งส่งตรวจจากคนไข้ ถ้าเป็นสิ่งที่คนไข้นามาจากบ้านเอง ควร ถามว่าเก็บปัสสาวะไว้ที่ไหน เพราะถ้าเก็บในภาวะหรืออุณหภูมิที่ไม่ เหมาะสมอาจมีผลต่อค่าการตรวจได้
39 
การแปลผลจากการตรวจทางเคมีโดยใช้แถบตรวจปัสสาวะ 
•ให้อ่านค่าเป็นระดับต่างๆ เทียบกับข้างขวดของแถบตรวจปัสสาวะ 
•ซึ่งในแถบตรวจจะมีการบอกค่าต่างๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณหรือชนิดแถบตรวจ เช่น 
- pH - Urobilinogen 
- Leukocyte 
- Nitrite ดูว่าติดเชื้อ bacteria ออกมาในปัสสาวะหรือไม่ 
- glucose 
- Ketone ดูเมทาบอลึซึมของไขมัน 
- protein 
- blood 
-hemoglobin 
- Bilirubin
40 
Stool examination 
•เป็นการตรวจอุจจาระเพื่อดูความผิดปกติ ของอุจจาระว่ามีสิ่งเจือปน อะไรออกมา ดูการติดเชื้อปาราสิต รวมถึงใช้ในการช่วยวินิจฉัย ติดตาม การรักษา รวมถึงประเมินสภาวะของระบบขับถ่าย ระบบทางเดินอาหาร ในร่างกายผู้ป่วยได้ 
•ในการออกหน่วยนั้นจุดประสงค์หลักคือ การตรวจหาไข่พยาธิ และตัว อ่อนของพยาธิ •การตรวจนั้นต้องอาศัยทั้ง macroscopic และ microscopic examination
41 
อุปกรณ์สาคัญในการตรวจอุจจาระ 
•กล้องจุลทรรศน์ 
•ภาชนะเก็บอุจจาระ 
•แผ่นไสลด์ พร้อม cover slip 
•ไม้ลูกชิ้น 
• 0.85-0.90% NSS (สารละลาย NaCl) 
•Lugol’s iodine
42 
คาแนะนาในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ 
•เก็บในภาชนะที่จัดให้ เก็บขนาดเท่าประมาณนิ้วหัวแม่มือ 
•ระวังอย่าให้ปัสสาวะหรือน้าปะปนมา 
•ถ้าพบว่ามีสิ่งแปลกปลอมออกมา เช่นมูกเลือด ตัวพยาธิ ให้เก็บมาส่งด้วย 
•เขียนชื่อติดภาชนะให้ชัดเจน •ถ้านาส่งไม่ได้ให้เก็บที่ 2-8 องศาเซลเซียส แล้วรีบนาส่งห้องปฏิบัติการ
43 
Macroscopic examination 
•ให้ดูสี 
•ดูความหนืด (consistency) 
•กลิ่น 
•ถ้าพบอะไรผิดปกติในอุจจาระให้รายงานด้วย
44 
Color 
•Black tarry stool : upper GI bleeding •Bright red bleeding : ริดสีดวงทวารแตก เลือดออกใน ทางเดินอาหาร 
•Clay color : มีการอุดตันในท่อทางเดินน้าดี 
•Yellow or brown : ปกติ
45 
Consistency 
•Soft : อุจจาระอ่อนนุ่ม 
•Hard : เป็นก้อนแข็ง 
•Watery : มีการถ่ายเป็นน้า •Mucous mixed with stool: มีมูกปน บ่งบอกถึงลาไส้ อักเสบ •Mucous on exterior of stool มูกแยกออกมาจาก อุจจาระ การอักเสบของลาไส้ใหญ่ 
•Pus
46 
Microscopic examination 
•หยด NSS ลงบนแผ่นสไลด์ 1 หยด •ใช้ไม้ป้ายอุจจาระมา smear ใน NSSระวังอย้าให้หนามากเกินไป และควรเลือกบริเวณที่มีมูกเลือดหรือพบความผิดปกติมาตรวจ •ถ้าต้องการดู protozoa ให้หยด iodine ที่เตรียมไว้มาช่วยดูได้ 
•ปิด cover slip ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ •นาไปดูใต้กล้องจุลทรรศน์หัว 10x ถ้าสงสัยว่าพบสิ่งแปลกปลอมให้ดูที่ หัว 40x 
•รายงานผลที่พบในการตรวจ
47 
•ควรรายงาน WBC และ RBC ถ้าตรวจพบโดยรายงานต่อ HPF หรือหัว 40x •เมื่อดูเสร็จให้ทิ้ง slide ในน้ายาฆ่าเชื้อและในที่มิดชิด รวมถึงอุจจาระ ที่ตรวจแล้วควรทาลายอย่างถูกวิธีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค 
•ล้างมือทุกครั้งหลังตรวจเสร็จ
48 
การตรวจอย่างง่าย 
น้าเกลือ (NSS), Iodine
49 
พยาธิตัว แบน (Trematode) 
พยาธิใบไม้ตับ (Liver fluke) พยาธิใบไม้ลาไส้ขนาดกลาง (Echinostoma spp.) 
พยาธิใบไม้ลาไส้ขนาดเล็ก (Small intestinal fluke) 
พยาธิใบไม้ปอด (Lung fluke) 
พยาธิใบไม้เลือด (Blood fluke) 
พยาธิใบไม้ (Fluke) 
หนอนพยาธิที่พบบ่อยในประเทศไท
50 
พยาธิตืด 
พยาธิตืดหมู (Taenia solium) 
พยาธิตืดวัว (Taenia saginata) พยาธิตืดหนู (Hymenolepis diminuta) 
พยาธิตืดแคระ (Hymenolepis nana) 
หนอนพยาธิที่พบบ่อยในประเทศไทพยาธิตัว แบน (Cestode)
51 
Common egg parasites และพยาธิที่พบได้บ่อย 
•Ascaris lumbricoides พยาธิไส้เดือน 
•Necator americanus หรือ Hook worm พยาธิปากขอ 
•Enterobius vermicularis หรือ pin worm 
•Trichuris trichiura พยาธิแส้ม้า 
•Capillaria philippinensis 
•Opisthorchis viverrini 
•Taenia spp. 
•Hymenolepis nana (ตืดแคระ)
52 
•Hymenolepis diminuta (ตืดหนู) 
•Strongyloides stercolaris 
•Angiostrongylus cantonensis 
•Intestinal fluke 
•Echinostome spp. 
•Paragonimus westermani
53 
Common protozoas 
•Entamoeba histolytica 
•Entanmoeba coli 
•Giardia lamblia 
•Endolimax nana 
•Iodamoeba butschlii 
•Balantidium coli •ถ้าต้องการศึกาษต่อทั้งพยาธิและ protozoa อาจนา atlas parasitology ของ ศ.ประยงค์ ระดมยศ และคณะไปดูประกอบได้
