SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน  ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกในพงศาวดารว่า นันทบุรี มีพื้นที่กว้างใหญ่ เป็นอันดับ  13  ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางเป็นอันดับที่  3  ของประเทศ พื้นที่เต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน และมีลำน้ำหลายสายเช่น ลำน้ำน่าน ลำน้ำว้า ทั้งยังมีประชากรหลายชาติพันธุ์ นับว่าเป็นดินแดนของความหลากหลายอีกแห่งหนึ่งของประเทศ จังหวัดน่าน
“ แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างดำ  จิตรกรรมวัดภูมินทร์ แดนดินส้มสีทอง  เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง ” คำขวัญประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด รูปพระธาตุแช่แห้งอยู่บนหลังโคอุศุภราช   ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
ดอกไม้ประจำจังหวัด :  ดอกเสี้ยวดอกขาว  ( ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Bauhinia variegata Linn.)
ต้นไม้ประจำจังหวัด :  กำลังเสือโคร่ง  ( ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Betula alnoides Buch.-Ham.)
เมืองน่าน  เริ่มปรากฏขึ้นราว พ . ศ .  1825  ภายใต้การนำของพญาภูคา ศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองย่าง   ( เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้ ของแม่น้ำย่าง ใกล้เทือกเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว ตำบลยม อำเภอท่าวังผา )  เพราะปรากฏร่องรอย ชุมชนในสภาพที่เป็นคูน้ำ คันดิน กำแพงเมืองซ้อน กันอยู่ ต่อมาพระยาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตรบุญธรรม  2  คน ไปสร้างเมืองใหม่ โดย ขุนนุ่น ผู้พี่ไปสร้างเมืองจันทบุรี  ( เมืองพระบาง )  และ ขุนฟองผู้น้องสร้างเมืองวรนครหรือเมืองปัว  ประวัติศาสตร์เมืองน่าน
ในปี พ . ศ .  2446  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เลือนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น  " พระเจ้านครน่าน "  มีพระนามปรากฏตามสุพรรณปัฏว่า  " พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุรมหาราชวงศา ธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ "  เป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน   และในปี พ . ศ .  2474  เจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน ถึงแก่พิราลัย ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครก็ถูกยุบเลิกตั้งแต่นั้นมา ส่วนหอคำได้ใช้เป็น ศาลากลางจังหวัดน่าน จนปี พ . ศ .  2511  จังหวัดน่าน ได้มอบหอคำให้กรมศิลปากร ใช้เป็นสถานที่จัดตั้ง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน
พื้นที่จังหวัดน่าน มีเขตแดนด้านเหนือและตะวันออกติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านใต้ติดกับจังหวัดอุตรดิตถ์ ทางตะวันตกติดกับจังหวัดพะเยาและจังหวัดแพร่ นอกจากนี้แล้วจังหวัดน่านยังมีด่านเข้าออกกับประเทศลาวหลายแห่งด้วยกัน เช่น จุดผ่านแดนถาวรสากลห้วยโก๋น - น้ำเงิน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ , จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน  อำเภอสองแคว และจุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง  อำเภอทุ่งช้าง   อาณาเขต
จังหวัดน่านมีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาซึ่งวางตัวในแนวเหนือ - ใต้ โดยเฉพาะบริเวณชายแดนด้านเหนือและตะวันออกซึ่งเป็นรอยต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีดอยภูคาในเขตอำเภอปัว เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด คือมีความสูงถึง  1 , 980  เมตร ส่วนพื้นที่ราบจะอยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัด และตามลุ่มน้ำต่างๆ ภูมิศาสตร์
แหล่งน้ำที่สำคัญของจังหวัดคือแม่น้ำน่าน ซึ่งมีต้นกำเนิดทางตอนเหนือของจังหวัด แล้วไหลลงไปยังเขื่อนสิริกิติ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ และบรรจบกับแม่น้ำปิงที่จังหวัดนครสวรรค์เป็นแม่น้ำเจ้าพระยา ยังมีลำน้ำสาขาต่าง ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำสา นอกจากนี้ลำน้ำว้า ลำน้ำสมุน ลำน้ำปัว ลำน้ำย่าง ลำน้ำแหง เป็นต้น
มีลักษณะอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อนแบบ  3  ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว โดยมีความแตกต่างของฤดูอย่างชัดเจน -  ฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคม  -  เมษายน อากาศร้อนถึงร้อนจัด  ( สถิติอุณภูมิสูงสุด  44.1  องศาเซลเซียส เมื่อวันที่  12  เมษายน พ . ศ . 2502)  -  ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม  -  กันยายน มีฝนตกชุก จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้  -  ฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม  -  กุมภาพันธ์ อากาศหนาวถึงหนาวจัด จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ  ( สถิติอุณภูมิต่ำสุด  2.7  องศาเซลเซียส เมื่อวันที่  25  ธันวาคม พ . ศ . 2542) ภูมิอากาศ
กลุ่มชาติพันธุ์ ประชากรในจังหวัดน่านมีอยู่อย่างเบาบางเป็นอันดับ  3  ของประเทศ  ( ประมาณ  41  คนต่อตารางกิโลเมตร )  กระจัดกระจายไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1.  ชาวไทยวน หรือ คนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงแสนและบริเวณต่างๆ ของล้านนา ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด
2.  ชาวไทลื้อ  ( ไทลื้อ ,  ไทยอง ) ส่วนใหญ่อพยพมาจากสิบสองปันนาและหัวเมืองต่างๆ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ชาวไทลื้ออาศัยตั้งบ้านเรือน อยู่กระจัดกระจายตามลุ่มน้ำต่างๆ ในจังหวัดน่านมีมากที่สุด คือ อำเภอปัวแทบทุกตำบล อำเภอท่าวังผา อำเภอสองแคว อำเภอเชียงกลาง และอำเภอทุ่งช้าง เลยไปถึงอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
3.  ชาวไทพวน หรือ ลาวพวน ตั้งบ้านเรือนที่บ้านฝายมูล อำเภอท่าวังผา และบ้านหลับมืนพวน อำเภอเวียงสา  4.  ชาวไทเขิน หรือ ชาวขึน อพยพมาจากเชียงตุง ปัจจุบันส่วนใหญ่จะถูกกลืนทางวัฒนธรรมจากคนเมือง และถูกชาวไทลื้อกลืนวัฒนธรรมจนไม่เหลือเค้าของชาวไทเขิน 5.  ชาวไทใหญ่ หรือ เงี้ยว หรือ ไตโหลง มีถิ่นฐานในรัฐฉาน และเชียงตุง อาศัยอยู่บริเวณแถวอำเภอทุ่งช้าง ในปัจจุบันถูกกลืนวัฒนธรรมจนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นชาวไทใหญ่
อุทยาน วนอุทยาน สวนรุกขชาติ มีจำนวนอุทยานแห่งชาติ  7  แห่ง ,   วนอุทยาน  1  แห่ง และสวนรุกขชาติ  2  แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติดอยภูคา   อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของจังหวัดน่าน มีอาณาเขตกว้างขวางเป็นอันดับ  4   ของประเทศ โดยมีพื้นที่ประมาณ  1,065,000   ไร่ หรือ  1,704   ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมในท้องที่  8   อำเภอของจังหวัดน่าน
อุทยานแห่งชาติศรีน่าน  มีพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่อำเภอนาหมื่น อำเภอนาน้อย อำเภอเวียงสา ตามแนวสองฟากฝั่งลำน้ำน่าน จนไปสิ้นสุดที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ มีเนื้อที่ประมาณ  640,237.50   ไร่ หรือ  1,024.38   ตารางกิโลเมตร สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ ดอยเสมอดาว ผาหัวสิงห์ ผาชู้ เสาดิน แก่งหลวง
อุทยานแห่งชาติแม่จริม   อยู่ในอำเภอแม่จริม มีเนื้อที่ประมาณ  270,000   ไร่ หรือ  432   ตารางกิโลเมตร มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เด่นคือ การล่องแก่งลำน้ำว้า
อุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน  อยู่ในท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเชียงกลาง อำเภอทุ่งช้าง อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน และอำเภอเชียงคำ อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีพื้นที่ประมาณ  155,200   ไร่ หรือ  248.32   ตารางกิโลเมตร
อุทยานแห่งชาตินันทบุรี  มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเมืองน่าน อำเภอบ้านหลวง เนื้อที่ประมาณ  548,125   ไร่ หรือ  877   ตารางกิโลเมตร พื้นที่แห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ สำคัญแห่งหนึ่งในอดีต เคยอยู่ภายใต้อิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย มีการต่อสู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
อุทยานแห่งชาติขุนสถาน  มีพื้นที่ครอบคลุมป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ ในท้องที่อำเภอนาน้อย และอำเภอนาหมื่น เนื้อที่ประมาณ  262,000   ไร่ หรือ  419.2   ตารางกิโลเมตร
อุทยานแห่งชาติ ขุนน่าน  ครอบคลุมพื้นที่อำเภอบ่อเกลือ มีพรรณไม้และสัตว์ป่าที่น่าสนใจมากมาย มีพื้นที่ประมาณ  155,375   ไร่ หรือ  248.6   ตารางกิโลเมตร
วนอุทยานถ้ำผาตูบ   อยู่ในท้องที่บ้านผาตูบ ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน มีเนื้อที่ประมาณ  528   ไร่  สวนรุกขชาติแช่แห้ง  ตั้งอยู่ที่ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง โดยมีอาณาเขตติดกับวัดพระธาตุแช่แห้ง มีเนื้อที่ประมาณ  72   ไร่  สวนรุกขชาติห้วยน้ำอุ่น   อยู่ในท้องที่ตำบลอ่ายนาไลย อำเภอเวียงสา มีเนื้อที่ประมาณ  400   ไร่
