SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
นวัตกรรมทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับบริบท
ของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง
ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียน
การสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง
(Realistic)และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อน
ทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบ
มาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหา
วิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย
ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่
โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอ
รหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน
หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-
directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถกาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ
ความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning)
และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แก่ผู้เรียนคนอื่นๆได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญ
สถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อม
ทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา
นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน
บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถ
นาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพได้
ภารกิจที่ 1
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบ ที่ประสาน
ร่วมกันระหว่าง “สื่อ(Media)” กับ “วิธีการ(Methods)” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของ
สื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
สามารถแยกตามบริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อ
ได้ 3 ลักษณะคือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
(3) ชุดสร้างความรู้
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนมหาชัย
ใช้ E-Learning ในการเรียนการสอนมาประยุกต์ กลยุทธ์การเรียนการสอนโดย
1. ใช้เว็บเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการจาแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ
2. ใช้เว็บเป็นสื่อกลางของการร่วมมือ สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยน และสื่อสาร
3. ใช้เว็บเป็นสื่อกลางในการมีส่วนร่วมในประสบการณ์จาลอง การทดลองฝึกหัด
และการมีส่วนร่วมคิด
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
นาสื่อมัลติมีเดียมาใช้เพื่อการเรียนการสอนในลักษณะแผ่นซีดีรอม หรืออาจใช้
ในลักษณะห้องปฏิบัติการมัลติมีเดีย มัลติมีเดียสามารถที่จะนาเสนอได้ทั้งเสียง
ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟิก ภาพถ่ายวัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์ และ
วีดิทัศน์ ประกอบกับสามารถที่จะจาลองภาพของการเรียนการสอนที่ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแบบเชิงรุก
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ในการเรียนการสอน
เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการลงมือกระทาหรือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการ
คิด และอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์
ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา (Schema)
ภารกิจที่ 3
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรม
การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่สอน
พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
นาสถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) มาใช้ในการเรียนการสอน
โดยขั้นแรกนาเสนอปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ปัญหา
ต่อมาให้ผู้เรียนคิดหาวิธีการแก้ไขปัญหา โดยครูเป็นผู้ให้คาแนะนา
จากนั้นให้ผู้เรียนนาเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาหน้าชั้นเรียน
ในลาดับสุดท้ายครูเป็นผู้สรุปเนื้อหาทั้งหมดในการเรียนการสอน
จากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของเพียเจต์เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ที่ก่อให้เกิด
ความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict)หรือเรียกว่าเกิดการเสียสมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้อง
พยายามปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่ภาวะสมดุล(Equilibrium)โดยการดูดซึม(Assimilation)หรือ
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา(Accommodation)จนกระทั่งผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทาง
ปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลหรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง
ใช้สื่อมัลติมีเดียและสื่ออุปกรณ์ในการเรียนการสอน
Pattern block
โปรแกรม GSP
โปรแกรม GSP จะช่วยให้การเรียนสาระเรขาคณิตเข้าใจและเห็นภาพ
ได้มากขึ้น และ pattern จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้เรื่อง
รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม ในแต่ละชนิด ได้ด้วยตัวเอง
ยึดหลักจิตวิทยาการเรียนรู้มาจัดสภาพการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการ
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนได้ประกอบ
กิจกรรมด้วยตนเอง และมีผลย้อนกลับทันทีว่าตอบถูกหรือตอบผิด มีการ
เสริมแรงทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิในและต้องการที่จะเรียนต่อไป ได้
เรียนรู้ ทีละน้อยๆ ตามลาดับขั้น ตามความสามารถและความสนใจของ
แต่ละคน
สมาชิกในกลุ่ม
นายณัฐกิจ ภารประดับ 553050072-6
น.ส.ดุจรัตน์ดา กาไรศิลป์ 553050074-2
นายธนวัฒน์ โททุมพล 553050076-8

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 

What's hot (13)

Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 

Viewers also liked

ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตBome Fado
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2Popeep Popy
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษากอ หญ้า
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6Popeep Popy
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3Popeep Popy
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4Bow Tananya
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดVi Mengdie
 

Viewers also liked (14)

Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Temp
TempTemp
Temp
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 
บทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัตบทที่ 7นวัต
บทที่ 7นวัต
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
การช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3
 
สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4สถานการณ์บทที่ 4
สถานการณ์บทที่ 4
 
งานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ดงานบทที่เจ็ด
งานบทที่เจ็ด
 

Similar to Inno present chapt7

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 

Similar to Inno present chapt7 (16)

Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 

Inno present chapt7