54 
Decorticated Egg 
Adult 
Ascaris lumbricoides (พยาธิไส้เดือน) 
Fertilize Egg 
Infertilize Egg
55 
Egg 
Adult 
Hook worm(พยาธิปากขอ) : Necator americanus, Ancylostoma duodenale
56 
Egg : “D shape” 
Adult 
Enterobius vermicularis(พยาธิเข็มหมุด)
57 
Egg (Barrel’s shape) 
Adult 
Trichuris trichiura(พยาธิแส้ม้า)
58 
Egg 
“Bean shape” 
Adult 
Capillaria philippinensis
59 
Opisthorchis viverrini (พยาธิใบไม้ตับ) 
Operculate Egg คล้ายหลอดไฟ เหยือกน้า เม็ดแตงโม
60 
ปล้องสุก (Gravid proglotid) 
Egg 
Taenia saginata (Beef tapeworm:ตืดวัว)
61 
Taenia solium (Pork tapeworm:ตืดหมู) 
Cysticercosis 
Egg 
ปล้องสุก (Gravid progotid)
62 
Egg 
Adult 
Hymenolepis nana (ตืดแคระ)
63 
Hymenolepis diminuta (ตืดหนู) 
Egg 
Adult
64 
Strongyloides stercolaris
65 
Angiostrongylus cantonensis
66 
Minute Intestinal Fluke
67 
Echinostoma spp
68 
Operculate Egg 
Fasciolopsis buski 
Echinostoma spp 
Fasiola hepatica
69 
ตัวเต็มวัย(Adult) 
Egg 
•Paragonimus westermani 
•Paragonimus heterotremus 
Paragonimus westermani(พยาธิใบไม้ปอด)
70 
Entamoeba histolytica (Amoebiasis) (ต่อ)
71 
Entamoeba coli 
ไม่ก่อโรคในคน รูปร่าง กลม เคลื่อนไหวโดย ใช้ขาเทียม การติดต่อ กินระยะ cyst 8 N การวินิจฉัย ตรวจอุจาระ พบ cyst หรือ trophozoite
72 
Giardia lamblia (Giardiasis) 
รูปร่าง (morphology)
73 
Endolimax nana 
Trophozoite
74 
Iodamoeba butschlii 
cyst 
With iodine staining
75 
Balantidium coli
76
77 
การกาจัดขยะติดเชื้อ และของเสีย 
•ควรมีถุงแดงใส่ขยะติดเชื้อ และมีภาชนะที่มีฝาปิด และทนต่อของมีคม ในการใส่หัวเข็ม แผ่นสไลด์ที่ใช้แล้ว และ ไม้จิ้มลูกชิ้น รวมถึงวัสดุมีคม ต่างๆ •ในการฆ่าเชื้อใช้ 5% clorox เช็ดโต๊ะ หรือบริเวณที่สิ่งส่งตรวจหก ระวังอย่าให้ฟุ้ง 
•ควรมีถุงแดงตามจุดต่างๆ ให้คนไข้ทิ้งสาลีอุดเลือด รวมถึงทิ้งถุงมือใน การทาปฏิบัติการ 
•ล้างมือทุกครั้งหลังทาปฏิบัติการ 
•ส่งขยะให้มีการกาจัดที่ถูกต้อง และควรมัดปากถุงให้มิดชิด
78 
เอกสารอ้างอิง 
1.อ้อยทิพย์ ณ ถลาง.คู่มือปฏิบัติการธนาคารเลือด.ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า.2543. 
2.http://www.ams.cmu.ac.th/depts/amscenter/amscenter/article_bloodgroup.html 3.เมธี ศรีประพันธ์.Interesting topics in medical technology.2550. 4.ภาควิชาเคมีคลินิก คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คู่มือปฏิบัติการเคมีคลินิก 1.ปี การศึกษา 2548. 
5.www.chasesci.com . 
6.http://biology.clc.uc.edu/fankhauser/Labs/Anatomy_&_Physiology/A&P202/Blood/hematocrit_use/Hematocrit.htm
79 
เอกสารอ้างอิง(ต่อ) 
7. http://www.tamug.edu/labb/images/PCV.gif 
8. ภาควิชาจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.หลักปฏิบัติ เบื้องต้นทางโลหิตวิทยา.2547. 
9. ชวนพิศ วงศ์สามัญ, กล้าเผชิญ โชคบารุง.การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการพยาบาล. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.2547. 
10. http://www.sugarpet.net/urine.html 
11.http://www.mdsdx.com/MDS_Metro_Laboratories/Patients/MedicalConditions/Urinalysis.asp 
12. เอกสาร powerpoints เรื่อง Urine examination และ Stool examination จาก www.amtt.org 
13. อ้อยทิพย์ ณ ถลาง.การตรวจทางพยาธิวิทยาคลินิก.ภาควิชาพยาธิวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า.2546
80 
เอกสารอ้างอิง(ต่อ) 
14. แพทย์หญิงประภาศรี จงสุขสันติกุล.powerpoint ประกอบการบรรยายเรื่อง สถานการณ์โรคหนอนพยาธิในเประเทศไทย. 
15. ไชยา ก่องดวง. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (powerpoint).2004. 
16.http://th.kapook.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C 
17. http://mylesson.swu.ac.th/mb322/angiostrongylus.htm 
18. http://www.gsbs.utmb.edu/microbook/ch079.htm 
19. http://www.msu.edu/course/zol/316/ameba.htm 
20. http://home.austarnet.com.au/wormman/paraimg/enanact.jpg 
21. http://content.answers.com/main/content/wp/en/thumb/5/51/300px- Balantidium_coli_wet_mount.jpg 
22. http://aapredbook.aappublications.org/week/015_01.jpg

More Related Content

What's hot

Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 

What's hot (20)

22
2222
22
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 

Viewers also liked

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Mahidol University, Thailand
 
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มDoz Phatnut
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์Ann Ann
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดHummd Mdhum
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)Prachyanun Nilsook
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1Thayacup
 

Viewers also liked (20)

การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
PCR primer design
PCR primer designPCR primer design
PCR primer design
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
 
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
 
Bacteria identification
Bacteria identificationBacteria identification
Bacteria identification
 
Trematoda pbl8
Trematoda pbl8Trematoda pbl8
Trematoda pbl8
 
Entamoebas
EntamoebasEntamoebas
Entamoebas
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
Nemathelminthes review
Nemathelminthes reviewNemathelminthes review
Nemathelminthes review
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอดคู่มือฝากครภ์และการคลอด
คู่มือฝากครภ์และการคลอด
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
Taenia spp
Taenia sppTaenia spp
Taenia spp
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
 

Similar to การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)

Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Warunee Eauchai
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsNeung Arnat
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Dr. Obrom Aranyapruk
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 

Similar to การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis) (20)

(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013Clinical tracer highlight 2013
Clinical tracer highlight 2013
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
Ambulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditionsAmbulatory care sensitive conditions
Ambulatory care sensitive conditions
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
07
0707
07
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
 
Nurse workload
Nurse workloadNurse workload
Nurse workload
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 

More from Mahidol University, Thailand

How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityMahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2Mahidol University, Thailand
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"Mahidol University, Thailand
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงMahidol University, Thailand
 

More from Mahidol University, Thailand (11)

Pcr primer design english version
Pcr primer design english versionPcr primer design english version
Pcr primer design english version
 
How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificity
 
Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 
Principle of PCR
Principle of PCR Principle of PCR
Principle of PCR
 

การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)