แหล่งท่องเที่ยว
  พระธาตุแช่แห้งหรือ วัดพระธาตุแช่แห้ง  หมู่  3   บ้านหนองเต่า ตำบลม่วงตี๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เดิมเป็นวัดราษฎร์ ปัจจุบันเป็นพระอารามหลวง ประดิษฐานอยู่ ณ อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากตัวเมืองออกไปประมาณ  3   กิโลเมตร องค์พระธาตุตั้งอยู่บนเนินเขาลูกเตี้ย ๆ เป็นสีทองสุกปลั่ง สามารถมองเห็นได้แต่ไกล เนื่องจากสูงถึง  2   เส้น เป็นอนุสรณ์ของความรักและความสัมพันธ์ ระหว่างเมืองน่านกับเมืองสุโขทัยในอดีต
อุทยานแห่งชาติดอยภูคา  ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น ป่าต้นน้ำ ป่าดึกดำบรรพ์ปลายทางหิมาลัย ขุนเขาใต้ทะเล อุทยานแห่งชาติดอยภูคา มีพื้นที่ประมาณ  1,680   ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่หลายอำเภอ ได้แก่ ท่าวังผา ปัว เชียงกลาง ทุ่งช้าง บ่อเกลือ สันติสุข และแม่จริม เทือกเขาดอยภูคาประกอบด้วยแนวภูเขาสูงสลับซับซ้อน ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของปลายเทือกเขาหิมาลัย โดยมียอดภูคาเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของจังหวัดน่าน สูงถึง  1,980   เมตร
แก่งหลวง  เกิดจากแนวหินน้อยใหญ่ที่กระจัดกระจายอยู่ในแม่น้ำน่าน รวมทั้งโขดหินและหน้าผา ยามหน้าน้ำจะมีเสียงน้ำกระทบโขดหินดังกึกก้อง ยามหน้าแล้งจะมองเห็นแนวโขดหินอย่างสวยงาม การเดินทางให้ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข   1083 ( นาน้อย - ปางไฮ )  จากปากทางถึงแก่งหลวงประมาณ  35  กิโลเมตร
เสาดินและคอกเสือ  เกิดจากการพังทลายของดินเป็นพื้นที่กว้างประมาณ  20  ไร่ กระจัดกระจายไปตามสภาพพื้นที่ โดยมีป่าเต็งรังขึ้นอยู่ประปราย ลักษณะของเสาดินคล้ายแกรนด์แคนยอน เหมือนกับแพะเมืองผีของจังหวัดแพร่ เสาดินและคอกเสือตั้งอยู่ที่ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ไปตามเส้นทาง เวียงสา - นาน้อย ประมาณ  5  กิโลเมตร
จุดชมวิวผาชู้  เป็นจุดชมวิวที่ติดกับถนนที่เป็นหน้าผาใหญ่โดดเด่น สามารถมองเห็นทิวทัศน์และแม่น้ำน่านที่ทอดตัวคดเคี้ยวไปตามที่ราบลุ่มอย่างงดงาม การเดินทางให้ไปตามเส้นทางเดียวกับทางไปแก่งหลวง แต่ถึงก่อนแก่งหลวง จะมองเห็นวิวทิวทัศน์ของแม่น้ำน่านและสภาพป่าไม้ที่สวยงามตลอดจนโขดหินและหน้าผาต่างๆ
จุดชมวิวดอยเสมอดาวและผาหัวสิงห์   :  เป็นจุดที่ชมทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้า ซึ่งท่านสามารถมองเห็นได้รอบทิศทาง เห็นวิวทิวทัศน์ของแม่น้ำน่านที่ทอดยาวในหุบเขาและเห็ยยอดผาชู้ที่ตั้งตระหง่านอยู่ข้างหน้ารวมทั้งมองเห็นบ้านพักและที่ทำการอุทยานฯ ในตอนเย็นท่านสามารถมองเห็นพระอาทิตย์ตกได้ด้วยและสามารถมองเห็นตัวเมืองนาน้อย ไร่ นา ของชาวบ้าน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน  อยู่ที่ถนนผากอง ตรงข้ามกับวัดพระธาตุช้างค้ำ ใกล้กับวัดภูมินทร์ เป็นอาคารแบบยุโรปซึ่งเข้ามาในสมัยรัชกาลที่  5   ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองน่าน เดิมเป็น  “ หอคำ ”  ซึ่งเป็นที่ประทับและที่ว่าราชการของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน สร้างเมื่อปี พ . ศ .  2475   ใช้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดแห่งแรกของจังหวัดน่าน ต่อมาในปี พ . ศ .  2517   อาคารแห่งนี้ได้รับการปรับปรุงอีกครั้งให้เป็นสถานที่ตั้งพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติน่าน
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี  “ จังหวัดน่าน ,”   ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดน่าน .  4   พ . ย .  2553  < ( http :// th . wikipedia . org / wiki> .  4   พ . ย .  2553   บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์  “ อุทยานแห่งชาติศรีน่าน ,”   อุทยานแห่งชาติศรีน่าน .  4   พ . ย .  2553  < ( http :/ / www . oceansmile . com / N / Nan / NANm7 . htm> . 4   พ . ย .  2553   . Kapok  “ แหล่งท่องเที่ยว จ . น่าน ,”   น่าน เมืองในหุบเขา .  4   พ . ย . 2553< ( http :// travel . kapook . com / view7171 . html ).  4   พ . ย .  2554 บรรณานุกรม
จัดทำโดย นางสาว ยุวดี โภควิบูลย์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/2  เลขที่  21  เสนอ คุณครู สฤษดิ์คักดิ์  ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด

More Related Content

Viewers also liked

Toffler’s three waves-timeline[2]
Toffler’s three waves-timeline[2]Toffler’s three waves-timeline[2]
Toffler’s three waves-timeline[2]Arbernice Rouse
 
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้งอาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้งSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readiness
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise ReadinessLong-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readiness
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readinesssjkiwai
 

Viewers also liked (7)

Toffler’s three waves-timeline[2]
Toffler’s three waves-timeline[2]Toffler’s three waves-timeline[2]
Toffler’s three waves-timeline[2]
 
9 octobre 2011
9 octobre 20119 octobre 2011
9 octobre 2011
 
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้งอาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
อาชีพผู้ช่วยผู้กำกับและแคสติ้ง
 
Questions
QuestionsQuestions
Questions
 
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readiness
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise ReadinessLong-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readiness
Long-Term Support for Eclipse - the next step in Enterprise Readiness
 
Info sources mass com
Info sources mass comInfo sources mass com
Info sources mass com
 
ออสเตรีย (Austria)
ออสเตรีย (Austria)ออสเตรีย (Austria)
ออสเตรีย (Austria)
 

Similar to จังหวัดน่าน

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxpinglada1
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxpinglada1
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายOraya Saekhu
 
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริงานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริPare Taepthai
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าjarudee
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1neena5339
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 

Similar to จังหวัดน่าน (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
จังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบี่ จังหวัดกระบี่
จังหวัดกระบี่
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคายที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
ที่ท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
3
33
3
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริงานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
งานนำเสนอ1 โครงการพระราชดำริ
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
 
South america
South americaSouth america
South america
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1
 
จังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายกจังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายก
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จังหวัดน่าน

  • 2. จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกในพงศาวดารว่า นันทบุรี มีพื้นที่กว้างใหญ่ เป็นอันดับ 13 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ พื้นที่เต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน และมีลำน้ำหลายสายเช่น ลำน้ำน่าน ลำน้ำว้า ทั้งยังมีประชากรหลายชาติพันธุ์ นับว่าเป็นดินแดนของความหลากหลายอีกแห่งหนึ่งของประเทศ จังหวัดน่าน
  • 3. “ แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างดำ จิตรกรรมวัดภูมินทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง ” คำขวัญประจำจังหวัด
  • 5. ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกเสี้ยวดอกขาว ( ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia variegata Linn.)
  • 6. ต้นไม้ประจำจังหวัด : กำลังเสือโคร่ง ( ชื่อวิทยาศาสตร์ : Betula alnoides Buch.-Ham.)
  • 7. เมืองน่าน เริ่มปรากฏขึ้นราว พ . ศ . 1825 ภายใต้การนำของพญาภูคา ศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองย่าง ( เชื่อกันว่าคือบริเวณริมฝั่งด้านใต้ ของแม่น้ำย่าง ใกล้เทือกเขาดอยภูคาในเขตบ้านเสี้ยว ตำบลยม อำเภอท่าวังผา ) เพราะปรากฏร่องรอย ชุมชนในสภาพที่เป็นคูน้ำ คันดิน กำแพงเมืองซ้อน กันอยู่ ต่อมาพระยาภูคา ได้ขยายอาณาเขตปกครองของตนออกไปให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยส่งราชบุตรบุญธรรม 2 คน ไปสร้างเมืองใหม่ โดย ขุนนุ่น ผู้พี่ไปสร้างเมืองจันทบุรี ( เมืองพระบาง ) และ ขุนฟองผู้น้องสร้างเมืองวรนครหรือเมืองปัว ประวัติศาสตร์เมืองน่าน
  • 8. ในปี พ . ศ . 2446 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เลือนยศฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น &quot; พระเจ้านครน่าน &quot; มีพระนามปรากฏตามสุพรรณปัฏว่า &quot; พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุรมหาราชวงศา ธิบดี สุริตจารีราชนุภาวรักษ์ วิบูลยศักดิ์กิติไพศาล ภูบาลบพิตรสถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ &quot; เป็นพระเจ้านครน่านองค์แรก และองค์เดียวในประวัติศาสตร์น่าน และในปี พ . ศ . 2474 เจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน ถึงแก่พิราลัย ตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครก็ถูกยุบเลิกตั้งแต่นั้นมา ส่วนหอคำได้ใช้เป็น ศาลากลางจังหวัดน่าน จนปี พ . ศ . 2511 จังหวัดน่าน ได้มอบหอคำให้กรมศิลปากร ใช้เป็นสถานที่จัดตั้ง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน
  • 9. พื้นที่จังหวัดน่าน มีเขตแดนด้านเหนือและตะวันออกติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านใต้ติดกับจังหวัดอุตรดิตถ์ ทางตะวันตกติดกับจังหวัดพะเยาและจังหวัดแพร่ นอกจากนี้แล้วจังหวัดน่านยังมีด่านเข้าออกกับประเทศลาวหลายแห่งด้วยกัน เช่น จุดผ่านแดนถาวรสากลห้วยโก๋น - น้ำเงิน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ , จุดผ่อนปรนบ้านใหม่ชายแดน อำเภอสองแคว และจุดผ่อนปรนบ้านห้วยสะแตง อำเภอทุ่งช้าง อาณาเขต
  • 10. จังหวัดน่านมีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาซึ่งวางตัวในแนวเหนือ - ใต้ โดยเฉพาะบริเวณชายแดนด้านเหนือและตะวันออกซึ่งเป็นรอยต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีดอยภูคาในเขตอำเภอปัว เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด คือมีความสูงถึง 1 , 980 เมตร ส่วนพื้นที่ราบจะอยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัด และตามลุ่มน้ำต่างๆ ภูมิศาสตร์
  • 11. แหล่งน้ำที่สำคัญของจังหวัดคือแม่น้ำน่าน ซึ่งมีต้นกำเนิดทางตอนเหนือของจังหวัด แล้วไหลลงไปยังเขื่อนสิริกิติ์ในจังหวัดอุตรดิตถ์ และบรรจบกับแม่น้ำปิงที่จังหวัดนครสวรรค์เป็นแม่น้ำเจ้าพระยา ยังมีลำน้ำสาขาต่าง ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ลำน้ำสา นอกจากนี้ลำน้ำว้า ลำน้ำสมุน ลำน้ำปัว ลำน้ำย่าง ลำน้ำแหง เป็นต้น
  • 12. มีลักษณะอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อนแบบ 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว โดยมีความแตกต่างของฤดูอย่างชัดเจน - ฤดูร้อน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน อากาศร้อนถึงร้อนจัด ( สถิติอุณภูมิสูงสุด 44.1 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ . ศ . 2502) - ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - กันยายน มีฝนตกชุก จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ - ฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ อากาศหนาวถึงหนาวจัด จากอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ( สถิติอุณภูมิต่ำสุด 2.7 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ . ศ . 2542) ภูมิอากาศ
  • 13. กลุ่มชาติพันธุ์ ประชากรในจังหวัดน่านมีอยู่อย่างเบาบางเป็นอันดับ 3 ของประเทศ ( ประมาณ 41 คนต่อตารางกิโลเมตร ) กระจัดกระจายไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์ แบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ชาวไทยวน หรือ คนเมือง ส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงแสนและบริเวณต่างๆ ของล้านนา ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด
  • 14. 2. ชาวไทลื้อ ( ไทลื้อ , ไทยอง ) ส่วนใหญ่อพยพมาจากสิบสองปันนาและหัวเมืองต่างๆ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ชาวไทลื้ออาศัยตั้งบ้านเรือน อยู่กระจัดกระจายตามลุ่มน้ำต่างๆ ในจังหวัดน่านมีมากที่สุด คือ อำเภอปัวแทบทุกตำบล อำเภอท่าวังผา อำเภอสองแคว อำเภอเชียงกลาง และอำเภอทุ่งช้าง เลยไปถึงอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
  • 15. 3. ชาวไทพวน หรือ ลาวพวน ตั้งบ้านเรือนที่บ้านฝายมูล อำเภอท่าวังผา และบ้านหลับมืนพวน อำเภอเวียงสา 4. ชาวไทเขิน หรือ ชาวขึน อพยพมาจากเชียงตุง ปัจจุบันส่วนใหญ่จะถูกกลืนทางวัฒนธรรมจากคนเมือง และถูกชาวไทลื้อกลืนวัฒนธรรมจนไม่เหลือเค้าของชาวไทเขิน 5. ชาวไทใหญ่ หรือ เงี้ยว หรือ ไตโหลง มีถิ่นฐานในรัฐฉาน และเชียงตุง อาศัยอยู่บริเวณแถวอำเภอทุ่งช้าง ในปัจจุบันถูกกลืนวัฒนธรรมจนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นชาวไทใหญ่
  • 16. อุทยาน วนอุทยาน สวนรุกขชาติ มีจำนวนอุทยานแห่งชาติ 7 แห่ง , วนอุทยาน 1 แห่ง และสวนรุกขชาติ 2 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของจังหวัดน่าน มีอาณาเขตกว้างขวางเป็นอันดับ 4 ของประเทศ โดยมีพื้นที่ประมาณ 1,065,000 ไร่ หรือ 1,704 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมในท้องที่ 8 อำเภอของจังหวัดน่าน
  • 17. อุทยานแห่งชาติศรีน่าน มีพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่อำเภอนาหมื่น อำเภอนาน้อย อำเภอเวียงสา ตามแนวสองฟากฝั่งลำน้ำน่าน จนไปสิ้นสุดที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ มีเนื้อที่ประมาณ 640,237.50 ไร่ หรือ 1,024.38 ตารางกิโลเมตร สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ได้แก่ ดอยเสมอดาว ผาหัวสิงห์ ผาชู้ เสาดิน แก่งหลวง
  • 18. อุทยานแห่งชาติแม่จริม อยู่ในอำเภอแม่จริม มีเนื้อที่ประมาณ 270,000 ไร่ หรือ 432 ตารางกิโลเมตร มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เด่นคือ การล่องแก่งลำน้ำว้า
  • 19. อุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน อยู่ในท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเชียงกลาง อำเภอทุ่งช้าง อำเภอสองแคว จังหวัดน่าน และอำเภอเชียงคำ อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีพื้นที่ประมาณ 155,200 ไร่ หรือ 248.32 ตารางกิโลเมตร
  • 20. อุทยานแห่งชาตินันทบุรี มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอท่าวังผา อำเภอเมืองน่าน อำเภอบ้านหลวง เนื้อที่ประมาณ 548,125 ไร่ หรือ 877 ตารางกิโลเมตร พื้นที่แห่งนี้เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ สำคัญแห่งหนึ่งในอดีต เคยอยู่ภายใต้อิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย มีการต่อสู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
  • 21. อุทยานแห่งชาติขุนสถาน มีพื้นที่ครอบคลุมป่าฝั่งขวาแม่น้ำน่านตอนใต้ ในท้องที่อำเภอนาน้อย และอำเภอนาหมื่น เนื้อที่ประมาณ 262,000 ไร่ หรือ 419.2 ตารางกิโลเมตร
  • 22. อุทยานแห่งชาติ ขุนน่าน ครอบคลุมพื้นที่อำเภอบ่อเกลือ มีพรรณไม้และสัตว์ป่าที่น่าสนใจมากมาย มีพื้นที่ประมาณ 155,375 ไร่ หรือ 248.6 ตารางกิโลเมตร
  • 23. วนอุทยานถ้ำผาตูบ อยู่ในท้องที่บ้านผาตูบ ตำบลผาสิงห์ อำเภอเมืองน่าน มีเนื้อที่ประมาณ 528 ไร่ สวนรุกขชาติแช่แห้ง ตั้งอยู่ที่ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง โดยมีอาณาเขตติดกับวัดพระธาตุแช่แห้ง มีเนื้อที่ประมาณ 72 ไร่ สวนรุกขชาติห้วยน้ำอุ่น อยู่ในท้องที่ตำบลอ่ายนาไลย อำเภอเวียงสา มีเนื้อที่ประมาณ 400 ไร่
  • 25. พระธาตุแช่แห้งหรือ วัดพระธาตุแช่แห้ง หมู่ 3 บ้านหนองเต่า ตำบลม่วงตี๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เดิมเป็นวัดราษฎร์ ปัจจุบันเป็นพระอารามหลวง ประดิษฐานอยู่ ณ อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากตัวเมืองออกไปประมาณ 3 กิโลเมตร องค์พระธาตุตั้งอยู่บนเนินเขาลูกเตี้ย ๆ เป็นสีทองสุกปลั่ง สามารถมองเห็นได้แต่ไกล เนื่องจากสูงถึง 2 เส้น เป็นอนุสรณ์ของความรักและความสัมพันธ์ ระหว่างเมืองน่านกับเมืองสุโขทัยในอดีต
  • 26. อุทยานแห่งชาติดอยภูคา ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น ป่าต้นน้ำ ป่าดึกดำบรรพ์ปลายทางหิมาลัย ขุนเขาใต้ทะเล อุทยานแห่งชาติดอยภูคา มีพื้นที่ประมาณ 1,680 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่หลายอำเภอ ได้แก่ ท่าวังผา ปัว เชียงกลาง ทุ่งช้าง บ่อเกลือ สันติสุข และแม่จริม เทือกเขาดอยภูคาประกอบด้วยแนวภูเขาสูงสลับซับซ้อน ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของปลายเทือกเขาหิมาลัย โดยมียอดภูคาเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของจังหวัดน่าน สูงถึง 1,980 เมตร
  • 27. แก่งหลวง เกิดจากแนวหินน้อยใหญ่ที่กระจัดกระจายอยู่ในแม่น้ำน่าน รวมทั้งโขดหินและหน้าผา ยามหน้าน้ำจะมีเสียงน้ำกระทบโขดหินดังกึกก้อง ยามหน้าแล้งจะมองเห็นแนวโขดหินอย่างสวยงาม การเดินทางให้ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1083 ( นาน้อย - ปางไฮ ) จากปากทางถึงแก่งหลวงประมาณ 35 กิโลเมตร
  • 28. เสาดินและคอกเสือ เกิดจากการพังทลายของดินเป็นพื้นที่กว้างประมาณ 20 ไร่ กระจัดกระจายไปตามสภาพพื้นที่ โดยมีป่าเต็งรังขึ้นอยู่ประปราย ลักษณะของเสาดินคล้ายแกรนด์แคนยอน เหมือนกับแพะเมืองผีของจังหวัดแพร่ เสาดินและคอกเสือตั้งอยู่ที่ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ไปตามเส้นทาง เวียงสา - นาน้อย ประมาณ 5 กิโลเมตร
  • 29. จุดชมวิวผาชู้ เป็นจุดชมวิวที่ติดกับถนนที่เป็นหน้าผาใหญ่โดดเด่น สามารถมองเห็นทิวทัศน์และแม่น้ำน่านที่ทอดตัวคดเคี้ยวไปตามที่ราบลุ่มอย่างงดงาม การเดินทางให้ไปตามเส้นทางเดียวกับทางไปแก่งหลวง แต่ถึงก่อนแก่งหลวง จะมองเห็นวิวทิวทัศน์ของแม่น้ำน่านและสภาพป่าไม้ที่สวยงามตลอดจนโขดหินและหน้าผาต่างๆ
  • 30. จุดชมวิวดอยเสมอดาวและผาหัวสิงห์ : เป็นจุดที่ชมทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้า ซึ่งท่านสามารถมองเห็นได้รอบทิศทาง เห็นวิวทิวทัศน์ของแม่น้ำน่านที่ทอดยาวในหุบเขาและเห็ยยอดผาชู้ที่ตั้งตระหง่านอยู่ข้างหน้ารวมทั้งมองเห็นบ้านพักและที่ทำการอุทยานฯ ในตอนเย็นท่านสามารถมองเห็นพระอาทิตย์ตกได้ด้วยและสามารถมองเห็นตัวเมืองนาน้อย ไร่ นา ของชาวบ้าน
  • 31. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน อยู่ที่ถนนผากอง ตรงข้ามกับวัดพระธาตุช้างค้ำ ใกล้กับวัดภูมินทร์ เป็นอาคารแบบยุโรปซึ่งเข้ามาในสมัยรัชกาลที่ 5 ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่นเมืองน่าน เดิมเป็น “ หอคำ ” ซึ่งเป็นที่ประทับและที่ว่าราชการของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เจ้าผู้ครองนครน่าน สร้างเมื่อปี พ . ศ . 2475 ใช้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดแห่งแรกของจังหวัดน่าน ต่อมาในปี พ . ศ . 2517 อาคารแห่งนี้ได้รับการปรับปรุงอีกครั้งให้เป็นสถานที่ตั้งพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติน่าน
  • 32. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี “ จังหวัดน่าน ,” ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดน่าน . 4 พ . ย . 2553 < ( http :// th . wikipedia . org / wiki> . 4 พ . ย . 2553 บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ “ อุทยานแห่งชาติศรีน่าน ,” อุทยานแห่งชาติศรีน่าน . 4 พ . ย . 2553 < ( http :/ / www . oceansmile . com / N / Nan / NANm7 . htm> . 4 พ . ย . 2553 . Kapok “ แหล่งท่องเที่ยว จ . น่าน ,” น่าน เมืองในหุบเขา . 4 พ . ย . 2553< ( http :// travel . kapook . com / view7171 . html ). 4 พ . ย . 2554 บรรณานุกรม
  • 33. จัดทำโดย นางสาว ยุวดี โภควิบูลย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เลขที่ 21 เสนอ คุณครู สฤษดิ์คักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด