SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
โลกาภิวัตน
      โลกาภิวัตน (มักเขียนผิดเปน โลกาภิวัตน) หรือ โลกานุวัตร (อังกฤษ: globalization)[1] คือ ผลจาก
การพัฒนาการติดตอสื่อสาร การคมนาคมขนสง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงใหเห็นถึงการเจริญเติบโต
ของความสัมพันธทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหวางปจเจกบุคคล ชุมชน
หนวยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทังโลก
                            ้
          โลกาภิวัตน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพรกระจายไปทั่วโลก;
การทีประชาคมโลกไมวาจะอยู ณ จุดใด สามารถรับรู สัมพันธ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นไดอยาง
        ่
รวดเร็วกวางขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเปนตน" โลกาภิวัตน เปนคําศัพทเฉพาะทีบัญญัติ
                                                                                                 ่
ขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณของสังคมโลกที่เหตุการณทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมที่
เกิดขึ้นในสวนหนึงของโลก สงผลกระทบอันรวดเร็วและสําคัญตอสวนอื่นๆของโลก
                   ่
       โลกาภิวัตน หมายถึงกระบวนการทีประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเปนสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้
                                     ่
เกิดจากแรงของอิทธิพลรวมทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง[2]


ประวัติ
        คําวา “โลกาภิวัตน” ในภาษาอังกฤษคือ “Globalization” สามารถสืบยอนไปไดถึง พ.ศ.
2487 (1944) แตไดนํามาใชโดยนักเศรษฐศาสตรตั้งแตปพ.ศ. 2524 (1981) มานี้เอง อยางไรก็ดี แนวคิดยังไม
                                                      
แพรหลายและเปนที่นิยมจนกระทั่งหลัง พ.ศ. 2538 (1995) เปนตนมา แนวคิดแรกสุดและการพยากรณถึง
การหลอมรวมของสังคมของโลกเกิดจากขอเขียนของนักประกอบการทีผันตัวเปนศาสนาจารยชื่อ “ชารลส
                                                                  ่
ทาซ รัสเซลล (Charles Taze Russell) ผูใชคําวา “บรรษัทยักษใหญ” (corporate giants [5]) เมื่อป พ.ศ.
2440 นักวิทยาศาสตรสังคมหลายทานไดพยายามแสดงใหเห็นความตอเนื่องระหวางแนวโนมรวมสมัยของ
โลกาภิวัตนกับยุคกอนหนานั้น[3]ยุคแรกของโลกาภิวัตน (ในความหมายเต็ม) ระหวางคริสตศตวรรษที่ 19 (พ.ศ.
2344 –พ.ศ. 2443) เปนการเติบโตที่รวดเร็วมากในดานการคานานาชาติระหวางจักรวรรดิอํานาจใน
ยุโรป อาณานิคมของยุโรปและสหรัฐฯ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โลกาภิวัตนไดเริ่มขึ้นใหมและถูก
ขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีทกาวหนาใหญๆ ที่ชวยทําใหลดคาใชจายและราคาสินคาลงไดมาก
                           ี่
         โลกาภิวัตนถูกมองวาเปนกระบวนการที่ใชเวลาเปนศตวรรษที่ติดตามการขยายตัวของประชากรและ
การเจริญเติบโตทางอารยธรรมที่ถกเรงในอัตราสูงมากในชวง 50 ปทผานมา รูปแบบโลกาภิวัตนยุคแรกๆ มีมา
                                  ู                              ี่
ตั้งแตสมัยจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิพาเธีย (จักรวรรดิอหรานระหวาง พ.ศ. 296 – พ.ศ. 763) และสมัยราชวงศ
                                                     ิ
ฮั่นเมื่อเสนทางสายไหมทีเ่ ริมจากจีนไปถึงชายแดนของจักรวรรดิพาเทียและตอเนื่องไปสูกรุงโรม ยุคทองของ
                             ่
อิสลามนับเปนตัวอยางหนึ่งเมื่อพอคาและนักสํารวจชาวมุสลิมวางรากฐานเศรษฐกิจของโลกยุคแรกไปทั่ว
“โลกเกา” ยังผลใหเกิดโลกาภิวัตนกับพืชผล การคา ความรูและเทคโนโลยีตอมาถึงระหวางยุคของจักรวรรดิ
                                                         
มองโกลซึงมีความเจริญมากขึ้นตามเสนทางสายไหม การบูรณาการโลกาภิวัตนมีความตอเนื่องมาถึงยุค
         ่
ขยายตัวทางการคาของยุโรป เมื่อถึงคริสตศตวรรษ ที่ 16 และ17 (ระหวาง พ.ศ. 2043 – พ.ศ. 2242) เมื่อ
จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิสเปนไดแผขยายไปทั่วทุกมุมโลกหลังจากที่ไดขยายไปถึงอเมริกา
       โลกาภิวัตนกลายเปนปรากฏการณทางธุรกิจในคริสตศตวรรษที่ 17 (พ.ศ. 2143 – พ.ศ. 2242) เมื่อ
บริษัทดัทชอินเดียตะวันออก ซึ่งถือกันวาเปน “บรรษัทขามชาติ” แรกไดรบการจัดตั้งขึ้น แตเนื่องจากการมี
                                                                     ั
ความเสี่ยงทีสงมากในการคาระหวางประเทศ บริษัทดัทชอินเดียตะวันออกไดกลายเปนบริษัทแรกของโลกที่ใช
            ู่
วิธีกระจายความเสี่ยง ยอมใหมีการรวมเปนเจาของดวยการออกหุนซึ่งเปนปจจัยผลักดันทีสําคัญทีทําใหเกิด
                                                                                     ่        ่
โลกาภิวัตน
        การปลอยหรือการเปดเสรีทางการคาในคริสตศตวรรษที่ 19 ซึ่งบางครั้งเรียกกันวา “ยุคแรกแหงโลกาภิ
วัตน” เปนยุคที่มลักษณะการเจริญเติบโตของการคาและการลงทุนของโลกในอัตราทีรวดเร็วระหวางจักรวรรดิ
                  ี                                                            ่
อํานาจยุโรปกับอาณานิคมอละตอมากับสหรัฐฯ ในยุคนี้เองที่พื้นที่บริเวณใตสะฮาราและหมูเกาะแปซิฟกถูกจัด
                                                                                               
รวมเขาไวในระบบโลก “ยุคแรกแหงโลกาภิวัตน” เริมแตกสลายเมือสงครามโลกครั้งที่ 1 เริมขึ้น และตอมาได
                                               ่             ่                        ่
ลมสลายในชวงวิกฤติมาตรฐานทองคําในชวงระหวาง พ.ศ. 2468 – พ.ศ. 2478
โลกาภิวัตนสมัยใหม
        โลกาภิวัตนในยุคตั้งแตสงครามโลกครังที่ 2 เปนผลที่ตามมาจากการวางแผนของนักเศรษฐศาสตรและ
                                             ้
ผลประโยชนทางธุรกิจ รวมทังนักการเมืองไดตระหนักถึงคาใชจายที่สัมพันธกับลัทธิคุมครอง (Protectionism)
                             ้
การถดถอยของการรวมตัวทางเศรษฐกิจในระดับนานาชาติ ผลงานของพวกเขาไดนําไปสูการประชุม “เบรท
ตัน วูด” (Bretton Woods) ที่ทําใหเกิดสถาบันนานาชาติหลายแหงที่มีวัตถุประสงคคอยเฝามองกระบวนการ
โลกาภิวัตนที่ฟนตัวใหม คอยสงเสริมการเจริญเติบโตและจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นตามมา สถาบันดังกลาว
ไดแก “ธนาคารสากลเพื่อการฟนฟูและการพัฒนา" (ธนาคารโลก) และกองทุนการเงินระหวางประเทศ ทั้งสอง
สถาบันแสวงหาเทคโนโลยีขั้นกาวหนาตางๆ มาใช เพื่อการลดตนทุนการคา มีการเจรจาทางการคา ที่เดิมอยู
ภายใตความอุปถัมภของ GATT ซึ่งจัดการใหมีการประชุมเพื่อเจรจาตกลงยกเลิกขอจํากัดทีกีดขวางการคาโดย
                                                                                        ่
เสรีอยางตอเนื่อง การประชุมรอบอุรุกวัย(พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2538) นําไปสูการกอตังองคการการคา
                                                                                 ้
โลก (WTO) เพื่อใชเปนที่ไกลเกลี่ยขอขัดแยงทางการคา และเพื่อจัดวางพื้นฐานใหการคาเปนในบรรทัดฐาน
เดียวกัน ขอตกลงทวิภาคี และพหุภาคีทางการคา รวมถึงสวนของ “สนธิสญญามาสทริชท” ( Maastricht
                                                                        ั
Treaty) ของยุโรป และมีการตกลงและลงนามใน “ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ” (NAFTA) เพื่อใหบรรลุ
เปาหมายในการลดอัตราภาษีและการกีดกันทางการคา ผลของการตกลงนีทําใหสินคาที่ไดรับการอุดหนุนจาก
                                                                          ้
รัฐบาลอเมริกันไหลบาทวมทนตลาดตางประเทศ
[แก]การวัดความเปนโลกาภิวัตน
Japanese อาหารจานดวน แมคโดแนลด ของญี่ปุนนับเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นถึงการหลอมรวมเปนหนึง
                                                                                            ่
เดียวของความเปนนานาชาติ
       เมื่อมองโลกาภิวัตนเฉพาะทางเศรษฐกิจ การวัดอาจทําไดหลายทางที่แตกตางกัน โดยดูจากการรวม
ศูนยการเคลือนไหวทางเศรษฐกิจที่อาจบงชี้ความเปนโลกาภิวัตนเห็นได 4 แนวดังนี:้
             ่