  • 1. 1 การทาปฏิบัติการนอกสถานที่ Out room lab diagnosis รวบรวมโดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ ประกอบการออกหน่วยตรวจทางเทคนิคการแพทย์ ค่ายอาสาคณะสหเวชศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2551
  • 2. 2 ประวัติผู้เรียบเรียง ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ (พี่เม) สหเวชฯ รุ่น 12 -B.Sc. (Medical Technology) เกียรตินิยม , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย :2549 -นิสิตปริญญาเอก สหสาขาชีวเวชศาสตร์ (หน่วยโรคติดเชื้อ) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2550 -ทุนการศึกษาปริญญาเอก เฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ปีการศึกษา 2550 -สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ปีการศึกษา 2549 -สมาชิกสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย -Poster presentation งานประชุมสมาคมเทคนิคการแพทย์ จ. เชียงใหม่ 2550 -Vaccine training project จากประเทศฝรั่งเศส : 2550 -ประธานโครงการส่งเสริมความรู้ทางด้านเทคนิคการแพทย์ ประธานฝ่ายวิชาการรุ่น 12 -ผลงานเอกสารคือ : Interesting topics in Medical Technology. E-mail : sriprapun.m@gmail.com
  • 3. 3 พระดารัส พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ สมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ประจาปี 2550 เรื่อง เทคนิคการแพทย์ตามรอยพระยุคลบาท “เทคนิคการแพทย์ มีความสาคัญต่อการให้บริการสุขภาพอนามัย ทั้งในการตรวจรักษา วินิจฉัย ติดตามผลการรักษา ป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ และแม้กระทั่งการส่งเสริมสุขภาพ” “ฝึกฝน อบรมตนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และยึดมั่นในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ถ้าทุกคนทาได้ดังนี้ เชื่อว่าจักสามารถปฏิบัติบทบาทหน้าที่บริการสุขภาพอนามัย ให้ประสบผลสาเร็จได้โดยไม่ยาก ทั้งจะได้ชื่อว่าเป็นบุคลากรทางเทคนิคการแพทย์ที่ดีมี คุณภาพ” ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ วันพุธที่ 25 เมษายน 2550
  • 4. 4 บทนา เอกสารนี้จัดทาเพื่อเป็นแนวทางและคู่มือฉบับย่อในการออกหน่วยทางเทคนิค การแพทย์ ซึ่งอาจมีข้อมูลไม่เพียงพอมาก แต่จะเป็นแนวทางในการที่จะบริหาร จัดการได้ เนื้อหาเพิ่มเติมนั้นสามารถอ่านต่อได้ในเอกสารอ้างอิง และคู่มือต่างๆที่ เกี่ยวข้องในเนื้อหาแต่ละส่วน โดยมีการปรับปรุงเนื้อหามาจากเอกสารที่ทาในค่าย อาสาปีที่ผ่านมา ขอบคุณอาจารย์ และ ที่มาที่ผู้เรียบเรียงอ้างอิงทุกๆ ท่าน และทุกๆ ที่ ที่ให้ผู้เรียบ เรียงใช้ข้อมูลในการศึกษานี้ อยากให้เอกสารนี้เป็นประโยชน์ในการออกหน่วยและ เป็นคู่มือย่อๆ สาหรับน้องๆ ทุกๆ คน ถ้ามีข้อผิดพลาดอะไรในเอกสารนี้ก็ขออภัย ไว้ ณ ที่นี้ด้วย จากใจผู้เรียบเรียง ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์
  • 5. 5 การทาปฏิบัติการนอกสถานที่ เป็นการทาการทดสอบทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ที่มิได้ทา ในห้องปฏิบัติการทั่วไป ซึ่งโดยทั่วไปมักมีจุดประสงค์ในการไปที่เป็น การออกชนบท ออกตามหมู่บ้าน หรือทาในค่ายอาสาต่างๆ จุดสาคัญของการทาปฏิบัติการนอกสถานที่หรือการออกหน่วยนั้นมักเป็น การตรวจคัดกรองเบื้องต้น หรือให้คาแนะนาปัญหาสุขภาพเบื้องต้นแก่ คนไข้ เพื่อที่จะให้คนไข้ไปพบแพทย์ในโรงพยาบาลต่อไป โดยการ ตรวจนั้นจะใช้การทดสอบที่สามารถทาได้ง่าย รวดเร็ว เชื้อถือได้ และไม่ ซับซ้อนมากจนเกินไป
  • 6. 6 การออกหน่วยทางสาธารณสุข •เป้าหมายคือ เป็นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค มากกว่าการรักษา โรค โดยจะเป็นการทาในเชิง Health promotion •โดยทั่วไปในชุมชนจะมี อสม., ผสส., สาธารณสุขประจาท้องถิ่นนั้น รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์ ทางานร่วมกัน •ซึ่งการออกหน่วยนั้นในบางท้องถิ่นที่ห่างไกลจากสถานพยาบาลหลัก เช่น อนามัย โรงพยาบาลชุมชน จะมีความจาเป็นมาก
  • 7. 7 การออกหน่วยของค่ายอาสาใน คณะทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ •รูปแบบการออกหน่วยขึ้นอยู่ว่าคณะที่ไปนั้นเป็นคณะใด เช่นถ้าเป็นคณะ แพทยศาสตร์ จะเน้นการตรวจคนไข้ •ในส่วนของคณะสหเวชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ จะเน้นการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการเบื้องต้นในการคัดกรองและประเมินสภาวะสุขภาพ เบื้องต้น •ผลการตรวจนั้นจะเป็นการตรวจที่ให้ผล “น่าจะ หรือคาดว่า” มิใช่การ บอกว่าเป็นโรคนั้นโรคนี้ •เครื่องมือและการทดสอบที่ใช้นั้นสามารถทาได้ง่าย รวดเร็ว และสะดวก
  • 8. 8 ความรู้ที่จาเป็นต้องใช้ •ความรู้ทางด้านวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ทั่วไป ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ ทางด้านเคมีคลินิก โลหิตวิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา ปราสิตวิทยา จุลทรร ศาสตร์คลินิก •ความรู้เรื่องการแปลผลทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น •ความรู้เบื้องต้นในโรคที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ •ความรู้ในการใช้ภาษา คาพูดในการอธิบายคนไข้ •ความรู้ในเรื่องมิตรภาพ ความเห็นอกเห็นใจ และมนุษยสัมพันธ์
