SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1. เสรีภาพ
แนวความคิดแบบตะวันตก เสรีภาพเป็นสิ่งที่สวยงาม ที่มนุษย์พึงแสวงหาและใครจะมาจากัด
เสรีภาพของเราไม่ได้ แต่แนวความคิดแบบตะวันออกกลับมองเสรีภาพเป็นกิเลสตัณหาของมนุษย์ที่เชื่อ
ว่าธรรมชาติสร้างให้มนุษย์มีเสรีภาพอย่างมหาศาลและมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น ยกตัวอย่าง เสรีภาพในการ
ผสมและสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือมนุษย์มีเสรีภาพในการผสมและสืบพันธุ์ตลอดเวลา หาก
เปรียบเทียบกับสัตว์ที่สามารถผสมและสืบพันธุ์แค่ในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ดังนั้น ในแนวความคิดแบบ
ตะวันออก หากต่างคนต่างใช้เสรีภาพเต็มที่ จนเกินขอบเขตของเสรีภาพที่ธรรมชาติให้ไว้ก็จะเกิดความ
วุ่นวายในสังคม อาทิ การผสมพันธุ์ที่เกินขอบเขตของเสรีภาพ คือการข่มขืน ยกตัวอย่างกรณีข่มขืน
เด็กหญิงอายุ 13 ปีบนรถไฟ กรณีนี้แสดงให้เห็นว่ามนุษย์กาลังใช้เสรีภาพเกินขอบเขตที่ธรรมชาติให้
โดยการไปละเมิดบุคคลอื่น เป็นต้น
2. เสมอภาค
แนวความคิดแบบตะวันตก ความเสมอภาคจะถูกมองในแนวราบ มีลักษณะเป็นโครงสร้างที่
แข็งทื่อ ยกตัวอย่าง การแบ่งเค้กหนึ่งก้อนให้เสมอภาคกันภายในครอบครัว ตะวันตกจะแบ่งเค้ก
ออกเป็น 3 ชิ้นให้แก่พ่อ แม่ และลูก ในทางกลับกัน แนวความคิดแบบตะวันออกจะมองทั้งในแนวราบ
กับระบอบประชาธิปไตย
การนาลัทธิขงจื๊อมาอธิบายระบอบประชาธิปไตย ในที่นี้จะใช้ฐานความคิดแบบทวินิยม ซึ่งจะขอ
กาหนดให้ลัทธิขงจื๊อเป็นตัวแทนแนวความคิดแบบตะวันออก และระบอบประชาธิปไตยเป็นตัวแทน
แนวความคิดแบบตะวันตก โดยจะอธิบายในประเด็นดังต่อไปนี้
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย"จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศ
ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1
ลาดพร้าว กรุงเทพฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
1
อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์
ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ฟาร์อีสต์ โปรเฟสชั่นแนล กรุ๊ป
แนวคิดของ
ลัทธิขงจื๊อ
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 1 / 2557
เอกสารวิชาการฉบับย่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
และในแนวดิ่ง ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะนิ่มนวลกว่า มีสายใยที่โอบรัดโครงสร้างนั้นๆ ยกตัวอย่างใน
เรื่องเดียวกัน ตะวันออกจะอธิบายว่า ต้องแบ่งเค้กให้ลูกเยอะกว่า เพราะลูกกาลังโต ส่วนลูกก็บอกว่า
ต้องแบ่งให้พ่อกับแม่เยอะกว่า เพราะพ่อแม่มีอายุแล้วต้องบารุงร่างกายให้แข็งแรง เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะ
เห็นได้ว่าตะวันออกจะมีสายใยที่โอบรัดโครงสร้างในส่วนนี้ในรูปแบบที่ว่าครอบครัวควรรักกันอย่างไร
เพื่อนฝูงควรรักกันอย่างไร และมนุษย์กับธรรมชาติควรรักกันอย่างไร ซึ่งตัวนี้เองที่ทาให้ตะวันออก มีอีก
หนึ่งคาที่มีความหมายและใช้ควบคู่ไปกับคาว่าเสมอภาค นั่นคือคาว่า “ความเหมาะสม”
3. รูปแบบเสียงข้างมาก
กระบวนการคัดเลือกบุคคลมาเป็นผู้แทนของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันใช้
วิธีการคัดเลือกผู้แทนโดยรูปแบบเสียงข้างมาก ซึ่งเสียงข้างมากในที่นี้ หมายถึง เสียงข้างมากของ
ประชาชนที่ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้ย่อมคาดหวังว่าจะได้ตัวแทนของประชาชนที่ดี มีคุณภาพจาก
กระบวนการคัดเลือก ในขณะเดียวกัน หากเรานาแนวความคิดของลัทธิขงจื๊อมาใช้อธิบาย ก็จะเกิด
คาถามที่ว่าเราจะรู้ได้อย่างไรว่าบุคคลที่ถูกเลือกจากเสียงข้างมากนั้น จะเป็นบุคคลที่ดีและมีคุณภาพ
เหมาะสมต่อการเป็นตัวแทนของประชาชนอย่างแท้จริง
ยกตัวอย่าง เหตุการณ์ที่ลูกศิษย์ถามขงจื๊อเกี่ยวกับเรื่องคนดีและคนเลว มีลูกศิษย์คนหนึ่งถาม
ขงจื๊อว่า “ถ้าคนในหมู่บ้านทั้งหมดว่าบุคคลนี้เป็นคนดี เขาเป็นคนดีไหม?” ขงจื๊อตอบว่า “ ไม่แน่เสมอ
ไป” ลูกศิษย์จึงถามต่อว่า “และถ้าคนในหมู่บ้านทั้งหมดว่าคนนี้เป็นคนเลว เขาเป็นคนเลวไหม?” ขงจื๊อ
ตอบว่า “ก็ไม่แน่” ลูกศิษย์ก็เลยถามขงจื๊อต่อไปอีกว่า “คนดีและคนเลวเป็นอย่างไร?” ขงจื๊อตอบว่า
“คนดี คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขาดี ส่วนคนเลวในหมู่บ้านว่าเขาเลว และคนเลว คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขา
เลว แต่คนเลวในหมู่บ้านว่าเขาดี” หากเรามองกระบวนการคัดเลือกในระบอบประชาธิปไตยที่ใช้เสียง
ข้างมากเป็นตัวตัดสินผ่านทางแนวความคิดของลัทธิขงจื๊อ จะเห็นได้ว่าขงจื๊อไม่ได้ดูเพียงแค่คนที่ถูก
เลือกมาเป็นตัวแทนแต่เพียงอย่างเดียว แต่ขงจื๊อดูไปถึงกลุ่มคนที่เป็นคนเลือกตัวแทนอีกด้วย ดัง
คาตอบที่ขงจื๊อตอบลูกศิษย์ว่า “คนดี คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขาดี และคนเลว คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขา
เลว” เป็นต้น
มากไปกว่านั้นหากมองกันดีๆ เสียงข้างมากที่ประชาธิปไตยหมายถึง แท้จริงแล้ว คือ เสียงข้าง
น้อย เพราะเป็นเสียงจากประชาชนเพียงบางส่วนที่ออกมาใช้สิทธิในการเลือกตั้ง ดังนั้นเสียงข้างมาก
เหล่านี้ จึงไม่ใช่เสียงข้างมากอย่างที่เราเข้าใจกัน และวิธีการนี้ก็ไม่สามารถ กลั่นกรองคนดีที่มีคุณภาพ
ได้จากการเอาเสียงข้างมากมาเป็นตัวชี้ขาด เนื่องจากเสียงทั้งหมดนั้น มีทั้งเสียงที่ดีและเลว ดังนั้น
คาถามคือเราจะได้ตัวแทนที่เป็นคนดีและมีคุณภาพจากเสียงที่ถูกผสมปนเปในรูปแบบนี้ได้อย่างไร
เพราะฉะนั้น ความแตกต่างของทั้งสองแนวคิดนี้ คือแนวคิดของระบอบประชาธิปไตยจะไม่
สนใจคุณภาพเท่าที่ควร แต่จะสนใจที่ตัวปริมาณและระบบในการคัดเลือกมากกว่า ในขณะที่ ลัทธิขงจื๊อ
จะสนใจที่คุณภาพและตัวบุคคลมากกว่า โดยมีเหตุผลที่ว่าคนดีหากไปอยู่ในระบบไหนก็ยังคงเป็นคนดี
2
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4. โปร่งใสตรวจสอบได้
คาว่า โปร่งใสตรวจสอบได้ เป็นคาที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตกในยุคสมัยใหม่ ในภาษาจีน
ใช้คาว่า โถ้วหมิง (tou ming : 透明) ซึ่งแต่ก่อนคนโบราณจะใช้คาว่า ฉุนเจี๋ย (chun jie: 纯洁) ที่
แปลว่า บริสุทธิ์ยกตัวอย่าง เปาปุ้นจิ้น เขาไม่ได้ใช้คาว่า “โปร่งใส” แต่ใช้คาว่า “บริสุทธิ์” ซึ่งหากเรา
เทียบดูระหว่าง 2 คานี้ คาว่า “โปร่งใส” ในแนวทางของตะวันตก จะเน้นไปที่กระบวนการ (Process)
แต่คาว่า “บริสุทธิ์” ในแนวทางตะวันออก จะเน้นไปภายในจิตใจมากกว่า ดังนั้นเราจึงไม่ควรมองเพียงที่
กายภาพภายนอก แต่ควรคานึงถึงเจตนารมณ์หรือจิตใจที่แท้จริงภายใน ยกตัวอย่าง การเก็บภาษีใน
ยุคสมัยปัจจุบันนี้ มีกระบวนการตรวจสอบความโปร่งใสอย่างจริงจัง แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีการตบแต่ง
บัญชีทางการเงินที่กระบวนการตรวจสอบความโปร่งใสนี้ไม่สามารถวัดได้ ฉะนั้นถ้าหากเรามุ่งเน้นไปที่
ความบริสุทธิ์ภายในตัวบุคคล ปัญหาเหล่านี้ก็จะเกิดขึ้นน้อยลง
5. ประเด็นแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในที่ประชุม
ในทัศนคติของศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้แสดงความคิดเห็นต่อการนาเสนอ
ของอาจารย์วิบูลย์ว่า ระบอบประชาธิปไตย ไม่ได้เป็นระบบที่ต้องการคนดี แต่ต้องการตัวแทนที่ถูก
เลือกโดยเสียงส่วนมาก ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะไม่ได้คนดีจากระบอบประชาธิปไตยนี้เลย
แต่ทั้งนี้ในหลายประเด็นที่ อ.วิบูลย์ นาเสนอ ศ.ดร.เอนก เห็นว่าเป็นแง่มุมด้านบวกเพียงด้านเดียว
เนื่องจากประเด็นเรื่อง ความโปร่งใส เสรีภาพ เสมอภาค มีที่มาจากความคิดดั้งเดิมที่เป็นความคิดใน
ด้านลบ ยกตัวอย่าง คนบางคนดูภายนอกแล้วเป็นคนมีธรรมะ แต่แท้จริงแล้วซ่อนความไม่ดีของตัวเอง
ไว้ข้างใน ในกรณีจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเขาเป็นคนดีมีธรรมมะจริงหรือไม่ เพราะความดีเหล่านั้นเป็น
เรื่องที่อยู่ภายใน ฉะนั้นจึงเกิดกระบวนการที่ทาให้โปร่งใสขึ้นมาเพื่อตรวจสอบความเป็นไปในเบื้องต้น
ทั้งนี้ประเด็นที่ควรให้ความสาคัญจึงอยู่ที่ว่าควรวัดคุณภาพความดีจากภายในอย่างไร
ทั้งนี้ อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์ ได้เสนอตอบกลับไปว่า การวัดคุณภาพความดีจาก
ภายใน ในสังคมทุกวันนี้เป็นเรื่องที่ทาได้ยาก เพราะขนาดของสังคมที่ใหญ่และสลับซับซ้อน ไม่สามารถ
เห็นผลงานของทุกคนได้เหมือนในสมัยก่อน ดังนั้น จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าแนวความคิดใดหรือวิธีการใด
ถูกต้อง แต่ขึ้นอยู่กับว่าสามารถสร้างความความสอดคล้องกับบริบทต่างๆในสังคมที่เปลี่ยนไปได้
หรือไม่ บริบทในที่นี้ คือ คน สถานที่ และยุคสมัย ซึ่งในแนวความคิดของขงจื๊อมีมาตรฐานที่กาหนดไว้
ชัดเจนตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ถูกต้องตามกาลเวลา (tian shi : 天时) ถูกต้องตามสถานที่
(di li : 地利) ถูกต้องกับคน (ren he : 人和) ถ้าหาก 3 คานี้สอดคล้องสมดุลย์กัน ก็จะเหมาะสมที่สุด
ยกตัวอย่าง การสร้างความชอบธรรมให้กับการใช้เสรีภาพที่เกินขอบเขต โดยไม่คานึงถึงเวลา สถานที่
และคน ผ่านหลักการเสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ เรายึดมั่นในหลักการเสียงข้าง