      ทรัพยากรและสินคาและบริการ เชน ความตองการทรัพยากรธรรมชาติ การสงออกและนําเขาสินคาที่
       เปนสัดสวนกับรายไดตอหัวของประชาชาติ
      แรงงานและคน เชน อัตราการยายถิ่นฐานเขาและออกโดยชังน้ําหนักกับประชากร
                                                                 ่
      เงินทุน เชน การเปลี่ยนแปลงทางการเงิน การไหลเขาและไหลออกของเงินลงทุนทางตรงทีเ่ ปนสัดสวน
       กับรายไดประชาชาติและรายไดตอหัวของประชากร
      อํานาจและเทคโนโลยี เชน ความมั่นคง การยายขั้วทางการเมือง การเคลื่อนไหวกองกําลังติดอาวุธ การ
       เคลื่อนไหวของงานวิจัยและพัฒนา สัดสวนของประชากร (และอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ตามมา) ใช
       เทคโนโลยีที่เกิดใหม (เทคโนโลยีขั้นกาวหนา เชน การใชอาวุธใหม การใช
       โทรศัพท รถยนต อินเทอรเน็ตบรอดแบนด ฯลฯ)
        นั่นคือ เปนการวัดดูวาชาติ หรือวัฒนธรรมนั้นๆ มีความเปนโลกาภิวัตนตั้งแตตนมาถึงในปที่ทําการวัด
ลาสุด โดยการใชตัวแทนงายๆ เชน การเคลื่อนไหลของสินคาเขา-ออก การยายถิ่นฐาน หรือเงินลงทุนทางตรง
จากตางประเทศดังกลาวขางตน
         เนื่องจากโลกาภิวัตนไมใชปรากฏการณอยางเดียวทางเศรษฐกิจ การใชการเขาสูปญหาดวยวิธีแบบ
                                                                                       
หลายตัวแปรมาเปนตัวชี้วัดความเปนโลกาภิวัตนจงเกิดขึ้นโดยการเริ่มของ “ถังความคิด” (Think tank) ใน
                                                   ึ
สวิสเซอรแลนด KOF ดัชนีมุงชี้วัดไปที่มิติหลัก 3 ตัวของโลก ไดแก เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นอกจากการ
ใชตัวชี้วัดหลักทังสามตัวนี้แลว ดัชนีรวมของโลกาภิวัตนและตัวชี้วัดกึ่งดัชนีโยงไปถึงการเคลื่อนไหวจริงทาง
                  ้
เศรษฐกิจ ขอจํากัดทางเศรษฐกิจ ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอของบุคคล ขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของขอมูล
ขาวสาร และขอมูลของความใกลชิดติดตอกันทางวัฒนธรรม เหลานี้ถูกนํามาใชในการคํานวณดวย มีการ
เผยแพรขอมูลนี้เปนรายป เปนขอมูลรวมของประเทศตางๆ 122 ประเทศดังในรายละเอียดใน “Dreher,
Gaston and Martens (2008)” [6].
        จากดัชนีดังกลาว ประเทศที่เปนโลกาภิวัตนมากทีสุดในโลกไดแกเบลเยียม ตามดวย
                                                      ่
ออสเตรีย สวีเดน สหราชอาณาจักรและเนเธอรแลนด ประเทศที่เปนโลกาภิวัตนนอยที่สุดตามดัชนี KOF
ไดแกไฮติ เมียนมาร สาธารณรัฐแอฟริกากลาง และบูรุด[4] การวัดอื่นๆ มองภาพโลกาภิวัตนในฐานะเปน
                                                    ี
กระบวนการทีเ่ ปนปฏิสัมพันธของการหลอมกระจายเพื่อหาระดับของผลกระทบ (Jahn 2006)
       เอ.ที. เคียรนีย ( A.T. Kearney) และวารสารนโยบายตางประเทศ ( Foreign Policy Magazine) ได
รวมกันตีพิมพ “ดัชนีโลกาภิวัตน” (Globalization Index) ขึ้นอีกแหลงหนึง จากดัชนีเมือ พ.ศ. 2549 ผล
                                                                         ่           ่
ปรากฏวา สิงคโปร ไอรแลนด สวิตเซอรแลนด สหรัฐอเมริกา เนเธอรแลนดแคนาดา และเดนมารกเปน
ประเทศทีเ่ ปนโลกาภิวัตนมากทีสุด อียิปต อินโดนีเซีย อินเดียและอิหรานเปนโลกาภิวัตนนอยที่สุด สวนไทยอยู
                                  ่
ในลําดับที่ 45 และจากดัชนีในปถัดมาคือ พ.ศ. 2550 อับดับความเปนโลกาภิวัตนของไทย ตกลงไปอยูที่อันดับ 
ที่ 59
[แก]ผลกระทบของโลกาภิวัตน
       โลกาภิวัตนมีผลกระทบตอโลกในหลายแงมม เชน
                                           ุ

      อุตสาหกรรม – การปรากฏของตลาดการผลิตที่เกิดขึ้นทั่วโลก และชองทางเขาถึงผลิตภัณฑ
       ตางประเทศทีกวางขึ้นสําหรับผูบริโภคและบริษัท
                    ่                
      การเงิน – การปรากฏขึ้นของตลาดการเงินทั่วโลกและการเขาถึงเงินลงทุนจากแหลงภายนอกที่งายและ
       สะดวกขึ้นของบริษัทตางๆ ประเทศและรัฐต่ํากวาประเทศทีประสงคของกูยืม
                                                               ่
      เศรษฐกิจ - การยอมรับตลาดรวมของโลกบนพื้นฐานแหงเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนสินคาและทุน
      การเมือง - การเมืองโลกาภิวัตนหมายถึงการสรางสรรครัฐบาลโลกที่จะทําหนาที่กํากับดูแล
       ความสัมพันธระหวางชาติและใหหลักประกันสิทธิ์ทเี่ กิดจากสังคมและเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน
       [5]
           ในทางการเมือง สหรัฐฯ ไดรับประโยชนจากการครองอํานาจในโลกในหมูชาติมหาอํานาจ ซึงสวน่
       หนึ่งมาจากความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและความั่งคังของประเทศ ดวยอิทธิพลของโลกาภิวัตนและจาก
                                                         ่
       การชวยเหลือของสหรัฐฯ ประเทศจีนไดเจริญเติบโตอยางมหาศาลในชวงเพียงทศวรรษที่ผานมา หาก
       จีนมีความเจริญเติบโตในอัตราตามแนวโนมนี้ตอไป เปนไปไดที่จะเกิดการเคลือนยายศูนยอํานาจใน
                                                                             ่
       ระหวางประเทศผูนําภายใน 20 ปขางหนา ประเทศจีนจะมีความมั่งคั่ง มีอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่
       สามรถทาทายสหรัฐฯ ในการเปนประเทศมหาอํานาจผูนํา[6]
      ขอมูลขาวสาร – มีการเพิมการไหลบาของขอมูลขาวสารระหวางพื้นหรือภูมิภาคที่อยูหางไกลกันมาก
                               ่                                                      
      วัฒนธรรม – การเจริญเติบโตของการติดตอสัมพันธขามวัฒนธรรม เกิดมีประเภทใหมๆ ในดานความ
       สํานึกและเอกลักษณ เชน “โลกาภิวัตนนิยม” - ซึ่งครอบคลุมการแพรกระจายทางวัฒนธรรมและการ
ไดบริโภคผลิตภัณฑและความคิดจากตางประเทศ การรับเทคโนโลยีใหมมาใชและการเขารวมใน
    “วัฒนธรรมโลก”
   นิเวศวิทยา – การปรากฏขึ้นของความทาทายในปญหาสภาวะแวดลอมในระดับโลกที่ไมสามารถ
    แกปญหาไดโดยปราศจากความรวมระดับนานาชาติ เชนปญหา “การเปลี่ยนแปลงของ
    ภูมิอากาศ” มลภาวะทางน้ําและอากาศที่ครอบคลุมหลายเขตประเทศ การทําประมงเกินขีด
    ความสามารถในการรองรับ การกระจายของพันธุพืชและสัตวที่ไมพึงประสงค การสรางโรงงานเปน
    จํานวนมากในประเทศกําลังพัฒนาที่กอมลภาวะไดอยางเสรี
   สังคม – ความสําเร็จในการบอกรับขาวสารโดยไมเสียคาใชจายสําหรับประชาชนของทุกชาติในโลก
   การขนสง – การลดจํานวนลงไปเรือยๆ ของรถยุโรปในถนนของยุโรป (อาจกลาวไดเชนเดียวกันสําหรับ
                                        ่
    อเมริกา) และการสิ้นปญหาเรื่องระยะทางที่เกิดจากการใชเทคโนโลยีตางๆ มาชวยลดเวลาการ
    เดินทาง [ตองการอางอิง]
   การแลกเปลี่ยนทีมากขึ้นของวัฒนธรรมสากล
                        ่
        การขยายตัวของ “อเนกวัฒนธรรมนิยม” และการเขาถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่งาย

            ขึ้นสําหรับปจเจกบุคคล (เชนการสงออกภาพยนตรของฮอลลีวูดและบอลลีวูด หรืออุตสาหกรรม
            ภาพยนตรของอินเดีย) อยางไรก็ดี การนําเขาวัฒนธรรมอาจทําใหเกิดการกลืนทางวัฒนธรรม
            ทองถิ่นไดงาย มีผลใหความหลากหลายทางวัฒนธรรมมีนอยลงจากการผสมผสานระหวางกัน
                                                                     
            เกิดเปนวัฒนธรรมพันทาง หรืออาจถูกกลืนโดยการคอยๆ รับวัฒนธรรมใหมมาใชโดยสิ้นเชิง
            ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนทีสุดในกรณีนี้ไดแกการรับวัฒนธรรมตะวันตก (Westernization) ของ
                                      ่
            หลายประเทศเมื่อเร็วๆ นี้ แตการรับวัฒนธรรมจีน ( Sinicization) ไดเกิดขึ้นทั่วเอเชียมานาน
            นับศตวรรษแลว
   การเดินทางและการทองเที่ยวระหวางประเทศที่มากขึ้น
        การเขาเมืองที่มากขึ้น รวมทั้งการเขาเมืองที่ผิดกฎหมาย

        การแพรขยายของสินคาบริโภคของทองถิ่น (เชนอาหาร) สูตางประเทศมากขึ้น

        การคลังไคลแฟชั่นวัฒนธรรมยอดนิยมระดับโลก เชน คาราโอเกะ, โปเกมอน, ซุโดกุ, นูมะ นูมะ
                     ่
            , โอริกามิ, Idol series, ยูทูบ, ออรกัต, เฟซบุก, และ มายสเปซ
        กีฬาระดับโลก เชน ฟุตบอลโลก และกีฬาโอลิมปก

        การเกิดหรือการพัฒนาชุดของ “คุณคาสากล” universal value

   ดานเทคนิค/กฎหมาย
        การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของระบบการติดตอสื่อสารระดับโลก และการเพิมการเคลื่อนไหว
                                                                                      ่
            ของขอมูลขาวสารขามพรมแดนที่ใชเทคโนโลยี เชน อินเทอรเน็ต ดาวเทียมสื่อสาร เคเบิลใยแกว
            ใตน้ํา และโทรศัพทมือถือ
       การเพิมจํานวนของมาตรฐานที่นําออกใชทั่วโลก เชน กฎหมายลิขสิทธิ์ การจดทะเบียน
                    ่
              ลิขสิทธิ์ และการตกลงทางการคาโลก
         การผลักดันโดยผูสนับสนุนใหมศาลอาญานานาชาติ ( international criminal court) และ
                                        ี
              ศาลยุติธรรมนานาชาติ (en:International Court of JusticeIInternational Court of
              justice)
   การตระหนักดานเพศ – โดยทั่วไป การมองโลกาภิวัตนเฉพาะดานเศรษฐกิจเปนเรื่องงาย แตในดานเพศ
    นี้มีเบื้องหลังในความหมายทางสังคมทีหนักแนน โลกาภิวัตนมีความหมายในปฏิสัมพันธทางวัฒนธรรม
                                           ่
    ระหวางประเทศตางๆ หลายประเทศ โลกาภิวัตนอาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงในดานความ
    เสมอภาคทางเพศ และประเด็นนีเ้ องที่นําไปสูการตระหนักถึงความไมเสมอภาคของสตรีเพศ (บางครัง
                                                                                                  ้
    เปนความโหดราย) ทีเ่ ปนอยูในหลายประเทศทั่วโลก ตัวอยางเชน สตรีในในหลายประเทศในแอฟริกาที่
    สตรีจะตองถูกขริบอวัยวะเพศดวยวิธีการที่เปนอันตราย ซึงโลกเพิ่งรับรูและทําใหประเพณีนี้ลดนอยลง
                                                           ่

    ที่มา : United Nations Development Program. 1992 Human Development Report
โลกาภิวัตนกับความพอเพียง

                     ในยุคบริโภคนิยมและการสื่อสารไรพรมแดน คําวา “ใชชีวิตอยางพอเพียง” หากใหหลับตา
นึกภาพ ความพอเพียงเปรียบไปก็คงเหมือนเปลวเทียนกลางกระแสลมแหงโลกาภิวัฒน ที่กระหน่ําและ
โหมซัดสังคมไทย จนเหลือแคแสงสวางอันริบหรี่ทรอวันดับมอดลงในทีสุด
                                                    ี่                      ่
      ทามกลางกระแสแหงโลกาภิวัฒน เยาวชนหนุมสาวตางพากันลุมหลงไปกับสื่อเทคโนโลยีอันทันสมัย
ตางๆไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือรุนใหมๆ อุปกรณไฮเทคหรือโปรแกรมอินเทอรเน็ตแปลกใหม ที่เยายวน
ความตื่นเตนและความอยากรูอยากเห็น ไมวาจะเปนเรื่องการแสดงออกทางเพศในลักษณะที่ไม
                                 
เหมาะสม หรือการไดสนิทสนมรูจกกับเพื่อนหรือคนรักในโลกไซเบอรทงๆ ที่ไมเคยรูจกหนาตาหรือตัวตน
                                    ั                                    ั้           ั
จริงๆ เลย ซึ่งการลุมหลงในเรื่องอันไรสาระและแกนสารของชีวิตเชนนี้ หากเยาวชนซึมซับพฤติกรรมอยาง
                       
นี้เปนประจํา นานวันเขาจะนําไปสูการมีทัศนคติ ความเชื่อ หรือคานิยมในทางทีผิด จนอาจนําไปสูปญหา
                                                                                    ่                
สังคมดานตางๆ อีกมากมาย กรณีตัวอยางทีเ่ ปนขาวโดงดังไปพักใหญ คือขาวเกียวกับเยาวชนนักศึกษา
                                                                                  ่
หลายคนตางพากันไปเลนอินเทอรเน็ตคาเฟ ซึงผูประกอบการใชกลยุทธทางการตลาดโดยขาดจรรยาบรรณ
                                                ่ 
และจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม ดาวนโหลดโปรแกรม “แคมฟลอกซ” (Cam Frog)ใหลูกคาเขาไปใชบริการ
กระทําการโชวลามกอนาจารใหผูใชบริการรายอื่นๆ รับชม ซึ่งเปน การกระทําที่ผิดตามกฎหมายอาญา ผู
แสดงตองไดรับโทษทั้งการปรับและจําคุก กระทรวงวัฒนธรรมโดยศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ไดติดตาม
พฤติกรรมนี้มาพักหนึ่งในการรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงทั้งหมดแจงหนวยงานทีรับผิดชอบดําเนินการตาม
                                                                                ่
กฎหมาย และประกอบกับการไดรับความรวมมือดวยดีจากเครือขายเฝาระวังทางวัฒนธรรม ซึงเปน          ่
ผูประกอบการอินเทอรเน็ตที่คิดดีและทําดี ไดใหเบาะแส และรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติม จนทําใหปญหา    
ดังกลาวไดรบการแกไขในทีสุด ศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ขอขอบคุณและแสดงความชื่นชมผูมสวน
                ั              ่                                                                 ี
เกี่ยวของในการใหความรวมมือทุกทาน ทุกหนวยงานมา ณ โอกาสนี้
      หากจะกลาวไปแลว ปญหาสังคมที่กอดคอกันมากับเทคโนโลยีอันทันสมัยนั้น สวนหนึ่ง เปนปญหาที่
      หนวยงานซึ่งรับผิดชอบสามารถปองกันหรือแกไขได แตสวนหนึงก็ตองยอมรับกันวา เรื่องเหลานั้นคือ
                                                                       ่
      สัญญาณบงบอกถึงความออนแอทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศ ที่นาวิตกเมื่อเยาวชนคนหนุม
      สาวอันเปนกําลังในการพัฒนาประเทศชาติ กลับตกเปนเปานิ่งรอวันรวงหลนและลมสลายอันเกิดจาก
      การเสพยเทคโนโลยี และบริโภคขอมูลขาวสารอยางไรสติ ขาดการยั้งคิดและนับวันจะทวีความรุนแรง
      ยิ่งขึ้น ฟงดูอาจนากลัวแตความจริงก็เปนเชนนั้น วัยรุนและหนุมสาวในสังคมไทยยุคนี้ สวนใหญมัก
      สับสนและหลงลืมขอเท็จจริงบางอยางเกี่ยวกับตัวเองไป เพราะกระบวนการคิดอยางเปนเหตุเปนผลที่
      จะชี้นําพวกเขาใหเดินไปในทิศทางที่ควรจะเปนนั้น ไดคอยๆถูกฆาตัดตอนและชี้นําโดยกระแสบริโภค
      นิยมแหงโลกาภิวัฒน จนแทบยากตอการเยียวยา
                     อยางไรก็ตามหากจะกลาวอยางเปนธรรมและตรงไปตรงมา กระแสบริโภคนิยม
      เทคโนโลยีและการสื่อสารอันไรพรมแดนมิใชเรื่องเลวรายเสียทั้งหมด หากพิจารณากันอยาง
จริงจัง จะพบวามันกลายเปนสิ่งจําเปนในการดําเนินชีวิตของมนุษย ประโยชนของมันมีมากมาย
    มหาศาล ซึงหากเราใชเปนและบริโภคดวยความมีสติรูเทาทัน ผลกระทบในดานลบของมันก็แทบจะไม
                 ่
    มีความหมาย การฝนตานและปฏิเสธจึงไมนาจะใชทางออกที่เหมาะสม ดังนั้นการรูจักเลือกสรรรับขอมูล
    ขาวสาร เลือกบริโภคสินคาและเทคโนโลยีโดยใชแนวคิดความพอเพียง นาจะเปนทางออกที่ดีทสุดอีกทาง
                                                                                             ี่
    เลือกหนึง่
    เยาวชนควรจะไดรับการปลูกฝงแนวคิดความพอเพียงใหเขาใจอยางจริงจังตอเนื่อง จนสามารถใช
    เหตุผลในการแยกแยะเพื่อเลือกรับขอมูลขาวสารทีมีประโยชน บริโภคสินคาและเทคโนโลยีอยางรูเทา
                                                           ่
    ทัน เหมาะสมกับความตองการ กําลังเงิน สภาพแวดลอม ในจํานวนที่ไมมากไมนอยจนเกินไป และ
    การบริโภคนั้นตองไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ปลูกฝงและสรางภูมิคุมกันทางดานกระบวนการคิด
    โดยการใชเหตุผล กระตุนใหมีการฝกคิดอยางเปนระบบ จนสามารถเตรียมตัวพรอมรับการ
                              
    เปลี่ยนแปลงทางสังคมดานตางๆ ไดอยางเขาใจและปรับใชการเปลี่ยนแปลงนั้นใหเกิดประโยชนกบ      ั
    ตัวเองและสังคมสวนรวมไดใหมากทีสุด จนสามารถมีภูมิคุมกันในการปองกันและรับผลกระทบในดานลบ
                                         ่
    ที่อาจเกิดขึ้นได
   แนนอนวายอมไมใชเรื่องงายทีจะทําใหเยาวชนซึ่งตกอยูในกระแสเชี่ยวกรากของ เทคโนโลยีลอตาลอ
                                    ่                                                           
    ใจ และคอยแตจะเชิญชวนใหบริโภคอยางไรพรมแดนไรขีดจํากัด เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด
    และพฤติกรรมในชั่วขามคืน โดยเฉพาะในการปรับกระบวนการคิดการใชเหตุผล ซึ่งลวนเปนเรื่อง
    นามธรรมที่ตองใชเวลาในการคอยๆ ซึมซับ วิเคราะห และกวาจะถึงขั้นที่สามารถสังเคราะหมาใชไดใน
    ชีวิตจริง จนเกิดเปนภูมิคุมกันที่ถาวรยั่งยืนนั้น จะตองใชเวลาในการปลูกฝงที่ยาวนาน
   สถาบันทีเ่ กี่ยวของไมวาจะเปนครอบครัว สถานศึกษา สื่อ และองคกรอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชนลวนมี
    หนาที่ตองรับผิดชอบโดยตรง ในการที่จะดูแลประคับประคองเทียนแหงความพอเพียง ไมใหดับวูบไป
    จนไมเหลือแสงสวางใดนําทาง ถึงเวลาหรือยังทีเ่ ราตองรวมมือรวมใจกันระดมสรรพกําลังในการหา
    มาตรการปองกันและแกไขปญหานี้อยางจริงจังและจริงใจเสียที
   ปจจุบนสมรภูมสงครามลาอาณานิคมกลายเปนเรื่องเพอเจอ โลกใบนี้คงเหลือสมรภูมิเดียวที่ยงดําเนิน
           ั          ิ                                                                    ั
    ตอไปคือสมรภูมิแหงการ“ขาย” ในสงคราม “แยงชิงลูกคา” ขายทุกอยางที่ขวางหนา ซื้อทุกอยางที่ใจ
    ตองการ ชนะขาดคําเดียวคือยึดครอง “ลูกคา” ใหมากทีสุดและทําลายวัฒนธรรมดั้งเดิมนั้นใหสิ้นซาก
                                                                 ่
    ไปอยางรวดเร็วและรุนแรง แลวสรางวัฒนธรรมใหม เปนวัฒนธรรมแหง “การบริโภคที่ไรพรมแดน” ซึ่ง
    โดยความเห็นสวนตัวของผูเขียน คิดวาเปนสงครามแทจริงซึงนากลัวทีสุดเพราะไมใชแคเรืองของการ
                                                                   ่       ่             ่
    สูญเสียดินแดนเพียงอยางเดียว “หากแตสูญเสียสิ้น ซึ่งตัวตนและจิตวิญญาณ”

ที่มา : http://www.oknation.net/blog/jessada5577/2010/06/17/entry-3

More Related Content

Similar to โลกาภิวัตน์

World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลีPrapatsorn Chaihuay
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้านPrapatsorn Chaihuay
 
สรุปเนื้อหาสำคัญ
สรุปเนื้อหาสำคัญสรุปเนื้อหาสำคัญ
สรุปเนื้อหาสำคัญKittinee Chaiwatthana
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_officialTonlers Rabertjim
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2songyangwtps
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อguidekik
 

Similar to โลกาภิวัตน์ (20)

World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
2
22
2
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Soros
SorosSoros
Soros
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
สรุปเนื้อหาสำคัญ
สรุปเนื้อหาสำคัญสรุปเนื้อหาสำคัญ
สรุปเนื้อหาสำคัญ
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
บทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdfบทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdf
 
Aging society report_official
Aging society report_officialAging society report_official
Aging society report_official
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
เศรษฐศาสตร์บทที่ 2
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
ครั้งที่ 1 พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เขาค้อ
 

More from Lao-puphan Pipatsak

โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556Lao-puphan Pipatsak
 
ปฎิทืนรับสมัคร
ปฎิทืนรับสมัครปฎิทืนรับสมัคร
ปฎิทืนรับสมัครLao-puphan Pipatsak
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556Lao-puphan Pipatsak
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...Lao-puphan Pipatsak
 
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55Lao-puphan Pipatsak
 
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพ
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพรูป รร ส่งเสริมสุขภาพ
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพLao-puphan Pipatsak
 
แยกห้อง ม.4 2555
แยกห้อง ม.4 2555แยกห้อง ม.4 2555
แยกห้อง ม.4 2555Lao-puphan Pipatsak
 
แยกห้อง ม.1 2555
แยกห้อง ม.1 2555แยกห้อง ม.1 2555
แยกห้อง ม.1 2555Lao-puphan Pipatsak
 
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555Lao-puphan Pipatsak
 
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมคำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมLao-puphan Pipatsak
 

More from Lao-puphan Pipatsak (20)

Photo_book_Chanthaburi
Photo_book_ChanthaburiPhoto_book_Chanthaburi
Photo_book_Chanthaburi
 
ภาระงาน Essec
ภาระงาน Essecภาระงาน Essec
ภาระงาน Essec
 
ภาระงาน CERTE
ภาระงาน CERTEภาระงาน CERTE
ภาระงาน CERTE
 
ภาระงาน RDCSD
ภาระงาน RDCSDภาระงาน RDCSD
ภาระงาน RDCSD
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
 
ปฎิทืนรับสมัคร
ปฎิทืนรับสมัครปฎิทืนรับสมัคร
ปฎิทืนรับสมัคร
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 
Zo lf svmdscu4
Zo lf svmdscu4Zo lf svmdscu4
Zo lf svmdscu4
 
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...
โครงการเรียนรู้ ดูงานการศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวิถีชีวิตของประเทศเพื่อน...
 
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒
กำหนดการกิจกรรมค่ายเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ ๒
 
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลบูรณาการปี55
 
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพ
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพรูป รร ส่งเสริมสุขภาพ
รูป รร ส่งเสริมสุขภาพ
 
แยกห้อง ม.4 2555
แยกห้อง ม.4 2555แยกห้อง ม.4 2555
แยกห้อง ม.4 2555
 
แยกห้อง ม.1 2555
แยกห้อง ม.1 2555แยกห้อง ม.1 2555
แยกห้อง ม.1 2555
 
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน ม.4 eis 2555
 
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555
ผลการสอบคัดเเลือกเข้าเรียน Eis 2555
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมคำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
คำสั่งโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
 

โลกาภิวัตน์

  • 1. โลกาภิวัตน โลกาภิวัตน (มักเขียนผิดเปน โลกาภิวัตน) หรือ โลกานุวัตร (อังกฤษ: globalization)[1] คือ ผลจาก การพัฒนาการติดตอสื่อสาร การคมนาคมขนสง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงใหเห็นถึงการเจริญเติบโต ของความสัมพันธทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหวางปจเจกบุคคล ชุมชน หนวยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทังโลก ้ โลกาภิวัตน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพรกระจายไปทั่วโลก; การทีประชาคมโลกไมวาจะอยู ณ จุดใด สามารถรับรู สัมพันธ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นไดอยาง ่ รวดเร็วกวางขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเปนตน" โลกาภิวัตน เปนคําศัพทเฉพาะทีบัญญัติ ่ ขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณของสังคมโลกที่เหตุการณทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมที่ เกิดขึ้นในสวนหนึงของโลก สงผลกระทบอันรวดเร็วและสําคัญตอสวนอื่นๆของโลก ่ โลกาภิวัตน หมายถึงกระบวนการทีประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเปนสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้ ่ เกิดจากแรงของอิทธิพลรวมทางเศรษฐกิจเทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง[2] ประวัติ คําวา “โลกาภิวัตน” ในภาษาอังกฤษคือ “Globalization” สามารถสืบยอนไปไดถึง พ.ศ. 2487 (1944) แตไดนํามาใชโดยนักเศรษฐศาสตรตั้งแตปพ.ศ. 2524 (1981) มานี้เอง อยางไรก็ดี แนวคิดยังไม  แพรหลายและเปนที่นิยมจนกระทั่งหลัง พ.ศ. 2538 (1995) เปนตนมา แนวคิดแรกสุดและการพยากรณถึง การหลอมรวมของสังคมของโลกเกิดจากขอเขียนของนักประกอบการทีผันตัวเปนศาสนาจารยชื่อ “ชารลส ่ ทาซ รัสเซลล (Charles Taze Russell) ผูใชคําวา “บรรษัทยักษใหญ” (corporate giants [5]) เมื่อป พ.ศ. 2440 นักวิทยาศาสตรสังคมหลายทานไดพยายามแสดงใหเห็นความตอเนื่องระหวางแนวโนมรวมสมัยของ โลกาภิวัตนกับยุคกอนหนานั้น[3]ยุคแรกของโลกาภิวัตน (ในความหมายเต็ม) ระหวางคริสตศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344 –พ.ศ. 2443) เปนการเติบโตที่รวดเร็วมากในดานการคานานาชาติระหวางจักรวรรดิอํานาจใน ยุโรป อาณานิคมของยุโรปและสหรัฐฯ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โลกาภิวัตนไดเริ่มขึ้นใหมและถูก ขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีทกาวหนาใหญๆ ที่ชวยทําใหลดคาใชจายและราคาสินคาลงไดมาก ี่ โลกาภิวัตนถูกมองวาเปนกระบวนการที่ใชเวลาเปนศตวรรษที่ติดตามการขยายตัวของประชากรและ การเจริญเติบโตทางอารยธรรมที่ถกเรงในอัตราสูงมากในชวง 50 ปทผานมา รูปแบบโลกาภิวัตนยุคแรกๆ มีมา ู ี่ ตั้งแตสมัยจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิพาเธีย (จักรวรรดิอหรานระหวาง พ.ศ. 296 – พ.ศ. 763) และสมัยราชวงศ ิ ฮั่นเมื่อเสนทางสายไหมทีเ่ ริมจากจีนไปถึงชายแดนของจักรวรรดิพาเทียและตอเนื่องไปสูกรุงโรม ยุคทองของ ่ อิสลามนับเปนตัวอยางหนึ่งเมื่อพอคาและนักสํารวจชาวมุสลิมวางรากฐานเศรษฐกิจของโลกยุคแรกไปทั่ว “โลกเกา” ยังผลใหเกิดโลกาภิวัตนกับพืชผล การคา ความรูและเทคโนโลยีตอมาถึงระหวางยุคของจักรวรรดิ 
  • 2. มองโกลซึงมีความเจริญมากขึ้นตามเสนทางสายไหม การบูรณาการโลกาภิวัตนมีความตอเนื่องมาถึงยุค ่ ขยายตัวทางการคาของยุโรป เมื่อถึงคริสตศตวรรษ ที่ 16 และ17 (ระหวาง พ.ศ. 2043 – พ.ศ. 2242) เมื่อ จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิสเปนไดแผขยายไปทั่วทุกมุมโลกหลังจากที่ไดขยายไปถึงอเมริกา โลกาภิวัตนกลายเปนปรากฏการณทางธุรกิจในคริสตศตวรรษที่ 17 (พ.ศ. 2143 – พ.ศ. 2242) เมื่อ บริษัทดัทชอินเดียตะวันออก ซึ่งถือกันวาเปน “บรรษัทขามชาติ” แรกไดรบการจัดตั้งขึ้น แตเนื่องจากการมี ั ความเสี่ยงทีสงมากในการคาระหวางประเทศ บริษัทดัทชอินเดียตะวันออกไดกลายเปนบริษัทแรกของโลกที่ใช ู่ วิธีกระจายความเสี่ยง ยอมใหมีการรวมเปนเจาของดวยการออกหุนซึ่งเปนปจจัยผลักดันทีสําคัญทีทําใหเกิด ่ ่ โลกาภิวัตน การปลอยหรือการเปดเสรีทางการคาในคริสตศตวรรษที่ 19 ซึ่งบางครั้งเรียกกันวา “ยุคแรกแหงโลกาภิ วัตน” เปนยุคที่มลักษณะการเจริญเติบโตของการคาและการลงทุนของโลกในอัตราทีรวดเร็วระหวางจักรวรรดิ ี ่ อํานาจยุโรปกับอาณานิคมอละตอมากับสหรัฐฯ ในยุคนี้เองที่พื้นที่บริเวณใตสะฮาราและหมูเกาะแปซิฟกถูกจัด  รวมเขาไวในระบบโลก “ยุคแรกแหงโลกาภิวัตน” เริมแตกสลายเมือสงครามโลกครั้งที่ 1 เริมขึ้น และตอมาได ่ ่ ่ ลมสลายในชวงวิกฤติมาตรฐานทองคําในชวงระหวาง พ.ศ. 2468 – พ.ศ. 2478 โลกาภิวัตนสมัยใหม โลกาภิวัตนในยุคตั้งแตสงครามโลกครังที่ 2 เปนผลที่ตามมาจากการวางแผนของนักเศรษฐศาสตรและ ้ ผลประโยชนทางธุรกิจ รวมทังนักการเมืองไดตระหนักถึงคาใชจายที่สัมพันธกับลัทธิคุมครอง (Protectionism) ้ การถดถอยของการรวมตัวทางเศรษฐกิจในระดับนานาชาติ ผลงานของพวกเขาไดนําไปสูการประชุม “เบรท ตัน วูด” (Bretton Woods) ที่ทําใหเกิดสถาบันนานาชาติหลายแหงที่มีวัตถุประสงคคอยเฝามองกระบวนการ โลกาภิวัตนที่ฟนตัวใหม คอยสงเสริมการเจริญเติบโตและจัดการกับปญหาที่อาจเกิดขึ้นตามมา สถาบันดังกลาว ไดแก “ธนาคารสากลเพื่อการฟนฟูและการพัฒนา" (ธนาคารโลก) และกองทุนการเงินระหวางประเทศ ทั้งสอง สถาบันแสวงหาเทคโนโลยีขั้นกาวหนาตางๆ มาใช เพื่อการลดตนทุนการคา มีการเจรจาทางการคา ที่เดิมอยู ภายใตความอุปถัมภของ GATT ซึ่งจัดการใหมีการประชุมเพื่อเจรจาตกลงยกเลิกขอจํากัดทีกีดขวางการคาโดย ่ เสรีอยางตอเนื่อง การประชุมรอบอุรุกวัย(พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2538) นําไปสูการกอตังองคการการคา ้ โลก (WTO) เพื่อใชเปนที่ไกลเกลี่ยขอขัดแยงทางการคา และเพื่อจัดวางพื้นฐานใหการคาเปนในบรรทัดฐาน เดียวกัน ขอตกลงทวิภาคี และพหุภาคีทางการคา รวมถึงสวนของ “สนธิสญญามาสทริชท” ( Maastricht ั Treaty) ของยุโรป และมีการตกลงและลงนามใน “ขอตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ” (NAFTA) เพื่อใหบรรลุ เปาหมายในการลดอัตราภาษีและการกีดกันทางการคา ผลของการตกลงนีทําใหสินคาที่ไดรับการอุดหนุนจาก ้ รัฐบาลอเมริกันไหลบาทวมทนตลาดตางประเทศ [แก]การวัดความเปนโลกาภิวัตน
  • 3. Japanese อาหารจานดวน แมคโดแนลด ของญี่ปุนนับเปนตัวอยางที่แสดงใหเห็นถึงการหลอมรวมเปนหนึง ่ เดียวของความเปนนานาชาติ เมื่อมองโลกาภิวัตนเฉพาะทางเศรษฐกิจ การวัดอาจทําไดหลายทางที่แตกตางกัน โดยดูจากการรวม ศูนยการเคลือนไหวทางเศรษฐกิจที่อาจบงชี้ความเปนโลกาภิวัตนเห็นได 4 แนวดังนี:้ ่  ทรัพยากรและสินคาและบริการ เชน ความตองการทรัพยากรธรรมชาติ การสงออกและนําเขาสินคาที่ เปนสัดสวนกับรายไดตอหัวของประชาชาติ  แรงงานและคน เชน อัตราการยายถิ่นฐานเขาและออกโดยชังน้ําหนักกับประชากร ่  เงินทุน เชน การเปลี่ยนแปลงทางการเงิน การไหลเขาและไหลออกของเงินลงทุนทางตรงทีเ่ ปนสัดสวน กับรายไดประชาชาติและรายไดตอหัวของประชากร  อํานาจและเทคโนโลยี เชน ความมั่นคง การยายขั้วทางการเมือง การเคลื่อนไหวกองกําลังติดอาวุธ การ เคลื่อนไหวของงานวิจัยและพัฒนา สัดสวนของประชากร (และอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ตามมา) ใช เทคโนโลยีที่เกิดใหม (เทคโนโลยีขั้นกาวหนา เชน การใชอาวุธใหม การใช โทรศัพท รถยนต อินเทอรเน็ตบรอดแบนด ฯลฯ) นั่นคือ เปนการวัดดูวาชาติ หรือวัฒนธรรมนั้นๆ มีความเปนโลกาภิวัตนตั้งแตตนมาถึงในปที่ทําการวัด ลาสุด โดยการใชตัวแทนงายๆ เชน การเคลื่อนไหลของสินคาเขา-ออก การยายถิ่นฐาน หรือเงินลงทุนทางตรง จากตางประเทศดังกลาวขางตน เนื่องจากโลกาภิวัตนไมใชปรากฏการณอยางเดียวทางเศรษฐกิจ การใชการเขาสูปญหาดวยวิธีแบบ  หลายตัวแปรมาเปนตัวชี้วัดความเปนโลกาภิวัตนจงเกิดขึ้นโดยการเริ่มของ “ถังความคิด” (Think tank) ใน ึ สวิสเซอรแลนด KOF ดัชนีมุงชี้วัดไปที่มิติหลัก 3 ตัวของโลก ไดแก เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง นอกจากการ ใชตัวชี้วัดหลักทังสามตัวนี้แลว ดัชนีรวมของโลกาภิวัตนและตัวชี้วัดกึ่งดัชนีโยงไปถึงการเคลื่อนไหวจริงทาง ้ เศรษฐกิจ ขอจํากัดทางเศรษฐกิจ ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอของบุคคล ขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของขอมูล ขาวสาร และขอมูลของความใกลชิดติดตอกันทางวัฒนธรรม เหลานี้ถูกนํามาใชในการคํานวณดวย มีการ
  • 4. เผยแพรขอมูลนี้เปนรายป เปนขอมูลรวมของประเทศตางๆ 122 ประเทศดังในรายละเอียดใน “Dreher, Gaston and Martens (2008)” [6]. จากดัชนีดังกลาว ประเทศที่เปนโลกาภิวัตนมากทีสุดในโลกไดแกเบลเยียม ตามดวย ่ ออสเตรีย สวีเดน สหราชอาณาจักรและเนเธอรแลนด ประเทศที่เปนโลกาภิวัตนนอยที่สุดตามดัชนี KOF ไดแกไฮติ เมียนมาร สาธารณรัฐแอฟริกากลาง และบูรุด[4] การวัดอื่นๆ มองภาพโลกาภิวัตนในฐานะเปน ี กระบวนการทีเ่ ปนปฏิสัมพันธของการหลอมกระจายเพื่อหาระดับของผลกระทบ (Jahn 2006) เอ.ที. เคียรนีย ( A.T. Kearney) และวารสารนโยบายตางประเทศ ( Foreign Policy Magazine) ได รวมกันตีพิมพ “ดัชนีโลกาภิวัตน” (Globalization Index) ขึ้นอีกแหลงหนึง จากดัชนีเมือ พ.ศ. 2549 ผล ่ ่ ปรากฏวา สิงคโปร ไอรแลนด สวิตเซอรแลนด สหรัฐอเมริกา เนเธอรแลนดแคนาดา และเดนมารกเปน ประเทศทีเ่ ปนโลกาภิวัตนมากทีสุด อียิปต อินโดนีเซีย อินเดียและอิหรานเปนโลกาภิวัตนนอยที่สุด สวนไทยอยู ่ ในลําดับที่ 45 และจากดัชนีในปถัดมาคือ พ.ศ. 2550 อับดับความเปนโลกาภิวัตนของไทย ตกลงไปอยูที่อันดับ  ที่ 59 [แก]ผลกระทบของโลกาภิวัตน โลกาภิวัตนมีผลกระทบตอโลกในหลายแงมม เชน ุ  อุตสาหกรรม – การปรากฏของตลาดการผลิตที่เกิดขึ้นทั่วโลก และชองทางเขาถึงผลิตภัณฑ ตางประเทศทีกวางขึ้นสําหรับผูบริโภคและบริษัท ่   การเงิน – การปรากฏขึ้นของตลาดการเงินทั่วโลกและการเขาถึงเงินลงทุนจากแหลงภายนอกที่งายและ สะดวกขึ้นของบริษัทตางๆ ประเทศและรัฐต่ํากวาประเทศทีประสงคของกูยืม ่  เศรษฐกิจ - การยอมรับตลาดรวมของโลกบนพื้นฐานแหงเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนสินคาและทุน  การเมือง - การเมืองโลกาภิวัตนหมายถึงการสรางสรรครัฐบาลโลกที่จะทําหนาที่กํากับดูแล ความสัมพันธระหวางชาติและใหหลักประกันสิทธิ์ทเี่ กิดจากสังคมและเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน [5] ในทางการเมือง สหรัฐฯ ไดรับประโยชนจากการครองอํานาจในโลกในหมูชาติมหาอํานาจ ซึงสวน่ หนึ่งมาจากความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและความั่งคังของประเทศ ดวยอิทธิพลของโลกาภิวัตนและจาก ่ การชวยเหลือของสหรัฐฯ ประเทศจีนไดเจริญเติบโตอยางมหาศาลในชวงเพียงทศวรรษที่ผานมา หาก จีนมีความเจริญเติบโตในอัตราตามแนวโนมนี้ตอไป เปนไปไดที่จะเกิดการเคลือนยายศูนยอํานาจใน  ่ ระหวางประเทศผูนําภายใน 20 ปขางหนา ประเทศจีนจะมีความมั่งคั่ง มีอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่ สามรถทาทายสหรัฐฯ ในการเปนประเทศมหาอํานาจผูนํา[6]  ขอมูลขาวสาร – มีการเพิมการไหลบาของขอมูลขาวสารระหวางพื้นหรือภูมิภาคที่อยูหางไกลกันมาก ่   วัฒนธรรม – การเจริญเติบโตของการติดตอสัมพันธขามวัฒนธรรม เกิดมีประเภทใหมๆ ในดานความ สํานึกและเอกลักษณ เชน “โลกาภิวัตนนิยม” - ซึ่งครอบคลุมการแพรกระจายทางวัฒนธรรมและการ
  • 5. ไดบริโภคผลิตภัณฑและความคิดจากตางประเทศ การรับเทคโนโลยีใหมมาใชและการเขารวมใน “วัฒนธรรมโลก”  นิเวศวิทยา – การปรากฏขึ้นของความทาทายในปญหาสภาวะแวดลอมในระดับโลกที่ไมสามารถ แกปญหาไดโดยปราศจากความรวมระดับนานาชาติ เชนปญหา “การเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศ” มลภาวะทางน้ําและอากาศที่ครอบคลุมหลายเขตประเทศ การทําประมงเกินขีด ความสามารถในการรองรับ การกระจายของพันธุพืชและสัตวที่ไมพึงประสงค การสรางโรงงานเปน จํานวนมากในประเทศกําลังพัฒนาที่กอมลภาวะไดอยางเสรี  สังคม – ความสําเร็จในการบอกรับขาวสารโดยไมเสียคาใชจายสําหรับประชาชนของทุกชาติในโลก  การขนสง – การลดจํานวนลงไปเรือยๆ ของรถยุโรปในถนนของยุโรป (อาจกลาวไดเชนเดียวกันสําหรับ ่ อเมริกา) และการสิ้นปญหาเรื่องระยะทางที่เกิดจากการใชเทคโนโลยีตางๆ มาชวยลดเวลาการ เดินทาง [ตองการอางอิง]  การแลกเปลี่ยนทีมากขึ้นของวัฒนธรรมสากล ่  การขยายตัวของ “อเนกวัฒนธรรมนิยม” และการเขาถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่งาย ขึ้นสําหรับปจเจกบุคคล (เชนการสงออกภาพยนตรของฮอลลีวูดและบอลลีวูด หรืออุตสาหกรรม ภาพยนตรของอินเดีย) อยางไรก็ดี การนําเขาวัฒนธรรมอาจทําใหเกิดการกลืนทางวัฒนธรรม ทองถิ่นไดงาย มีผลใหความหลากหลายทางวัฒนธรรมมีนอยลงจากการผสมผสานระหวางกัน  เกิดเปนวัฒนธรรมพันทาง หรืออาจถูกกลืนโดยการคอยๆ รับวัฒนธรรมใหมมาใชโดยสิ้นเชิง ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนทีสุดในกรณีนี้ไดแกการรับวัฒนธรรมตะวันตก (Westernization) ของ ่ หลายประเทศเมื่อเร็วๆ นี้ แตการรับวัฒนธรรมจีน ( Sinicization) ไดเกิดขึ้นทั่วเอเชียมานาน นับศตวรรษแลว  การเดินทางและการทองเที่ยวระหวางประเทศที่มากขึ้น  การเขาเมืองที่มากขึ้น รวมทั้งการเขาเมืองที่ผิดกฎหมาย  การแพรขยายของสินคาบริโภคของทองถิ่น (เชนอาหาร) สูตางประเทศมากขึ้น  การคลังไคลแฟชั่นวัฒนธรรมยอดนิยมระดับโลก เชน คาราโอเกะ, โปเกมอน, ซุโดกุ, นูมะ นูมะ ่ , โอริกามิ, Idol series, ยูทูบ, ออรกัต, เฟซบุก, และ มายสเปซ  กีฬาระดับโลก เชน ฟุตบอลโลก และกีฬาโอลิมปก  การเกิดหรือการพัฒนาชุดของ “คุณคาสากล” universal value  ดานเทคนิค/กฎหมาย  การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของระบบการติดตอสื่อสารระดับโลก และการเพิมการเคลื่อนไหว ่ ของขอมูลขาวสารขามพรมแดนที่ใชเทคโนโลยี เชน อินเทอรเน็ต ดาวเทียมสื่อสาร เคเบิลใยแกว ใตน้ํา และโทรศัพทมือถือ
  • 6. การเพิมจํานวนของมาตรฐานที่นําออกใชทั่วโลก เชน กฎหมายลิขสิทธิ์ การจดทะเบียน ่ ลิขสิทธิ์ และการตกลงทางการคาโลก  การผลักดันโดยผูสนับสนุนใหมศาลอาญานานาชาติ ( international criminal court) และ  ี ศาลยุติธรรมนานาชาติ (en:International Court of JusticeIInternational Court of justice)  การตระหนักดานเพศ – โดยทั่วไป การมองโลกาภิวัตนเฉพาะดานเศรษฐกิจเปนเรื่องงาย แตในดานเพศ นี้มีเบื้องหลังในความหมายทางสังคมทีหนักแนน โลกาภิวัตนมีความหมายในปฏิสัมพันธทางวัฒนธรรม ่ ระหวางประเทศตางๆ หลายประเทศ โลกาภิวัตนอาจสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงในดานความ เสมอภาคทางเพศ และประเด็นนีเ้ องที่นําไปสูการตระหนักถึงความไมเสมอภาคของสตรีเพศ (บางครัง  ้ เปนความโหดราย) ทีเ่ ปนอยูในหลายประเทศทั่วโลก ตัวอยางเชน สตรีในในหลายประเทศในแอฟริกาที่ สตรีจะตองถูกขริบอวัยวะเพศดวยวิธีการที่เปนอันตราย ซึงโลกเพิ่งรับรูและทําใหประเพณีนี้ลดนอยลง ่ ที่มา : United Nations Development Program. 1992 Human Development Report
  • 7. โลกาภิวัตนกับความพอเพียง ในยุคบริโภคนิยมและการสื่อสารไรพรมแดน คําวา “ใชชีวิตอยางพอเพียง” หากใหหลับตา นึกภาพ ความพอเพียงเปรียบไปก็คงเหมือนเปลวเทียนกลางกระแสลมแหงโลกาภิวัฒน ที่กระหน่ําและ โหมซัดสังคมไทย จนเหลือแคแสงสวางอันริบหรี่ทรอวันดับมอดลงในทีสุด ี่ ่ ทามกลางกระแสแหงโลกาภิวัฒน เยาวชนหนุมสาวตางพากันลุมหลงไปกับสื่อเทคโนโลยีอันทันสมัย ตางๆไมวาจะเปนโทรศัพทมือถือรุนใหมๆ อุปกรณไฮเทคหรือโปรแกรมอินเทอรเน็ตแปลกใหม ที่เยายวน ความตื่นเตนและความอยากรูอยากเห็น ไมวาจะเปนเรื่องการแสดงออกทางเพศในลักษณะที่ไม  เหมาะสม หรือการไดสนิทสนมรูจกกับเพื่อนหรือคนรักในโลกไซเบอรทงๆ ที่ไมเคยรูจกหนาตาหรือตัวตน ั ั้ ั จริงๆ เลย ซึ่งการลุมหลงในเรื่องอันไรสาระและแกนสารของชีวิตเชนนี้ หากเยาวชนซึมซับพฤติกรรมอยาง  นี้เปนประจํา นานวันเขาจะนําไปสูการมีทัศนคติ ความเชื่อ หรือคานิยมในทางทีผิด จนอาจนําไปสูปญหา ่  สังคมดานตางๆ อีกมากมาย กรณีตัวอยางทีเ่ ปนขาวโดงดังไปพักใหญ คือขาวเกียวกับเยาวชนนักศึกษา ่ หลายคนตางพากันไปเลนอินเทอรเน็ตคาเฟ ซึงผูประกอบการใชกลยุทธทางการตลาดโดยขาดจรรยาบรรณ ่  และจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม ดาวนโหลดโปรแกรม “แคมฟลอกซ” (Cam Frog)ใหลูกคาเขาไปใชบริการ กระทําการโชวลามกอนาจารใหผูใชบริการรายอื่นๆ รับชม ซึ่งเปน การกระทําที่ผิดตามกฎหมายอาญา ผู แสดงตองไดรับโทษทั้งการปรับและจําคุก กระทรวงวัฒนธรรมโดยศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ไดติดตาม พฤติกรรมนี้มาพักหนึ่งในการรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงทั้งหมดแจงหนวยงานทีรับผิดชอบดําเนินการตาม ่ กฎหมาย และประกอบกับการไดรับความรวมมือดวยดีจากเครือขายเฝาระวังทางวัฒนธรรม ซึงเปน ่ ผูประกอบการอินเทอรเน็ตที่คิดดีและทําดี ไดใหเบาะแส และรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติม จนทําใหปญหา  ดังกลาวไดรบการแกไขในทีสุด ศูนยเฝาระวังทางวัฒนธรรม ขอขอบคุณและแสดงความชื่นชมผูมสวน ั ่ ี เกี่ยวของในการใหความรวมมือทุกทาน ทุกหนวยงานมา ณ โอกาสนี้ หากจะกลาวไปแลว ปญหาสังคมที่กอดคอกันมากับเทคโนโลยีอันทันสมัยนั้น สวนหนึ่ง เปนปญหาที่ หนวยงานซึ่งรับผิดชอบสามารถปองกันหรือแกไขได แตสวนหนึงก็ตองยอมรับกันวา เรื่องเหลานั้นคือ ่ สัญญาณบงบอกถึงความออนแอทางสังคมและวัฒนธรรมของประเทศ ที่นาวิตกเมื่อเยาวชนคนหนุม สาวอันเปนกําลังในการพัฒนาประเทศชาติ กลับตกเปนเปานิ่งรอวันรวงหลนและลมสลายอันเกิดจาก การเสพยเทคโนโลยี และบริโภคขอมูลขาวสารอยางไรสติ ขาดการยั้งคิดและนับวันจะทวีความรุนแรง ยิ่งขึ้น ฟงดูอาจนากลัวแตความจริงก็เปนเชนนั้น วัยรุนและหนุมสาวในสังคมไทยยุคนี้ สวนใหญมัก สับสนและหลงลืมขอเท็จจริงบางอยางเกี่ยวกับตัวเองไป เพราะกระบวนการคิดอยางเปนเหตุเปนผลที่ จะชี้นําพวกเขาใหเดินไปในทิศทางที่ควรจะเปนนั้น ไดคอยๆถูกฆาตัดตอนและชี้นําโดยกระแสบริโภค นิยมแหงโลกาภิวัฒน จนแทบยากตอการเยียวยา อยางไรก็ตามหากจะกลาวอยางเปนธรรมและตรงไปตรงมา กระแสบริโภคนิยม เทคโนโลยีและการสื่อสารอันไรพรมแดนมิใชเรื่องเลวรายเสียทั้งหมด หากพิจารณากันอยาง
  • 8. จริงจัง จะพบวามันกลายเปนสิ่งจําเปนในการดําเนินชีวิตของมนุษย ประโยชนของมันมีมากมาย มหาศาล ซึงหากเราใชเปนและบริโภคดวยความมีสติรูเทาทัน ผลกระทบในดานลบของมันก็แทบจะไม ่ มีความหมาย การฝนตานและปฏิเสธจึงไมนาจะใชทางออกที่เหมาะสม ดังนั้นการรูจักเลือกสรรรับขอมูล ขาวสาร เลือกบริโภคสินคาและเทคโนโลยีโดยใชแนวคิดความพอเพียง นาจะเปนทางออกที่ดีทสุดอีกทาง ี่ เลือกหนึง่ เยาวชนควรจะไดรับการปลูกฝงแนวคิดความพอเพียงใหเขาใจอยางจริงจังตอเนื่อง จนสามารถใช เหตุผลในการแยกแยะเพื่อเลือกรับขอมูลขาวสารทีมีประโยชน บริโภคสินคาและเทคโนโลยีอยางรูเทา ่ ทัน เหมาะสมกับความตองการ กําลังเงิน สภาพแวดลอม ในจํานวนที่ไมมากไมนอยจนเกินไป และ การบริโภคนั้นตองไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ปลูกฝงและสรางภูมิคุมกันทางดานกระบวนการคิด โดยการใชเหตุผล กระตุนใหมีการฝกคิดอยางเปนระบบ จนสามารถเตรียมตัวพรอมรับการ  เปลี่ยนแปลงทางสังคมดานตางๆ ไดอยางเขาใจและปรับใชการเปลี่ยนแปลงนั้นใหเกิดประโยชนกบ ั ตัวเองและสังคมสวนรวมไดใหมากทีสุด จนสามารถมีภูมิคุมกันในการปองกันและรับผลกระทบในดานลบ ่ ที่อาจเกิดขึ้นได  แนนอนวายอมไมใชเรื่องงายทีจะทําใหเยาวชนซึ่งตกอยูในกระแสเชี่ยวกรากของ เทคโนโลยีลอตาลอ ่  ใจ และคอยแตจะเชิญชวนใหบริโภคอยางไรพรมแดนไรขีดจํากัด เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด และพฤติกรรมในชั่วขามคืน โดยเฉพาะในการปรับกระบวนการคิดการใชเหตุผล ซึ่งลวนเปนเรื่อง นามธรรมที่ตองใชเวลาในการคอยๆ ซึมซับ วิเคราะห และกวาจะถึงขั้นที่สามารถสังเคราะหมาใชไดใน ชีวิตจริง จนเกิดเปนภูมิคุมกันที่ถาวรยั่งยืนนั้น จะตองใชเวลาในการปลูกฝงที่ยาวนาน  สถาบันทีเ่ กี่ยวของไมวาจะเปนครอบครัว สถานศึกษา สื่อ และองคกรอื่นๆทั้งภาครัฐและเอกชนลวนมี หนาที่ตองรับผิดชอบโดยตรง ในการที่จะดูแลประคับประคองเทียนแหงความพอเพียง ไมใหดับวูบไป จนไมเหลือแสงสวางใดนําทาง ถึงเวลาหรือยังทีเ่ ราตองรวมมือรวมใจกันระดมสรรพกําลังในการหา มาตรการปองกันและแกไขปญหานี้อยางจริงจังและจริงใจเสียที  ปจจุบนสมรภูมสงครามลาอาณานิคมกลายเปนเรื่องเพอเจอ โลกใบนี้คงเหลือสมรภูมิเดียวที่ยงดําเนิน ั ิ ั ตอไปคือสมรภูมิแหงการ“ขาย” ในสงคราม “แยงชิงลูกคา” ขายทุกอยางที่ขวางหนา ซื้อทุกอยางที่ใจ ตองการ ชนะขาดคําเดียวคือยึดครอง “ลูกคา” ใหมากทีสุดและทําลายวัฒนธรรมดั้งเดิมนั้นใหสิ้นซาก ่ ไปอยางรวดเร็วและรุนแรง แลวสรางวัฒนธรรมใหม เปนวัฒนธรรมแหง “การบริโภคที่ไรพรมแดน” ซึ่ง โดยความเห็นสวนตัวของผูเขียน คิดวาเปนสงครามแทจริงซึงนากลัวทีสุดเพราะไมใชแคเรืองของการ ่ ่ ่ สูญเสียดินแดนเพียงอยางเดียว “หากแตสูญเสียสิ้น ซึ่งตัวตนและจิตวิญญาณ” ที่มา : http://www.oknation.net/blog/jessada5577/2010/06/17/entry-3