  • 9. 9 การวางแผนการออกหน่วยทางเทคนิคการแพทย์ •ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ในการออกหน่วยที่สาคัญ เช่น การจัดลาดับคิว คนไข้ การเขียน-การรับสิ่งส่งตรวจ การส่งสิ่งส่งตรวจ การเก็บสิ่งส่ง ตรวจ การตรวจ การรายงานผล และการอธิบายผลรวมถึงให้คาแนะนา ซึ่งอาจมีปัญหาในเรื่องการกาจัดของเสียที่ติดเชื้อ •ผู้ที่ทางานจะต้องมีการวางแผนงานที่ดี มีการจัดการที่เป็นระบบ จึงจะ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ •จานวนคนที่ใช้ในการทางาน ทุกคนต้องเข้าใจระบบงาน และสามารถ ทางานแทนกันได้ในกรณีที่บุคคลากรในจุดตรวจต่างๆ ไม่ครบ
  • 10. 10 ข้อควรคานึงในการทาปฏิบัติการนอกสถานที่ •สวมถุงมือและเสื้อกาวน์ในการทาปฏิบัติการหรือการสัมผัสกับสิ่งส่ง ตรวจ •ระวังอย่าสลับสิ่งส่งตรวจ และไม่ใส่ถุงมือสัมผัสหรือจับต้องกับผู้ป่วย โดยไม่จาเป็น รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือส่วนปฏิบัติการของผู้ ทางานเอง •ให้ยึดหลัก Universal precaution เสมอ •เก็บ ทิ้ง ทาลายสิ่งติดเชื้อให้ถูกวิธี •การเจาะเลือดควรมี buddy อยู่ด้วยเพื่อช่วยเหลือกรณีมีปัญหา
  • 11. 11 •วางแผนการใช้เลือดที่เจาะออกมาให้ดี •ใช้วาจาสุภาพ และใจเย็นกับคนไข้ •ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นอย่าตื่นตระหนก ให้ตั้งสติแล้วเรียกผู้มีประสบการณ์ มากกว่ามาช่วยเหลือ •ให้ยึดหลักที่ว่าคนที่มารับบริการตรวจจากเราคือญาติพี่น้องของเราเอง ข้อควรคานึงในการทาปฏิบัติการนอกสถานที่(ต่อ)
  • 12. 12 การทดสอบที่สามารถทาได้ในการออกหน่วย •การตรวจหมู่เลือดอย่างง่ายโดยใช้วิธี slide test* •การตรวจระดับน้าตาลในเลือดโดยใช้เครื่องมือแบบ point-of- care test* •การตรวจหาไข่พยาธิ ตรวจอุจจาระ* •การตรวจปัสสาวะ* •การตรวจ hematocrit* •การตรวจโดยใช้ชุดตรวจสาเร็จรูปต่างๆ ในค่ายนี้จะอธิบายการตรวจในส่วนที่มีเครื่องหมาย*
  • 13. 13 Blood group test •หมู่เลือดที่นิยมทาการตรวจคือ ABO และ Rh ในที่นี้จะเน้น ABO มากกว่าเพราะการอ่านผล Rh จะใช้เวลานาน •ความรู้ทั่วไปเรื่องหมู่เลือด ABO - คนที่มีแอนติเจน A เรียกหมู่เลือด A - คนมีแอนติเจน B เรียกหมู่เลือด B - คนมีแอนติเจน A และ B เรียกหมู่เลือด AB - คนไม่มีแอนติเจน A และ B เรียกหมู่ O
  • 14. 14 •แอนติบอดี ของหมู่เลือด ABO มี 2 ชนิดคือ anti-A และ anti- B - คนหมู่ A มี anti-B - คนหมู่ B มี anti-A - คนหมู่ AB ไม่มี anti-A และ anti-B - คนหมู่ O มี anti-A และ anti-B •ปกติการตรวจทางห้องปฏิบัติการจริงๆ จะทาทั้ง cell grouping และ serum grouping โดยการปั่นอ่านแล้วให้เกรด ซึ่งจะ ให้ผลที่แน่นอนกว่า •การออกหน่วยจะเป็นการบอกเบื้องต้นเท่านั้นโดยใช้ slide test Blood group test(ต่อ)
  • 15. 15 Slide test for blood group •เลือดที่ใช้ : เป็นเลือดจากปลายนิ้ว •น้ายาที่ใช้ คือ anti-A, anti-B และ anti-AB •อุปกรณ์ที่สาคัญ : แผ่นสไลด์ ไม้เล็กๆ เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว ถังขยะที่ มีถุงแดง ขวดทิ้งเข็มที่มีน้ายาฆ่าเชื้อ ที่ทิ้ง slide •อุปกรณ์เจาะเลือด : 70% alcohol สาลีสะอาด ถุงมือ เข็มเจาะ เลือด
  • 16. 16 วิธีการทาการตรวจ •นิ้วที่เจ่ะควรเป็นนิ้วนางข้างที่ไม่ได้ใช้งานบ่อย ก่อนเจาะให้เช็ดด้วย 70% alcohol รอให้แห้ง จึงทาการเจาะเลือด •เช็ดเลือดครั้งแรกทิ้งไปก่อน จากนั้นปล่อยให้เลือดไหลแบบ free- flow เพื่อป้องกัน fluid จาก tissue มา neutralizing น้ายาตรวจของเรา พยายามอย่าบีบเค้นเลือดมาก •แตะเลือดลงบน slide 3 จุดจุดละ 1 หยดให้เท่าๆ กัน •ใช้สาลีสะอาดปิดรอยเจาะที่นิ้วคนไข้ ให้คนไข้กดสาลีไว้เบาๆ •ทาการทดสอบหมู่เลือดโดยหยดน้ายา anti-A, anti-B และ anti-AB
  • 17. 17 •ใช้ไม้เล็กๆ ลากน้ายาที่หยดข้างๆ หยดเลือดมาผสมกับเลือดที่เราหยดไว้ สังเกตการตกตะกอนและการแปลผลหมู่เลือดต่อไป anti-A anti-B anti-AB
  • 18. 18 ตารางการแปลผลหมู่เลือด Anti-A Anti-B Anti-AB Result + - + A - + + B + + + AB - - - O + ให้ผลตกตะกอนเมื่อหยดน้ายาทดสอบ - ไม่ตกตะกอนเมื่อหยดน้ายาทดสอบ
  • 19. 19 ข้อควรระวัง •ระวังอย่าให้เลือดแห้งก่อนทาการหยดน้ายาตรวจ •ถ้าต้องการใช้เลือดนั้นตรวจระดับน้าตาลในเลือดให้เอาเลือดเข้ายังแถบ ตรวจน้าตาลก่อนจึงทาการตรวจหมู่เลือด •ถ้าผลไม่ชัดเจนควรทาการขอตรวจใหม่ หรือดูเทียบกับข้อมูลเดิมในบัตร ประชาชนคนไข้ว่าตรงหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้ขอตรวจใหม่ หรือแนะนา คนไข้ให้ไปตรวจอีกครั้งที่โรงพยาบาล ห้ามบอกว่าการทดสอบของเรา ถูกต้องที่สุดกับคนไข้ กรณีผลการตรวจไม่ตรงกัน เพราะการตรวจนี้เป็น การตรวจที่ไม่ใช่วิธีมาตรฐาน เป็นเพียง screening เท่านั้น
  • 20. 20 การตรวจระดับน้าตาลในเลือด •เป็นการตรวจหาระดับของน้าตาลในเลือดในคนไข้เพื่อใช้ประเมิน สภาวะความผิดปกติของ carbohydrate metabolism •วิธีที่เป็นวิธีมาตรฐานในห้องปฏิบัติการคือ glucose oxidase •ในการออกหน่วยตรวจส่วนมากจะเป็นการใช้แถบตรวจระดับน้าตาลใน เลือด •ผลที่ได้เป็นการประเมินสภาวะความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน เบื้องต้นเท่านั้น •ในการใช้เครื่องมือควรยึดตามคู่มือของแต่ละบริษัทที่ใช้
  • 21. 21 การเตรียมตัวก่อนมาตรวจระดับน้าตาลในเลือด •ให้งดอาหารและเครื่องดื่มที่มีน้าตาล ชา กาแฟ แอลกอฮอล์ก่อนทาการ ตรวจ 6-8 ชั่วโมง •สามารถดื่มน้าเปล่าได้ •ทาจิตใจให้สบาย ไม่เครียดหรือวิตกกังวล •ควรงดกิจกรรมหรือทางานหนักก่อนมาเจาะเลือดวัดระดับน้าตาลใน เลือด
  • 22. 22 นิยามค่าการตรวจน้าตาลในเลือด •ถ้าผู้ป่วยงดอาหารมาค่าที่ได้จะเรียกว่า FBS หรือ fasting blood sugar ซึ่งเป็นค่าที่ใช้ประเมินสภาวะได้มีประสิทธิภาพ กว่า •ถ้าผู้ป่วยไมได้อดอาหารมา ค่านั้นจะเรียกว่า Blood sugar หรือ random blood sugar •ดังนั้นเมื่อเห็นค่าของระดับน้าตาลในเลือดที่ผิดปกติ จึงควรซักถาม คนไข้ก่อนว่า ได้อดอาหารมาก่อนตรวจหรือไม่
  • 23. 23 การแปรผลการตรวจระดับน้าตาลในเลือด •ค่าปกติของ fasting blood sugar: 75-115 mg/dl •Random blood sugar ค่าปกติไม่ควรเกิน 200 mg/dl •ถ้าคนไข้มีระดับน้าตาลต่ากว่า 45 mg/dl จะเรียกภาวะน้าตาลในเลือด ต่า หรือ hypoglycemia
  • 24. 24 ข้อควรระวังและคานึง •การที่ผู้ป่วยมีระดับน้าตาลเกิน ไม่ได้บอกว่าผู้ป่วยเป็นเบาหวาน เพราะ ต้องอาศัยการตรวจอีกครั้งหนึ่ง และการตรวจยืนยันอื่นๆ นอกเหนือจาก นี้ ในที่นี้คือการประเมินความเสี่ยงเท่านั้น •อย่าให้เลือดแข็งตัวก่อนจะหยดลงบนแถบตรวจเพราะจะทาให้อ่านผล ไม่ได้ •ค่าระดับน้าตาลนั้นจะแสดงที่เครื่องตรวจเลย •ควรใช้แถบตรวจที่มีรหัสตรงกับเครื่องตรวจ เพื่อให้ได้ผลการตรวจที่น่า เชื้อถือมากขึ้น
  • 25. 25 Hematocrit screening •การวัดค่าของ hematocrit นั้นเป็นการดูระดับของเม็ดเลือดแดง อัดแน่นต่อปริมาตรเลือดทั้งหมดใน tube ที่ตรวจนั้น โดยคิดเป็น% •อีกนัยคือ เป็นการหาความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอัดแน่นในปริมาตร ของเลือดทั้งหมด การรายงานผลจะบอกเป็น % •ประโยชน์ จะช่วยในการวินิจฉัยภาวะโรคโลหิตจาง(anemia) โดย บอกถึงปริมาณของเม็ดเลือดแดงที่อยู่ในร่างกายเราว่ามีปริมาณมากน้อย เพียงใด
  • 26. 26 Hematocrit •โดยทั่วไปจะมีวิธีการตรวจ 2 แบบคือ 1. Macrohematocrit จะใช้หลอดที่เรียกว่า wintrobe tube 2. Microhematocrit จะใช้หลอดแก้ว capillary ซึ่งจะมี 2 แบบ โดยต่างกันที่แถบสีข้างหลอด ถ้ามีแถบสีแดงแสดงว่ามีสารกัน เลือดแข็งประเภท heparin แต่ถ้าแถบน้าเงินแสดงว่าไม่มีสารกัน เลือดแข็ง * ในที่นี้จะกล่าวถึง microhematocrit โดยต้องใช้หลอดที่มีแถบสี แดง เพราะเลือดนั้นเจาะมาจากปลายนิ้ว
  • 27. 27 อุปกรณ์ในการปั่น hematocrit •Capillary ที่มีแถบสีแดง •เครื่องปั่น hematocrit จะทาการปั่นที่ 12,000-15,000g เป็นเวลา 5 นาที •Hematocrit reader •ดินน้ามันอุดหลอด capillary
  • 28. 28 วิธีการเก็บเลือด •เช็ดบริเวณเจาะเลือดด้วย 70% alcohol จากนั้นเจาะเลือดโดยเช็ด เลือดหยดแรกทิ้งไป •ค่อยๆ ให้เลือดไหลเข้าในหลอดแก้ว capillary ให้ได้ปริมาตร ประมาณ 2/3 ถึง ¾ ของหลอด จากนั้นอุดปลายข้างหนึ่งด้วยดินน้ามัน เฉพาะ •นาไปปั่นที่เครื่องปั่น hematocrit ต้องปิดฝาทุกครั้งและ balance หลอดให้ดี ระวังอย่าสับหลอดหรือตาแหน่งปั่นของ คนไข้ •นามาอ่านผลโดยใช้ hematocrit reader
  • 29. 29 การอ่านผล ลักษณะของหลอดที่ปั่นแล้ว จะมีส่วนต่างๆ ดังในภาพ การอ่านนั่นจะให้แถบอ่านหรือ เส้นที่ตัดผ่านหลอดแก้วนั้นอยู่ในระดับ ลูกศร อย่าอ่านชั้น buffy coat ไปด้วย เพราะทาให้ค่าผิดพลาดได้ •การวาง tube ในแท่นอ่านให้ขีดดาที่บริเวณ ที่วาง tube ตรงกับขอบของดินน้ามันที่อุด ที่แสดงในลูกศร 2 เส้น
  • 30. 30 การอ่านและแปรผล •ถ้าไม่มีเครื่องอ่าน อาจใช้ไม้บรรทัดวัดแล้วคานวณตามสูตร ค่า hematocrit(%) = ความสูงของ Pack red cells ความสูงของ whole blood X 100 ค่าปกติ ผู้ชาย 40-54 % ผู้หญิง 37-47 % เด็ก 31-43 % ทารก 30-40 % แรกเกิด 44-64 % ตั้งครรภ์ 30-44 %
  • 31. 31 การตรวจปัสสาวะเบื้องต้น (Urine examination) •เป็นการตรวจดูส่วนประกอบต่างๆ ในปัสสาวะ ซึ่งมีประโยชน์ในการ ช่วยวินิจฉัยโรค บอกความรุนแรงของโรค ช่วยในการรักษาและติดตาม การดาเนินของโรคโดยเฉพาะโรคในระบบทางเดินปัสสาวะ และโรค อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นโรคตับ โรคเบาหวาน •การตรวจนั้นจะมีทั้ง macroscopic และ microscopic examination ซึ่งในการออกหน่วยนั้นมักทาแบบ macroscopic examination จะสะดวกกว่า และจากนั้น จึงใช้แถบตรวจปัสสาวะในการตรวจคัดกรองเบื้องต้นเช่นกัน
  • 32. 32 การเก็บปัสสาวะ •ควรเก็บใส่กระบอกหรือภาชนะที่สะอาดมีฝาปิดมิดชิด และเขียนชื่อ ผู้ป่วยชัดเจน •การเก็บควรเก็บปัสสาวะช่วงกลางในการตรวจ(mid stream) โดยให้ถ่ายปัสสาวะช่วงแรกทิ้งไปก่อน จากนั้นจึงนาภาชนะมารองรับ ปัสสาวะช่วงกลาง โดยเก็บประมาณ 10-15 ml •ควรนาส่งตรวจทันที ไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง อาจให้คนไข้เก็บปัสสาวะที่ หน่วยตรวจได้เลย ถ้าเก็บมาจากบ้าน ควรเก็บไว้ที่ 2-8 องศาเซลเซียส แต่ ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง
  • 33. 33 Urine examination •การดูสีปัสสาวะ ควรรายงานด้วยว่าปัสสาวะมีสีอะไร และมีสิ่งเจือปน อะไรบ้างออกมาในปัสสาวะจากการมองด้วยตาเปล่า •ดูความขุ่น (turbidity) •กลิ่น( odor) •จากนั้นจึงนาแถบตรวจปัสาสวะมาจุ่มลงในปัสสาวะ จากนั้นซับให้ หมาด อ่านผลโดยเทียบกับข้างขวดที่เก็บแถวตรวจ จากนั้นรายงานผล การตรวจตามแถบตรวจนั้นๆ •การอ่านไม่ควรทิ้งไว้เกิน 1 นาที เพราะอาจเกิดสีผิดพลาดบนแถบตรวจ จนแปลผลผิดได้
  • 35. 35 การแปลผลการตรวจปัสสาวะเบื้องต้น •Color ค่าปกติคือ yellow or Straw yellow •ค่าผิดปกติ แดง/แดงปนน้าตาล อาจมีเม็ดเลือดแดงปนออกมา (hematuria) อาจต้องถามคนไข้ ว่ามีประจาเดือนหรือไม่ เหลืองปนน้าตาล/ปนเขียว อาจมีน้าดีปนออกมาจากโรคตับหรือโรค ทางเดินน้าดี ส้ม/ชาแก่ เกิดจากมี urobilin จานวนมาก ดา/น้าตาลดา มี hemogenesic หรือ melanin ปนออกมา ขาวขุ่นคล้ายน้านม เกิดจากไขมัน ,chyle(Lymph),bacteria หรือมี เม็ดเลือดขาวปนออกมา
  • 36. 36 •ปกติ : clear •ผิดปกติ ความขุ่นอาจเกิดจาก 1. pyuria มีเม็ดเลือดขาวปน 2. Bacterinuria มีเชื้อแบคทีเรียปน 3. Lipiduria มีไขมันปน 4. Chyluria มี chyle ปน 5. Hematuria มีเม็ดเลือดแดงปน Turbidity(ความขุ่น)
  • 37. 37 Odor (บอกกลิ่นที่พบ) •ปกติ : กลิ่นแอมโมเนียอ่อนๆ กลิ่น Aromatic อ่อนๆ •ผิดปกติ -กลิ่นเหม็น เกิดจากการมี fermentation ของ bacteria -fruity odor พบในโรคเบาหวาน -Maple syrup เกิดจาการขับกรดอะมิโนออกมามากผิดปกติ -Fecal order อาจมีทางทะลุ(fistula) ระหว่างลาไส้ใหญ่กับ กระเพาะปัสสาวะ
  • 38. 38 ข้อควรพิจารณา •เมื่อพบปัสสาวะมีสี หรือ กลิ่นผิดปกติ ควรสอบถามคนไข้ก่อนว่าได้ ทานยา หรืออาหารอะไรมา ทานเป็นประจาหรือไม่ ก่อนการแปรผล เพราะอาหารหรือยาบางชนิดที่ผู้ป่วยทานอาจมีผลต่อสี กลิ่น และ ลักษณะของปัสสาวะที่ส่งตรวจได้ •เมื่อรับสิ่งส่งตรวจจากคนไข้ ถ้าเป็นสิ่งที่คนไข้นามาจากบ้านเอง ควร ถามว่าเก็บปัสสาวะไว้ที่ไหน เพราะถ้าเก็บในภาวะหรืออุณหภูมิที่ไม่ เหมาะสมอาจมีผลต่อค่าการตรวจได้
  • 39. 39 การแปลผลจากการตรวจทางเคมีโดยใช้แถบตรวจปัสสาวะ •ให้อ่านค่าเป็นระดับต่างๆ เทียบกับข้างขวดของแถบตรวจปัสสาวะ •ซึ่งในแถบตรวจจะมีการบอกค่าต่างๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณหรือชนิดแถบตรวจ เช่น - pH - Urobilinogen - Leukocyte - Nitrite ดูว่าติดเชื้อ bacteria ออกมาในปัสสาวะหรือไม่ - glucose - Ketone ดูเมทาบอลึซึมของไขมัน - protein - blood -hemoglobin - Bilirubin
  • 40. 40 Stool examination •เป็นการตรวจอุจจาระเพื่อดูความผิดปกติ ของอุจจาระว่ามีสิ่งเจือปน อะไรออกมา ดูการติดเชื้อปาราสิต รวมถึงใช้ในการช่วยวินิจฉัย ติดตาม การรักษา รวมถึงประเมินสภาวะของระบบขับถ่าย ระบบทางเดินอาหาร ในร่างกายผู้ป่วยได้ •ในการออกหน่วยนั้นจุดประสงค์หลักคือ การตรวจหาไข่พยาธิ และตัว อ่อนของพยาธิ •การตรวจนั้นต้องอาศัยทั้ง macroscopic และ microscopic examination
  • 41. 41 อุปกรณ์สาคัญในการตรวจอุจจาระ •กล้องจุลทรรศน์ •ภาชนะเก็บอุจจาระ •แผ่นไสลด์ พร้อม cover slip •ไม้ลูกชิ้น • 0.85-0.90% NSS (สารละลาย NaCl) •Lugol’s iodine
  • 42. 42 คาแนะนาในการเก็บอุจจาระส่งตรวจ •เก็บในภาชนะที่จัดให้ เก็บขนาดเท่าประมาณนิ้วหัวแม่มือ •ระวังอย่าให้ปัสสาวะหรือน้าปะปนมา •ถ้าพบว่ามีสิ่งแปลกปลอมออกมา เช่นมูกเลือด ตัวพยาธิ ให้เก็บมาส่งด้วย •เขียนชื่อติดภาชนะให้ชัดเจน •ถ้านาส่งไม่ได้ให้เก็บที่ 2-8 องศาเซลเซียส แล้วรีบนาส่งห้องปฏิบัติการ
  • 43. 43 Macroscopic examination •ให้ดูสี •ดูความหนืด (consistency) •กลิ่น •ถ้าพบอะไรผิดปกติในอุจจาระให้รายงานด้วย
  • 44. 44 Color •Black tarry stool : upper GI bleeding •Bright red bleeding : ริดสีดวงทวารแตก เลือดออกใน ทางเดินอาหาร •Clay color : มีการอุดตันในท่อทางเดินน้าดี •Yellow or brown : ปกติ
  • 45. 45 Consistency •Soft : อุจจาระอ่อนนุ่ม •Hard : เป็นก้อนแข็ง •Watery : มีการถ่ายเป็นน้า •Mucous mixed with stool: มีมูกปน บ่งบอกถึงลาไส้ อักเสบ •Mucous on exterior of stool มูกแยกออกมาจาก อุจจาระ การอักเสบของลาไส้ใหญ่ •Pus
  • 46. 46 Microscopic examination •หยด NSS ลงบนแผ่นสไลด์ 1 หยด •ใช้ไม้ป้ายอุจจาระมา smear ใน NSSระวังอย้าให้หนามากเกินไป และควรเลือกบริเวณที่มีมูกเลือดหรือพบความผิดปกติมาตรวจ •ถ้าต้องการดู protozoa ให้หยด iodine ที่เตรียมไว้มาช่วยดูได้ •ปิด cover slip ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ •นาไปดูใต้กล้องจุลทรรศน์หัว 10x ถ้าสงสัยว่าพบสิ่งแปลกปลอมให้ดูที่ หัว 40x •รายงานผลที่พบในการตรวจ
  • 47. 47 •ควรรายงาน WBC และ RBC ถ้าตรวจพบโดยรายงานต่อ HPF หรือหัว 40x •เมื่อดูเสร็จให้ทิ้ง slide ในน้ายาฆ่าเชื้อและในที่มิดชิด รวมถึงอุจจาระ ที่ตรวจแล้วควรทาลายอย่างถูกวิธีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค •ล้างมือทุกครั้งหลังตรวจเสร็จ
  • 49. 49 พยาธิตัว แบน (Trematode) พยาธิใบไม้ตับ (Liver fluke) พยาธิใบไม้ลาไส้ขนาดกลาง (Echinostoma spp.) พยาธิใบไม้ลาไส้ขนาดเล็ก (Small intestinal fluke) พยาธิใบไม้ปอด (Lung fluke) พยาธิใบไม้เลือด (Blood fluke) พยาธิใบไม้ (Fluke) หนอนพยาธิที่พบบ่อยในประเทศไท
  • 50. 50 พยาธิตืด พยาธิตืดหมู (Taenia solium) พยาธิตืดวัว (Taenia saginata) พยาธิตืดหนู (Hymenolepis diminuta) พยาธิตืดแคระ (Hymenolepis nana) หนอนพยาธิที่พบบ่อยในประเทศไทพยาธิตัว แบน (Cestode)
  • 51. 51 Common egg parasites และพยาธิที่พบได้บ่อย •Ascaris lumbricoides พยาธิไส้เดือน •Necator americanus หรือ Hook worm พยาธิปากขอ •Enterobius vermicularis หรือ pin worm •Trichuris trichiura พยาธิแส้ม้า •Capillaria philippinensis •Opisthorchis viverrini •Taenia spp. •Hymenolepis nana (ตืดแคระ)
  • 52. 52 •Hymenolepis diminuta (ตืดหนู) •Strongyloides stercolaris •Angiostrongylus cantonensis •Intestinal fluke •Echinostome spp. •Paragonimus westermani
  • 53. 53 Common protozoas •Entamoeba histolytica •Entanmoeba coli •Giardia lamblia •Endolimax nana •Iodamoeba butschlii •Balantidium coli •ถ้าต้องการศึกาษต่อทั้งพยาธิและ protozoa อาจนา atlas parasitology ของ ศ.ประยงค์ ระดมยศ และคณะไปดูประกอบได้
  • 54. 54 Decorticated Egg Adult Ascaris lumbricoides (พยาธิไส้เดือน) Fertilize Egg Infertilize Egg
  • 55. 55 Egg Adult Hook worm(พยาธิปากขอ) : Necator americanus, Ancylostoma duodenale
  • 56. 56 Egg : “D shape” Adult Enterobius vermicularis(พยาธิเข็มหมุด)
  • 57. 57 Egg (Barrel’s shape) Adult Trichuris trichiura(พยาธิแส้ม้า)
  • 58. 58 Egg “Bean shape” Adult Capillaria philippinensis
  • 59. 59 Opisthorchis viverrini (พยาธิใบไม้ตับ) Operculate Egg คล้ายหลอดไฟ เหยือกน้า เม็ดแตงโม
  • 60. 60 ปล้องสุก (Gravid proglotid) Egg Taenia saginata (Beef tapeworm:ตืดวัว)
  • 61. 61 Taenia solium (Pork tapeworm:ตืดหมู) Cysticercosis Egg ปล้องสุก (Gravid progotid)
  • 62. 62 Egg Adult Hymenolepis nana (ตืดแคระ)
  • 63. 63 Hymenolepis diminuta (ตืดหนู) Egg Adult
  • 68. 68 Operculate Egg Fasciolopsis buski Echinostoma spp Fasiola hepatica
  • 69. 69 ตัวเต็มวัย(Adult) Egg •Paragonimus westermani •Paragonimus heterotremus Paragonimus westermani(พยาธิใบไม้ปอด)
  • 70. 70 Entamoeba histolytica (Amoebiasis) (ต่อ)
  • 71. 71 Entamoeba coli ไม่ก่อโรคในคน รูปร่าง กลม เคลื่อนไหวโดย ใช้ขาเทียม การติดต่อ กินระยะ cyst 8 N การวินิจฉัย ตรวจอุจาระ พบ cyst หรือ trophozoite
  • 72. 72 Giardia lamblia (Giardiasis) รูปร่าง (morphology)
  • 73. 73 Endolimax nana Trophozoite
  • 74. 74 Iodamoeba butschlii cyst With iodine staining
  • 76. 76
  • 77. 77 การกาจัดขยะติดเชื้อ และของเสีย •ควรมีถุงแดงใส่ขยะติดเชื้อ และมีภาชนะที่มีฝาปิด และทนต่อของมีคม ในการใส่หัวเข็ม แผ่นสไลด์ที่ใช้แล้ว และ ไม้จิ้มลูกชิ้น รวมถึงวัสดุมีคม ต่างๆ •ในการฆ่าเชื้อใช้ 5% clorox เช็ดโต๊ะ หรือบริเวณที่สิ่งส่งตรวจหก ระวังอย่าให้ฟุ้ง •ควรมีถุงแดงตามจุดต่างๆ ให้คนไข้ทิ้งสาลีอุดเลือด รวมถึงทิ้งถุงมือใน การทาปฏิบัติการ •ล้างมือทุกครั้งหลังทาปฏิบัติการ •ส่งขยะให้มีการกาจัดที่ถูกต้อง และควรมัดปากถุงให้มิดชิด
  • 78. 78 เอกสารอ้างอิง 1.อ้อยทิพย์ ณ ถลาง.คู่มือปฏิบัติการธนาคารเลือด.ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏเกล้า.2543. 2.http://www.ams.cmu.ac.th/depts/amscenter/amscenter/article_bloodgroup.html 3.เมธี ศรีประพันธ์.Interesting topics in medical technology.2550. 4.ภาควิชาเคมีคลินิก คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คู่มือปฏิบัติการเคมีคลินิก 1.ปี การศึกษา 2548. 5.www.chasesci.com . 6.http://biology.clc.uc.edu/fankhauser/Labs/Anatomy_&_Physiology/A&P202/Blood/hematocrit_use/Hematocrit.htm
  • 79. 79 เอกสารอ้างอิง(ต่อ) 7. http://www.tamug.edu/labb/images/PCV.gif 8. ภาควิชาจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.หลักปฏิบัติ เบื้องต้นทางโลหิตวิทยา.2547. 9. ชวนพิศ วงศ์สามัญ, กล้าเผชิญ โชคบารุง.การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการพยาบาล. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.2547. 10. http://www.sugarpet.net/urine.html 11.http://www.mdsdx.com/MDS_Metro_Laboratories/Patients/MedicalConditions/Urinalysis.asp 12. เอกสาร powerpoints เรื่อง Urine examination และ Stool examination จาก www.amtt.org 13. อ้อยทิพย์ ณ ถลาง.การตรวจทางพยาธิวิทยาคลินิก.ภาควิชาพยาธิวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ พระมงกุฏเกล้า.2546
  • 80. 80 เอกสารอ้างอิง(ต่อ) 14. แพทย์หญิงประภาศรี จงสุขสันติกุล.powerpoint ประกอบการบรรยายเรื่อง สถานการณ์โรคหนอนพยาธิในเประเทศไทย. 15. ไชยา ก่องดวง. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (powerpoint).2004. 16.http://th.kapook.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C 17. http://mylesson.swu.ac.th/mb322/angiostrongylus.htm 18. http://www.gsbs.utmb.edu/microbook/ch079.htm 19. http://www.msu.edu/course/zol/316/ameba.htm 20. http://home.austarnet.com.au/wormman/paraimg/enanact.jpg 21. http://content.answers.com/main/content/wp/en/thumb/5/51/300px- Balantidium_coli_wet_mount.jpg 22. http://aapredbook.aappublications.org/week/015_01.jpg