มากที่มาจากประชาธิปไตยของตะวันตก โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้องทางสถานที่ (di li : 地利)
หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับการนามาใช้ในประเทศไทยหรือไม่ โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้อง
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ตามกาลเวลา (tian shi : 天时) หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับ ณ เวลาในขณะนี้หรือไม่ และสุดท้าย
โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้องกับคน (ren he : 人和) หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับคนไทยหรือไม่
6. สรุปและข้อเสนอแนะ
ปัญหาของสังคมไทยในปัจจุบัน คือการรับเอาวัฒนธรรมและรูปแบบการปฏิบัติต่างๆ จาก
ตะวันตกมาใช้เพียงบางส่วน เช่น การรับเอาแนวทางการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยเข้ามาใช้ แต่
ไม่รับเอาวัฒนธรรมในด้านของจิตสานึกความเป็นพลเมืองที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบมา
ด้วย จึงกลายเป็นปัญหาของสังคมไทยในทุกวันนี้ ทั้งนี้ขงจื๊อได้อธิบายไว้โดยใช้คาว่า นาม (เจิ้งหมิง :
正名) หมายถึง ความเที่ยงแห่งนาม หากนามาอธิบายความหมายในบริบททางการเมืองไทยจะได้ว่า
รัฐบาลไม่เป็นรัฐบาล ข้าราชการไม่เป็นข้าราชการ พ่อแม่ไม่เป็นพ่อแม่ ลูกไม่เป็นลูก เพื่อนไม่เป็นเพื่อน
ยกตัวอย่าง นามหรือความเที่ยงของรัฐบาล คือต้องไม่คอร์รัปชั่น เพราะถ้าหากรัฐบาลคอร์รัปชั่นสังคมก็
จะเกิดปัญหา ดังนั้น จึงต้องไปแก้ให้นามมีความเที่ยงมากขึ้นสังคมจึงจะอยู่ได้
ในการสร้างความเที่ยงของนามนั้น สังคมไทยจะต้องทบทวน สร้าง และกาหนดจริยธรรมทาง
สังคม(Moral Capital) กับบทบาทหน้าที่(Role) ของแต่ละสิ่งในสังคมให้ชัดเจน ซึ่งมีได้หลายวิธี อาทิ
กระบวนการขัดเกลาปลูกฝัง (Socialization) ให้คนรู้จักละอายต่อการกระทาความผิดของตนเอง เป็นต้น
********************************************
4
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์
ศาสตราจารย์ ดร. ชลธิรา สัตยาวัฒนา รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์
อาจารย์ พิรุณ ฉัตรวนิชกุล อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล นาย อุกฤษฏ์ เฉลิม
แสน อาจารย์ ศิวพล ละอองสกุล นาย ธนพิชญ์ ภู่สว่าง
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา
ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1จารุ โสภาคะยัง
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมkrupayom
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมPloynaput Kritsornluk
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมSircom Smarnbua
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 1
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
เสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยินเสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยิน
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย

ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยThongkum Virut
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 

Similar to แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย (20)

ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
Inside out
Inside outInside out
Inside out
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย

  • 1. 1. เสรีภาพ แนวความคิดแบบตะวันตก เสรีภาพเป็นสิ่งที่สวยงาม ที่มนุษย์พึงแสวงหาและใครจะมาจากัด เสรีภาพของเราไม่ได้ แต่แนวความคิดแบบตะวันออกกลับมองเสรีภาพเป็นกิเลสตัณหาของมนุษย์ที่เชื่อ ว่าธรรมชาติสร้างให้มนุษย์มีเสรีภาพอย่างมหาศาลและมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น ยกตัวอย่าง เสรีภาพในการ ผสมและสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ กล่าวคือมนุษย์มีเสรีภาพในการผสมและสืบพันธุ์ตลอดเวลา หาก เปรียบเทียบกับสัตว์ที่สามารถผสมและสืบพันธุ์แค่ในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ดังนั้น ในแนวความคิดแบบ ตะวันออก หากต่างคนต่างใช้เสรีภาพเต็มที่ จนเกินขอบเขตของเสรีภาพที่ธรรมชาติให้ไว้ก็จะเกิดความ วุ่นวายในสังคม อาทิ การผสมพันธุ์ที่เกินขอบเขตของเสรีภาพ คือการข่มขืน ยกตัวอย่างกรณีข่มขืน เด็กหญิงอายุ 13 ปีบนรถไฟ กรณีนี้แสดงให้เห็นว่ามนุษย์กาลังใช้เสรีภาพเกินขอบเขตที่ธรรมชาติให้ โดยการไปละเมิดบุคคลอื่น เป็นต้น 2. เสมอภาค แนวความคิดแบบตะวันตก ความเสมอภาคจะถูกมองในแนวราบ มีลักษณะเป็นโครงสร้างที่ แข็งทื่อ ยกตัวอย่าง การแบ่งเค้กหนึ่งก้อนให้เสมอภาคกันภายในครอบครัว ตะวันตกจะแบ่งเค้ก ออกเป็น 3 ชิ้นให้แก่พ่อ แม่ และลูก ในทางกลับกัน แนวความคิดแบบตะวันออกจะมองทั้งในแนวราบ กับระบอบประชาธิปไตย การนาลัทธิขงจื๊อมาอธิบายระบอบประชาธิปไตย ในที่นี้จะใช้ฐานความคิดแบบทวินิยม ซึ่งจะขอ กาหนดให้ลัทธิขงจื๊อเป็นตัวแทนแนวความคิดแบบตะวันออก และระบอบประชาธิปไตยเป็นตัวแทน แนวความคิดแบบตะวันตก โดยจะอธิบายในประเด็นดังต่อไปนี้ ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย"จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศ ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม 2557 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) 1 อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ฟาร์อีสต์ โปรเฟสชั่นแนล กรุ๊ป แนวคิดของ ลัทธิขงจื๊อ โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที่ 1 / 2557 เอกสารวิชาการฉบับย่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. และในแนวดิ่ง ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะนิ่มนวลกว่า มีสายใยที่โอบรัดโครงสร้างนั้นๆ ยกตัวอย่างใน เรื่องเดียวกัน ตะวันออกจะอธิบายว่า ต้องแบ่งเค้กให้ลูกเยอะกว่า เพราะลูกกาลังโต ส่วนลูกก็บอกว่า ต้องแบ่งให้พ่อกับแม่เยอะกว่า เพราะพ่อแม่มีอายุแล้วต้องบารุงร่างกายให้แข็งแรง เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะ เห็นได้ว่าตะวันออกจะมีสายใยที่โอบรัดโครงสร้างในส่วนนี้ในรูปแบบที่ว่าครอบครัวควรรักกันอย่างไร เพื่อนฝูงควรรักกันอย่างไร และมนุษย์กับธรรมชาติควรรักกันอย่างไร ซึ่งตัวนี้เองที่ทาให้ตะวันออก มีอีก หนึ่งคาที่มีความหมายและใช้ควบคู่ไปกับคาว่าเสมอภาค นั่นคือคาว่า “ความเหมาะสม” 3. รูปแบบเสียงข้างมาก กระบวนการคัดเลือกบุคคลมาเป็นผู้แทนของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันใช้ วิธีการคัดเลือกผู้แทนโดยรูปแบบเสียงข้างมาก ซึ่งเสียงข้างมากในที่นี้ หมายถึง เสียงข้างมากของ ประชาชนที่ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้ย่อมคาดหวังว่าจะได้ตัวแทนของประชาชนที่ดี มีคุณภาพจาก กระบวนการคัดเลือก ในขณะเดียวกัน หากเรานาแนวความคิดของลัทธิขงจื๊อมาใช้อธิบาย ก็จะเกิด คาถามที่ว่าเราจะรู้ได้อย่างไรว่าบุคคลที่ถูกเลือกจากเสียงข้างมากนั้น จะเป็นบุคคลที่ดีและมีคุณภาพ เหมาะสมต่อการเป็นตัวแทนของประชาชนอย่างแท้จริง ยกตัวอย่าง เหตุการณ์ที่ลูกศิษย์ถามขงจื๊อเกี่ยวกับเรื่องคนดีและคนเลว มีลูกศิษย์คนหนึ่งถาม ขงจื๊อว่า “ถ้าคนในหมู่บ้านทั้งหมดว่าบุคคลนี้เป็นคนดี เขาเป็นคนดีไหม?” ขงจื๊อตอบว่า “ ไม่แน่เสมอ ไป” ลูกศิษย์จึงถามต่อว่า “และถ้าคนในหมู่บ้านทั้งหมดว่าคนนี้เป็นคนเลว เขาเป็นคนเลวไหม?” ขงจื๊อ ตอบว่า “ก็ไม่แน่” ลูกศิษย์ก็เลยถามขงจื๊อต่อไปอีกว่า “คนดีและคนเลวเป็นอย่างไร?” ขงจื๊อตอบว่า “คนดี คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขาดี ส่วนคนเลวในหมู่บ้านว่าเขาเลว และคนเลว คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขา เลว แต่คนเลวในหมู่บ้านว่าเขาดี” หากเรามองกระบวนการคัดเลือกในระบอบประชาธิปไตยที่ใช้เสียง ข้างมากเป็นตัวตัดสินผ่านทางแนวความคิดของลัทธิขงจื๊อ จะเห็นได้ว่าขงจื๊อไม่ได้ดูเพียงแค่คนที่ถูก เลือกมาเป็นตัวแทนแต่เพียงอย่างเดียว แต่ขงจื๊อดูไปถึงกลุ่มคนที่เป็นคนเลือกตัวแทนอีกด้วย ดัง คาตอบที่ขงจื๊อตอบลูกศิษย์ว่า “คนดี คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขาดี และคนเลว คือคนดีในหมู่บ้านว่าเขา เลว” เป็นต้น มากไปกว่านั้นหากมองกันดีๆ เสียงข้างมากที่ประชาธิปไตยหมายถึง แท้จริงแล้ว คือ เสียงข้าง น้อย เพราะเป็นเสียงจากประชาชนเพียงบางส่วนที่ออกมาใช้สิทธิในการเลือกตั้ง ดังนั้นเสียงข้างมาก เหล่านี้ จึงไม่ใช่เสียงข้างมากอย่างที่เราเข้าใจกัน และวิธีการนี้ก็ไม่สามารถ กลั่นกรองคนดีที่มีคุณภาพ ได้จากการเอาเสียงข้างมากมาเป็นตัวชี้ขาด เนื่องจากเสียงทั้งหมดนั้น มีทั้งเสียงที่ดีและเลว ดังนั้น คาถามคือเราจะได้ตัวแทนที่เป็นคนดีและมีคุณภาพจากเสียงที่ถูกผสมปนเปในรูปแบบนี้ได้อย่างไร เพราะฉะนั้น ความแตกต่างของทั้งสองแนวคิดนี้ คือแนวคิดของระบอบประชาธิปไตยจะไม่ สนใจคุณภาพเท่าที่ควร แต่จะสนใจที่ตัวปริมาณและระบบในการคัดเลือกมากกว่า ในขณะที่ ลัทธิขงจื๊อ จะสนใจที่คุณภาพและตัวบุคคลมากกว่า โดยมีเหตุผลที่ว่าคนดีหากไปอยู่ในระบบไหนก็ยังคงเป็นคนดี 2 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. 4. โปร่งใสตรวจสอบได้ คาว่า โปร่งใสตรวจสอบได้ เป็นคาที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตกในยุคสมัยใหม่ ในภาษาจีน ใช้คาว่า โถ้วหมิง (tou ming : 透明) ซึ่งแต่ก่อนคนโบราณจะใช้คาว่า ฉุนเจี๋ย (chun jie: 纯洁) ที่ แปลว่า บริสุทธิ์ยกตัวอย่าง เปาปุ้นจิ้น เขาไม่ได้ใช้คาว่า “โปร่งใส” แต่ใช้คาว่า “บริสุทธิ์” ซึ่งหากเรา เทียบดูระหว่าง 2 คานี้ คาว่า “โปร่งใส” ในแนวทางของตะวันตก จะเน้นไปที่กระบวนการ (Process) แต่คาว่า “บริสุทธิ์” ในแนวทางตะวันออก จะเน้นไปภายในจิตใจมากกว่า ดังนั้นเราจึงไม่ควรมองเพียงที่ กายภาพภายนอก แต่ควรคานึงถึงเจตนารมณ์หรือจิตใจที่แท้จริงภายใน ยกตัวอย่าง การเก็บภาษีใน ยุคสมัยปัจจุบันนี้ มีกระบวนการตรวจสอบความโปร่งใสอย่างจริงจัง แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีการตบแต่ง บัญชีทางการเงินที่กระบวนการตรวจสอบความโปร่งใสนี้ไม่สามารถวัดได้ ฉะนั้นถ้าหากเรามุ่งเน้นไปที่ ความบริสุทธิ์ภายในตัวบุคคล ปัญหาเหล่านี้ก็จะเกิดขึ้นน้อยลง 5. ประเด็นแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในที่ประชุม ในทัศนคติของศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้แสดงความคิดเห็นต่อการนาเสนอ ของอาจารย์วิบูลย์ว่า ระบอบประชาธิปไตย ไม่ได้เป็นระบบที่ต้องการคนดี แต่ต้องการตัวแทนที่ถูก เลือกโดยเสียงส่วนมาก ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะไม่ได้คนดีจากระบอบประชาธิปไตยนี้เลย แต่ทั้งนี้ในหลายประเด็นที่ อ.วิบูลย์ นาเสนอ ศ.ดร.เอนก เห็นว่าเป็นแง่มุมด้านบวกเพียงด้านเดียว เนื่องจากประเด็นเรื่อง ความโปร่งใส เสรีภาพ เสมอภาค มีที่มาจากความคิดดั้งเดิมที่เป็นความคิดใน ด้านลบ ยกตัวอย่าง คนบางคนดูภายนอกแล้วเป็นคนมีธรรมะ แต่แท้จริงแล้วซ่อนความไม่ดีของตัวเอง ไว้ข้างใน ในกรณีจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเขาเป็นคนดีมีธรรมมะจริงหรือไม่ เพราะความดีเหล่านั้นเป็น เรื่องที่อยู่ภายใน ฉะนั้นจึงเกิดกระบวนการที่ทาให้โปร่งใสขึ้นมาเพื่อตรวจสอบความเป็นไปในเบื้องต้น ทั้งนี้ประเด็นที่ควรให้ความสาคัญจึงอยู่ที่ว่าควรวัดคุณภาพความดีจากภายในอย่างไร ทั้งนี้ อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์ ได้เสนอตอบกลับไปว่า การวัดคุณภาพความดีจาก ภายใน ในสังคมทุกวันนี้เป็นเรื่องที่ทาได้ยาก เพราะขนาดของสังคมที่ใหญ่และสลับซับซ้อน ไม่สามารถ เห็นผลงานของทุกคนได้เหมือนในสมัยก่อน ดังนั้น จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าแนวความคิดใดหรือวิธีการใด ถูกต้อง แต่ขึ้นอยู่กับว่าสามารถสร้างความความสอดคล้องกับบริบทต่างๆในสังคมที่เปลี่ยนไปได้ หรือไม่ บริบทในที่นี้ คือ คน สถานที่ และยุคสมัย ซึ่งในแนวความคิดของขงจื๊อมีมาตรฐานที่กาหนดไว้ ชัดเจนตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ถูกต้องตามกาลเวลา (tian shi : 天时) ถูกต้องตามสถานที่ (di li : 地利) ถูกต้องกับคน (ren he : 人和) ถ้าหาก 3 คานี้สอดคล้องสมดุลย์กัน ก็จะเหมาะสมที่สุด ยกตัวอย่าง การสร้างความชอบธรรมให้กับการใช้เสรีภาพที่เกินขอบเขต โดยไม่คานึงถึงเวลา สถานที่ และคน ผ่านหลักการเสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ เรายึดมั่นในหลักการเสียงข้าง มากที่มาจากประชาธิปไตยของตะวันตก โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้องทางสถานที่ (di li : 地利) หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับการนามาใช้ในประเทศไทยหรือไม่ โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้อง 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. ตามกาลเวลา (tian shi : 天时) หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับ ณ เวลาในขณะนี้หรือไม่ และสุดท้าย โดยไม่ได้คานึงถึงความถูกต้องกับคน (ren he : 人和) หมายถึง หลักการนี้เหมาะสมกับคนไทยหรือไม่ 6. สรุปและข้อเสนอแนะ ปัญหาของสังคมไทยในปัจจุบัน คือการรับเอาวัฒนธรรมและรูปแบบการปฏิบัติต่างๆ จาก ตะวันตกมาใช้เพียงบางส่วน เช่น การรับเอาแนวทางการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยเข้ามาใช้ แต่ ไม่รับเอาวัฒนธรรมในด้านของจิตสานึกความเป็นพลเมืองที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบมา ด้วย จึงกลายเป็นปัญหาของสังคมไทยในทุกวันนี้ ทั้งนี้ขงจื๊อได้อธิบายไว้โดยใช้คาว่า นาม (เจิ้งหมิง : 正名) หมายถึง ความเที่ยงแห่งนาม หากนามาอธิบายความหมายในบริบททางการเมืองไทยจะได้ว่า รัฐบาลไม่เป็นรัฐบาล ข้าราชการไม่เป็นข้าราชการ พ่อแม่ไม่เป็นพ่อแม่ ลูกไม่เป็นลูก เพื่อนไม่เป็นเพื่อน ยกตัวอย่าง นามหรือความเที่ยงของรัฐบาล คือต้องไม่คอร์รัปชั่น เพราะถ้าหากรัฐบาลคอร์รัปชั่นสังคมก็ จะเกิดปัญหา ดังนั้น จึงต้องไปแก้ให้นามมีความเที่ยงมากขึ้นสังคมจึงจะอยู่ได้ ในการสร้างความเที่ยงของนามนั้น สังคมไทยจะต้องทบทวน สร้าง และกาหนดจริยธรรมทาง สังคม(Moral Capital) กับบทบาทหน้าที่(Role) ของแต่ละสิ่งในสังคมให้ชัดเจน ซึ่งมีได้หลายวิธี อาทิ กระบวนการขัดเกลาปลูกฝัง (Socialization) ให้คนรู้จักละอายต่อการกระทาความผิดของตนเอง เป็นต้น ******************************************** 4 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศาสตราจารย์ ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อาจารย์ วิบูลย์ ตั้งกิตติภาภรณ์ ศาสตราจารย์ ดร. ชลธิรา สัตยาวัฒนา รองศาสตราจารย์ ดร.จานง สรพิพัฒน์ อาจารย์ พิรุณ ฉัตรวนิชกุล อาจารย์ วรศักดิ์มหัทธโนบล นาย อุกฤษฏ์ เฉลิม แสน อาจารย์ ศิวพล ละอองสกุล นาย ธนพิชญ์ ภู่สว่าง โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม : นาย ฮากีม ผูหาดา ผู้ประสานงาน : อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์ : พฤศจิกายน 2557 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต