SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
www.miracele-medicine.com
....วันนี้เราไดโปรยเมล็ดดอกไมลงบนแปลง เราคงไมรูหรอกวา ดอกที่จะขึ้นนั้นจะ
เปนสีแดง หรือสีขาว.....แตอยางนอยวันนี้ดอกไมที่โปรยนั้นก็ไดมีโอกาสที่จะงอก
ขึ้นมาในแปลงที่ครั้งหนึ่งมีแตความวางเปลา และไรความหวัง....
                                                           น.สพ. ศุภเสกข ศรจิตติ
Spinal Cord Injury
Facts and Figures About Spinal Cord Injury in USA

•   There are an estimated 10,000 to 12,000 spinal cord injuries every year in
    the United States.
•   A quarter of a million Americans are currently living with spinal cord injuries.
•   The cost of managing the care of spinal cord injury patients approaches $4
    billion each year.
•   38.5 percent of all spinal cord injuries happen during car accidents. Almost
    a quarter, 24.5 percent, are the result of injuries relating to violent
    encounters, often involving guns and knifes. The rest are due to sporting
    accidents, falls, and work-related accidents.
•   55 percent of spinal cord injury victims are between 16 and 30 years old.
•   More than 80 percent of spinal cord injury patients are men
    Source: Facts and Figures at a Glance, May 2001. National Spinal Cord
    Injury Statistical Center.
Spinal Cord
• Cervical spinal nerves : ควบคุมสัญญานประสาทในสวนของหลัง
  ของศีรษะ คอ และบริเวณไหล รวมถึงบริเวณมือ และกระบังลม
• Thoracic spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทในสวนของ
  กลามเนื้อหนาอก กลามเนื้อบางสวนของหลัง และบางสวนของทอง
• Lumbar spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทที่ต่ํากวาในสวน
  ของทอง หลัง เอว สะโพก บางสวนของระบบสืบพันธุภายนอก และบางสวน
  ของขา
• Sacral spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทสวนของตนขา
  และสวนลางของขา เทา ระบบสืบพันธุดานใน และบริเวณรอบๆของรูทวาร
กายา
ประวัติ และขอมูลเบื้องตน
• สุนัขพันธุลาบลาดอร สีดํา เพศผู อายุ 4 ป น้ําหนัก 41 กิโลกรัม
• CC. ตกจากชั้นสองของบาน เมื่อวันศุกรที่ 18 เมษายน 2551
   สาเหตุของการตก เกิดจากเปนสุนัขขี้เลน และตามคนขึนไปเลนที่ชนสองของบาน ซึงใช
                                                            ้        ั้      ่
   ตนไมเปนที่กน สุนัขไดวงซิกแซกตามตนไมทปลูกกั้นไวและไดตกลงมาและไมสามารถ
                 ั้         ิ่                       ี่
   ใชขาหลังเดิน หรือทรงตัว ไมสามารถควบคุมการขับถายอุจจาระ และปสสาวะ
• Px. จากการตรวจโดยการคลํา ไมพบการหักของกระดูกขา และสะโพก มีการเจ็บมากเมื่อ
   จับบริเวณสันหลัง และไมมีการตอบสนองของระบบประสาท ทังสวนของ Deep Pain
                                                                   ้
   reflex และ Sensory Pain Reflex
• X-rays พบวา เกิดการหักของกระดูกสันหลังทังหมด 4 ตําแหนง
                                                   ้
ผลการตรวจวินิจฉัย
• จากฟลมเอกซเรยพบกระดูกสัน
  หลังหัก ในสวนของ Spine ทั้ง
  ดานบนและดานขาง บริเวณ L5
  และ L6
• พบภาวะ Spondylosis ที่ T13-
  L3 และ L4-L7
• พบวามีภาวะเลือดจางเล็กนอย
  คาตับสูงขึ้น (SGPT,ALK )
ผลการตรวจเลือด (25/4/2551)
•   RBC 5,400,000 cell       s/µL     WBC          21,100    per µL
•   HB        13.1           g/dL
                                      Band-N           0      %
•   Hct       39.7           %
•   MCV       73.6            fl      Seg-N           93      %
•   MCH       24.3           pg       Lymphocyte        3     %
•   MCHC       33.0          %        Monocyte          2     %
•   Bl. Morphology : Nomal
                                      Eosiniphil        2     %
•   Platelets         79,000 per µL
•   Blood Paracite  : Not Found       N-RBC             -   /100WBC




SGPT (ALT)         198.5    IU/L
BUN                  11.9 mg/dL
Creatinine            0.7   mg/dL
Alk.Phos.           177.1   IU/L
ผลการตรวจเลือด (27/4/2551) กอนผาตัด
•   RBC 5,190,000 cell        s/µL         WBC          60,000    per µL
•   HB        13.4           g/dL
•   Hct       38.2            %            Band-N           0      %
•   MCV       73.7             fl          Seg-N           94      %
•   MCH       25.9            pg
                                           Lymphocyte        4     %
•   MCHC       35.1           %
•   Bl. Morphology : Anisocytosis some     Monocyte          2     %
                      Polychromasia some   Eosiniphil        0     %
•   Platelets 317,000       per µL
                                           N-RBC             -   /100WBC




SGPT (ALT)          222.2   IU/L
BUN                  12.7 mg/dL
Creatinine            1.1   mg/dL
Alk.Phos.           289.8   IU/L
การรักษาเบื้องตน (วันที่ 18-19 เมษายน 2551)
• แพทยใหยาปฏิชีวนะ ยาลดการอักเสบแบบสเตียรอยด ยาบํารุงเลือด ยาบํารุงตับ
• แพทยทานแรกแนะนําดูอาการ และคาดวาอาจจะไมสามารถทําการผาตัดได
  เนื่องจากสุนัขมีขนาดใหญ
• สงเคสตอไปยังอาจารยผูเชี่ยวชาญตอไป
การรักษาตอมา
• 22/4/2551 : ทําการเอกซเรยเพิ่มเติมในทานอนหงาย เพื่อประเมินสภาพ
  ของกระดูกสันหลังที่หัก และเพื่อ วางแผนการรักษา
• 23/4/2551 : ประสานงานกับอาจารยคณะสัตวแพทยศาสตร จุฬา ใน
  สวนของภาควิชาศัลยกรรม สัตวบาล และ พยาธิวิทยา เพื่อทําการรักษา
  โดยการผาตัดแกไข รวมกับการทําสเต็มเซลล
• 24/4/51 : พบ ผศ.น.สพ.ดร.กัมปนาท สุนทรวิภาต เพื่อวางแนว
  ทางการรักษา และนัดทําการผาตัดและฉีดสเต็มเซลลในวันอาทิตยที่
  27/4/51
แผนการรักษา
•   ผาตัดแกไขสวนของกระดูกสันหลังที่หัก เพื่อลดการกดทับบริเวณ
    เสนประสาทไขสันหลัง
•   ฉีดสเต็มเซลลที่แยกไดจากไขกระดูกของสุนัข ที่น้ําไขสันหลัง เพื่อฟนฟู
    ระบบประสาทสวนที่เสียหาย
การแบงทีมการรักษา
•   ทีมผาตัด (ผศ.น.สพ.ดร. กัมปนาท สุนทรวิภาต, ภาควิชาศัลยศาสตร คณะ
    สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
•   ทีมพยาธิวิทยา (รศ.สพ.ญ.ดร. อัจฉริยา ไศละสูต, ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะ
    สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
•   ทีมดูแลหลังการผาตัด (ผศ.สพ.ญ.ดร. อุตรา จามีกร, ภาควิชาสัตวบาล คณะ
    สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
•   ทีมคัดแยกสเต็มเซลล (น.สพ. ศุภเสกข ศรจิตติ, บริษัท มิราเซล เมดิซีน
    จํากัด)
•   ทีมที่ปรึกษา : น.พ. จอน ยังพิชิต
                   รศ.น.พ. ไพโรจน วิทูรพณิช
การคัดแยกสเต็มเซลล
          Density Gradient based processing

• ไดมาจากไขกระดูก ปริมาณเบื้องตน 50 ml
• ใชเทคนิค Density Gradient Based Processing
  ชวยในการแยกเซลล
• แยกภายใตระบบปด (Closed system)
• ควบคุมการปลอดเชื้อ (Sterile system)
คุณสมบัตสเต็มเซลลทใชรักษา
                      ิ          ี่
• เปนสเต็มเซลลททาใหบริสุทธิ์ในระดับ 2 ชนิด (Mononuclear Cells)
                 ี่ ํ
• จัดเปน Cocktail Stem Cells เพราะวาประกอบไปดวยสเต็มเซลลหลากหลายชนิด
• ยังคงมีคณสมบัติของสเต็มเซลลพนฐาน เชน Homing, Differentiation, Anti-
          ุ                      ื้
  Inframmation, Anti-Apoptosis, Neo-Vascularization and
  Throphic support
ตารางการรักษา (เริม ศุกรที่ 25/4/51)
                             ่
•   Day 1         : ตรวจเลือดเบื้องตน, ฉีดยากระตุน G-CSF
•   Day 2         : ฉีดยากระตุน G-CSF
•   Day 3         : ผาตัด ฉีดสเต็มเซลล และเก็บตัวอยางไขกระดูก
•   Day 4-17 : ฉีด Low dose G-CSF ติดตามผลการรักษา ในวันที่
    14,30,60 และ 90 วัน หลังการรักษา

    หมายเหตุ การรักษาจะเปลี่ยนแปลงโดยการพิจารณาจากคาเลือด
South Korea, Park et al. (2005)
 ไดมีการศึกษาการรักษาผูปวยที่เปนอัมพาตจํานวน 6 คน โดยการใชส
 เต็มเซลลที่ไดมาจากไขกระดูกของผูปวยเอง รวมกับการฉีดยา GM-
 CSF และติดตามผลการรักษา 6-18 เดือน พบวา 4 ใน 6 ปวยมี
 การทํางานของระบบประสาทดีขึ้น 2 ระดับ (ASIA grade)
          In South Korea, Park et al. (2005) evaluated the
          therapeutic efficacy of combining autologous
          BMSC transplantation, administered directly into
          the spinal cord lesion site, with granulocyte macrophage-
          colony stimulating factor (GM-CSF),
          given subcutaneously, in six patients with complete
          SCIs. At the 6- and 18-month follow-up periods,
          four of the six patients showed neurological
          improvements by two ASIA grade (from ASIA A
          to ASIA C)


                      Progress in Brain Research, Vol. 161,2007
G-CSF




“Cocktail Stem Cells”




               แผนผังแสดงแนวความคิดในการรักษา
ผลการรักษาเปรียบเทียบการใชสเต็มเซลล รักษาอัมพาตในสุนข, ประเทศเกาหลี
                                                      ั

                                        J. Vet. Sci. (2007), 8(3), 275–282
Mean conduction velocities calculated from the
somatosensory evoked potentials at week 0, 4 and 8




                                 J. Vet. Sci. (2007), 8(3), 275–282
Basso, Beattie and Bresnahan (BBB) locomotor rating scale scores plotted against time. There
was no statistical significance in BBB scores from 1 to 3 weeks. Groups IV, III, and II scored
higher than those in group I from 4 to 7 weeks. From 8 to 9 weeks, there was significant
differences between groups IV > III and either III or II > I, but no significant difference between II
and III. From 10 to 12 weeks, there was a difference for group IV > III, III > II, and II > I. Sham = gap
filled with fibrin glue (group I); G = fibrin glue + subcutaneous granulocyte colony-stimulating
factor (G-CSF) injection (group II); N = fibrin glue + neuronal stem cells (group III); G+N = fibrin
glue + neuronal stem cells + subcutaneous G-CSF injection (group IV).

                                       J Clin Neurosci (2008),
Hind limb functional assessment with the hind limb
motor function scale (Farooque et al., 2001; Table 1). Time
course of hind limb functional recovery
ความคาดหวังที่จะไดรับหลังการปลูกถายสเต็มเซลล
• มีความสามารถในการควบคุมระบบขับถายได
• ฟนฟูระบบประสาทสวนกลาง (ไขสันหลัง) ใหสามารถทํางานได
  ดีขึ้น
• ลดการอักเสบ บวม ของระบบประสาท
• เพิ่มเสนเลือดไปเลี้ยงระบบประสาทบริเวณที่เสียหายใหมากขึ้น
• ลดการทําลายเซลลบริเวณรอยโรค
ขั้นตอนการเจาะไขกระดูก
ขั้นตอนในหองปฏิบัติการณ
ผล LAB Hematology (BM) กอนและหลังการ Purify
PRE                                     POST
• WBC                34,300 per µL      • WBC              13,500 per µL
• Neutrophil             69     %       • Neutrophil            67    %
• Lymphocyte                4     %     • Lymphocyte            23    %
• Monocyte                 4    %       • Monocyte               2     %
• Eosinophil               0    %       • Eosinophil             0    %
• Basophil                 0     %      • Basophil               0     %
• Atypical Lymphocyte      1     %      • Atypical Lymphocyte     0    %
• Band                    22    %       • Band                   7    %
• RBC             3,350,000 per µL      • RBC               50,000 per µL
• Hb                      9.8   g/dL    • Hb                    0.1   g/dL
• Hct                    24.3   %       • Hct                   0.4   %
• MCV                    72.6    fl     • MCV                   0     fl
• MCH                    29.2    pg     • MCH                   0     pg
• MCHC                   40.3    g/dL   • MCHC                  0     g/dL
• Platelets Ct.     172,000 per µL      • Platelets Ct.    39,000 per µL
• RBC Morphology : Polychromasia few,   • Blast Cells           1     %
  Microcyte 1+, Creanated cell seen,    • NRBC                  6 Cells/100WBC
  NRBC 12 cell/100 WBC
                                        • Correctted WBC      12,736 per µL
• Corrected WBC 30,625 per µL
Blood Processing

•   Volume of blood pre processing                  43              ml.
•   Nucleated cell count pre processing             34.3 × 106  cells/ml.
•   Total nucleated cell count pre processing       14.75 × 108 cells/ml.

•   Volume of blood post processing                 45                 ml.
•   Nucleated cell count post processing            13.5 × 106      cells/ml.
•   Total nucleated cell count post processing       6.08 × 108     cells/ml.

•   % Recovery                                       41.22              %
•   % Viability            Pre processing            95                 %
•   % Viability            Post processing          85                  %
•   Sterility Test                               No contamination
Pre & Post Purify




              Pre   Post
Viability     95%   88%
Deplete RBC         98.5%
รูปขันตอนการฉีดกลับ
     ้
ผลการตรวจเลือด (2/5/2551)
•   RBC 3,450,000 cell        s/µL              WBC          19,200       per µL
•   HB          8.4           g/dL
                                                Band-N           0         %
•   Hct       26.4            %
                                                Seg-N           85         %
•   MCV       76.5             fl
•   MCH       24.4            pg                Lymphocyte      11          %
•   MCHC       31.9           %                 Monocyte          4         %
•   Bl. Morphology : Aniso 1+,Sherocyte some,
                                                Eosiniphil        0         %
    Polychromasia 1+
•   Platelets          210,000 per µL           N-RBC             2   cell /100WBC
•   Blood Paracite   : Not Found



SGPT (ALT)          62.3     IU/L
BUN                 18.0     mg/dL
Creatinine           0.9     mg/dL
Alk.Phos.          888.6    IU/L
ผลหลังการปลูกถายสเต็มเซลล 5 วัน
• RBC ลดลง
• WBC กลับสูปกติ
               
• SGPT ลดลง
• ALK. Phos. สูงขึน้
• Creatinine และ BUN ไมมีความแตกตาง
• ขาหลังขวาพบวามี Deep pain reflex เล็กนอย
• ขาหลังซายเกร็งเมื่อทําการกระตุน Deep pain
                                 
• โคนหางมีการขยับไดเล็กนอย
• เริ่มสามารถควบคุมการขับถาย และรองเรียก
  เมื่อตองการขับถาย
• คาตับลดลงอยางเห็นไดชัด
• คา MNCs ที่ไดหลังผานการคัดแยกอยูที่ 149 Mil.cells (45 ml.)
• กรณีคาเม็ดเลือดแดงที่พบต่ําลงเปนผลมาจากการดูดเลือดออกจากไขกระดูกเพื่อทีจะนําไปคัดแยกส
                                                                              ่
  เต็มเซลล และคาดวาจะกลับสูระดับปกติภายใน 21-30 หลังจากการปลูกถานสเต็มเซลล
• คาเม็ดเลือดขาวที่ลดลงสอดคลองกับขอมูลวิชาการที่ผานมา ซึ่งจะพบวาคาของเม็ดเลือดขาวจะกลับ
  สูสภาวะปกติภายใน 3-7 วันหลังจากการหยุดฉีดยา G-CSF
     
• กรณีคาตับลดลงนาจะเปนผลมาจากการฉีดสเต็มเซลลเขาในหลอดเลือดดํา ซึ่งจะชวยลดคาตับทีสง ่ ู
  ผิดปกติได
• กรณีคา Alkaline Phosphatase มีคาสูงขึ้นนาจะเปนผลมาจากการซอมแซมกระดูกในสวนทีถูกเจาะ
                                                                                      ่
  รูเพื่อทําการดูดเลือดจากไขกระดูก
• จากการใชคีมหนีบตามสวนตางๆของขาสุนขโดยไลจากสะโพกลงไป พบวาสุนขเริ่มตอบสนองตอ
                                              ั                             ั
  ความเจ็บปวดอยางเห็นไดชัด แตปฏิกิริยานี้จะลดลงในสวนบริเวณของปลายเทา
• หางของสุนัขสามารถรับความรูสึกได และเมื่อเจ็บสามารถที่จะเลื่อนหางหนีได
• สุนัขเริ่มมีความสามารถในการควบคุมระบบขับถายไดดีขึ้น และสามารถสงเสียงรองเรียกเมื่อ
  ตองการขับถาย
ผลการตรวจเลือด (15/5/2551)
•   RBC 4,440,000 cell       s/µL     WBC          17,300       per µL
•   HB        11.9           g/dL
                                      Band-N           0         %
•   Hct       34.9           %
                                      Seg-N           75         %
•   MCV       78.6            fl
•   MCH       26.8           pg       Lymphocyte      17          %
•   MCHC      34.1           %        Monocyte          5         %
•   Bl. Morphology : Aniso some
                                      Eosiniphil        3         %
•   Platelets        375,000 per µL
                                      N-RBC             0   cell /100WBC
•   Blood Paracite : Not Found




SGPT (ALT)          39.5     IU/L
BUN                 10.3     mg/dL
Creatinine           0.8    mg/dL
Alk.Phos.          361.9    IU/L
Plasmalipidimia       1+
ผลการตรวจเลือด (27/5/2551)
•   RBC 4,710,000 cell       s/µL        WBC          10,800       per µL
•   HB        11.5           g/dL
                                         Band-N           0         %
•   Hct       36.3           %
                                         Seg-N           95         %
•   MCV       77.1            fl
•   MCH       24.4           pg          Lymphocyte        4         %
•   MCHC      31.6           %           Monocyte          1         %
•   Bl. Morphology : Aniso some
                                         Eosiniphil        0         %
•   Platelets        375,000 per µL
                                         N-RBC             0   cell /100WBC
•   Blood Paracite : Not Found




SGPT (ALT)          67.5         IU/L
BUN                 ไมไดตรวจ   mg/dL
Creatinine           0.8         mg/dL
Alk.Phos.          237.6         IU/L
ภาพวีดีโอ 30 วัน หลังการปลูกถายสเต็มเซลล
สรุปผลการรักษา 30 วันหลังการปลูกถายสเต็มเซลล
• สุนัขมีการพัฒนาของระบบประสาทอยางเห็นไดชัดเจนในสวนของการใชโคนขา
  หลัง มีการเคลื่อนไหวของขอสะโพกที่ชัดเจน และการกระดิกหางมีชัดเจนมากขึ้น
  อยางเห็นไดชัด
• สุนัขมีคาการทํางานของตับ (ALT) ดีขึ้น และสามารถรักษาระดับคานี้ไดดีถึงแมวา
  จะผานไป 30 วัน รวมถึงคา Alk. Phos. ที่ดีขึ้นเชนกัน
• สุนัขมีการควบคุมการขับถายอุจจาระ ปสสาวะไดดีกวา 5 วันแรกหลังการปลูก
  ถายสเต็มเซลล
• Sensory Pain Reflex ยังคงมีพัฒนาการที่มากขึ้นกวาชวง 5 วันแรกที่ทําการปลูก
  ถายสเต็มเซลล
• Deep pain พบไดบาง แตจะตองกระตุนรุนแรงถึงจะเห็นปฏิกิริยาตอบสนอง
บทวิจารณ
การรักษาสุนัขที่เปนอัมพาตดวยการใชสเต็มเซลลเสริมจากการรักษาดวยวิธีมาตรฐานในปจจุบัน
พบวา ใหการตอบสนองตอการรักษาที่ดี และเห็นผลการรักษาในระยะเวลาที่ไมนานนัก สิ่งที่ตอง
คํานึงของการปลูกถายสเต็มเซลลในเคสนี้ที่สําคัญก็คือ การเลือกตําแหนงบริเวณทีจะทําการปลูก
                                                                             ่
ถาย และปริมาณสเต็มเซลลที่ตองใช และควรทําภายใน 48 ชั่วโมง

การทํากายภาพบําบัดนับเปนสวนสําคัญมากหลังการผาตัดรวมกับการปลูกถายสเต็มเซลล และ
จําเปนตองไดรับการดูแลที่ถูกตองอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหผลการรักษาดียิ่งขึ้น

ปญหาที่พบไดและควรระวังเปนอยางยิงคือการเกิดเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และแผลเปน บริเวณโดยรอบ
                                    ่
ของแผลผาตัด จะมีผลทําใหเกิดการฟนฟูของเสนประสาทชาลง หรืออาจไมดีขึ้นได นอกจากนี้
แลวหลังการผาตัดควรจะดูแลไมใหสุนัขเคลื่อนไหวที่รบกวนบริเวณแผลที่ผาตัดดวย
ขอขอบคุณ
•   ทีมสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
•   บริษัทสโมสรคนรักมา จํากัด
•   บริษัทสยามฟารมาซูติคอล จํากัด
•   บริษัทกันตนา กรุป จํากัด (มหาชน)
•   บริษัทฟอรด ดอรด แอนนิมอล เฮลท จํากัด
•   โรงพยาบาลสัตวประดิพัทธิ์
•   ด็อกฮารท เวท คลินิก
“Live longer healthier life”

MIRACELE MEDICINE Co.,Ltd.
3 rd Floor, Ratchakru Medical Center
71 Phaholyothin 5, Samsennai ,Phyathai ,Bangkok 10400,
Thailand
Tel/fax: (+66)   (2) 619 5307 , (+66) (2) 619 6122

More Related Content

Similar to กาย่า presentation

Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วOa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วToey Sutisa
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setuptaem
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood programTHANAKORN
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting caseSHAMONBEST1
 

Similar to กาย่า presentation (20)

Septic abortion
Septic abortionSeptic abortion
Septic abortion
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้วOa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
Oa knee ext. ชนธิภา กลีบแก้ว
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Apkd
ApkdApkd
Apkd
 
Interesting case
Interesting caseInteresting case
Interesting case
 
6 nov 2017
6 nov 20176 nov 2017
6 nov 2017
 
Xraycon5.pptx
Xraycon5.pptxXraycon5.pptx
Xraycon5.pptx
 
Conference ortho
Conference orthoConference ortho
Conference ortho
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Teleconference case
Teleconference caseTeleconference case
Teleconference case
 
Observation unit setup
Observation unit setupObservation unit setup
Observation unit setup
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018
 

กาย่า presentation

  • 2. ....วันนี้เราไดโปรยเมล็ดดอกไมลงบนแปลง เราคงไมรูหรอกวา ดอกที่จะขึ้นนั้นจะ เปนสีแดง หรือสีขาว.....แตอยางนอยวันนี้ดอกไมที่โปรยนั้นก็ไดมีโอกาสที่จะงอก ขึ้นมาในแปลงที่ครั้งหนึ่งมีแตความวางเปลา และไรความหวัง.... น.สพ. ศุภเสกข ศรจิตติ
  • 3. Spinal Cord Injury Facts and Figures About Spinal Cord Injury in USA • There are an estimated 10,000 to 12,000 spinal cord injuries every year in the United States. • A quarter of a million Americans are currently living with spinal cord injuries. • The cost of managing the care of spinal cord injury patients approaches $4 billion each year. • 38.5 percent of all spinal cord injuries happen during car accidents. Almost a quarter, 24.5 percent, are the result of injuries relating to violent encounters, often involving guns and knifes. The rest are due to sporting accidents, falls, and work-related accidents. • 55 percent of spinal cord injury victims are between 16 and 30 years old. • More than 80 percent of spinal cord injury patients are men Source: Facts and Figures at a Glance, May 2001. National Spinal Cord Injury Statistical Center.
  • 4. Spinal Cord • Cervical spinal nerves : ควบคุมสัญญานประสาทในสวนของหลัง ของศีรษะ คอ และบริเวณไหล รวมถึงบริเวณมือ และกระบังลม • Thoracic spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทในสวนของ กลามเนื้อหนาอก กลามเนื้อบางสวนของหลัง และบางสวนของทอง • Lumbar spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทที่ต่ํากวาในสวน ของทอง หลัง เอว สะโพก บางสวนของระบบสืบพันธุภายนอก และบางสวน ของขา • Sacral spinal nerves : ควบคุมสัญญาณประสาทสวนของตนขา และสวนลางของขา เทา ระบบสืบพันธุดานใน และบริเวณรอบๆของรูทวาร
  • 5. กายา ประวัติ และขอมูลเบื้องตน • สุนัขพันธุลาบลาดอร สีดํา เพศผู อายุ 4 ป น้ําหนัก 41 กิโลกรัม • CC. ตกจากชั้นสองของบาน เมื่อวันศุกรที่ 18 เมษายน 2551 สาเหตุของการตก เกิดจากเปนสุนัขขี้เลน และตามคนขึนไปเลนที่ชนสองของบาน ซึงใช ้ ั้ ่ ตนไมเปนที่กน สุนัขไดวงซิกแซกตามตนไมทปลูกกั้นไวและไดตกลงมาและไมสามารถ ั้ ิ่ ี่ ใชขาหลังเดิน หรือทรงตัว ไมสามารถควบคุมการขับถายอุจจาระ และปสสาวะ • Px. จากการตรวจโดยการคลํา ไมพบการหักของกระดูกขา และสะโพก มีการเจ็บมากเมื่อ จับบริเวณสันหลัง และไมมีการตอบสนองของระบบประสาท ทังสวนของ Deep Pain ้ reflex และ Sensory Pain Reflex • X-rays พบวา เกิดการหักของกระดูกสันหลังทังหมด 4 ตําแหนง ้
  • 6. ผลการตรวจวินิจฉัย • จากฟลมเอกซเรยพบกระดูกสัน หลังหัก ในสวนของ Spine ทั้ง ดานบนและดานขาง บริเวณ L5 และ L6 • พบภาวะ Spondylosis ที่ T13- L3 และ L4-L7 • พบวามีภาวะเลือดจางเล็กนอย คาตับสูงขึ้น (SGPT,ALK )
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11. ผลการตรวจเลือด (25/4/2551) • RBC 5,400,000 cell s/µL WBC 21,100 per µL • HB 13.1 g/dL Band-N 0 % • Hct 39.7 % • MCV 73.6 fl Seg-N 93 % • MCH 24.3 pg Lymphocyte 3 % • MCHC 33.0 % Monocyte 2 % • Bl. Morphology : Nomal Eosiniphil 2 % • Platelets 79,000 per µL • Blood Paracite : Not Found N-RBC - /100WBC SGPT (ALT) 198.5 IU/L BUN 11.9 mg/dL Creatinine 0.7 mg/dL Alk.Phos. 177.1 IU/L
  • 12. ผลการตรวจเลือด (27/4/2551) กอนผาตัด • RBC 5,190,000 cell s/µL WBC 60,000 per µL • HB 13.4 g/dL • Hct 38.2 % Band-N 0 % • MCV 73.7 fl Seg-N 94 % • MCH 25.9 pg Lymphocyte 4 % • MCHC 35.1 % • Bl. Morphology : Anisocytosis some Monocyte 2 % Polychromasia some Eosiniphil 0 % • Platelets 317,000 per µL N-RBC - /100WBC SGPT (ALT) 222.2 IU/L BUN 12.7 mg/dL Creatinine 1.1 mg/dL Alk.Phos. 289.8 IU/L
  • 13. การรักษาเบื้องตน (วันที่ 18-19 เมษายน 2551) • แพทยใหยาปฏิชีวนะ ยาลดการอักเสบแบบสเตียรอยด ยาบํารุงเลือด ยาบํารุงตับ • แพทยทานแรกแนะนําดูอาการ และคาดวาอาจจะไมสามารถทําการผาตัดได เนื่องจากสุนัขมีขนาดใหญ • สงเคสตอไปยังอาจารยผูเชี่ยวชาญตอไป
  • 14. การรักษาตอมา • 22/4/2551 : ทําการเอกซเรยเพิ่มเติมในทานอนหงาย เพื่อประเมินสภาพ ของกระดูกสันหลังที่หัก และเพื่อ วางแผนการรักษา • 23/4/2551 : ประสานงานกับอาจารยคณะสัตวแพทยศาสตร จุฬา ใน สวนของภาควิชาศัลยกรรม สัตวบาล และ พยาธิวิทยา เพื่อทําการรักษา โดยการผาตัดแกไข รวมกับการทําสเต็มเซลล • 24/4/51 : พบ ผศ.น.สพ.ดร.กัมปนาท สุนทรวิภาต เพื่อวางแนว ทางการรักษา และนัดทําการผาตัดและฉีดสเต็มเซลลในวันอาทิตยที่ 27/4/51
  • 15. แผนการรักษา • ผาตัดแกไขสวนของกระดูกสันหลังที่หัก เพื่อลดการกดทับบริเวณ เสนประสาทไขสันหลัง • ฉีดสเต็มเซลลที่แยกไดจากไขกระดูกของสุนัข ที่น้ําไขสันหลัง เพื่อฟนฟู ระบบประสาทสวนที่เสียหาย
  • 16. การแบงทีมการรักษา • ทีมผาตัด (ผศ.น.สพ.ดร. กัมปนาท สุนทรวิภาต, ภาควิชาศัลยศาสตร คณะ สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) • ทีมพยาธิวิทยา (รศ.สพ.ญ.ดร. อัจฉริยา ไศละสูต, ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะ สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) • ทีมดูแลหลังการผาตัด (ผศ.สพ.ญ.ดร. อุตรา จามีกร, ภาควิชาสัตวบาล คณะ สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) • ทีมคัดแยกสเต็มเซลล (น.สพ. ศุภเสกข ศรจิตติ, บริษัท มิราเซล เมดิซีน จํากัด) • ทีมที่ปรึกษา : น.พ. จอน ยังพิชิต รศ.น.พ. ไพโรจน วิทูรพณิช
  • 17. การคัดแยกสเต็มเซลล Density Gradient based processing • ไดมาจากไขกระดูก ปริมาณเบื้องตน 50 ml • ใชเทคนิค Density Gradient Based Processing ชวยในการแยกเซลล • แยกภายใตระบบปด (Closed system) • ควบคุมการปลอดเชื้อ (Sterile system)
  • 18. คุณสมบัตสเต็มเซลลทใชรักษา ิ ี่ • เปนสเต็มเซลลททาใหบริสุทธิ์ในระดับ 2 ชนิด (Mononuclear Cells) ี่ ํ • จัดเปน Cocktail Stem Cells เพราะวาประกอบไปดวยสเต็มเซลลหลากหลายชนิด • ยังคงมีคณสมบัติของสเต็มเซลลพนฐาน เชน Homing, Differentiation, Anti- ุ ื้ Inframmation, Anti-Apoptosis, Neo-Vascularization and Throphic support
  • 19. ตารางการรักษา (เริม ศุกรที่ 25/4/51) ่ • Day 1 : ตรวจเลือดเบื้องตน, ฉีดยากระตุน G-CSF • Day 2 : ฉีดยากระตุน G-CSF • Day 3 : ผาตัด ฉีดสเต็มเซลล และเก็บตัวอยางไขกระดูก • Day 4-17 : ฉีด Low dose G-CSF ติดตามผลการรักษา ในวันที่ 14,30,60 และ 90 วัน หลังการรักษา หมายเหตุ การรักษาจะเปลี่ยนแปลงโดยการพิจารณาจากคาเลือด
  • 20. South Korea, Park et al. (2005) ไดมีการศึกษาการรักษาผูปวยที่เปนอัมพาตจํานวน 6 คน โดยการใชส เต็มเซลลที่ไดมาจากไขกระดูกของผูปวยเอง รวมกับการฉีดยา GM- CSF และติดตามผลการรักษา 6-18 เดือน พบวา 4 ใน 6 ปวยมี การทํางานของระบบประสาทดีขึ้น 2 ระดับ (ASIA grade) In South Korea, Park et al. (2005) evaluated the therapeutic efficacy of combining autologous BMSC transplantation, administered directly into the spinal cord lesion site, with granulocyte macrophage- colony stimulating factor (GM-CSF), given subcutaneously, in six patients with complete SCIs. At the 6- and 18-month follow-up periods, four of the six patients showed neurological improvements by two ASIA grade (from ASIA A to ASIA C) Progress in Brain Research, Vol. 161,2007
  • 21. G-CSF “Cocktail Stem Cells” แผนผังแสดงแนวความคิดในการรักษา
  • 23. Mean conduction velocities calculated from the somatosensory evoked potentials at week 0, 4 and 8 J. Vet. Sci. (2007), 8(3), 275–282
  • 24. Basso, Beattie and Bresnahan (BBB) locomotor rating scale scores plotted against time. There was no statistical significance in BBB scores from 1 to 3 weeks. Groups IV, III, and II scored higher than those in group I from 4 to 7 weeks. From 8 to 9 weeks, there was significant differences between groups IV > III and either III or II > I, but no significant difference between II and III. From 10 to 12 weeks, there was a difference for group IV > III, III > II, and II > I. Sham = gap filled with fibrin glue (group I); G = fibrin glue + subcutaneous granulocyte colony-stimulating factor (G-CSF) injection (group II); N = fibrin glue + neuronal stem cells (group III); G+N = fibrin glue + neuronal stem cells + subcutaneous G-CSF injection (group IV). J Clin Neurosci (2008),
  • 25. Hind limb functional assessment with the hind limb motor function scale (Farooque et al., 2001; Table 1). Time course of hind limb functional recovery
  • 26. ความคาดหวังที่จะไดรับหลังการปลูกถายสเต็มเซลล • มีความสามารถในการควบคุมระบบขับถายได • ฟนฟูระบบประสาทสวนกลาง (ไขสันหลัง) ใหสามารถทํางานได ดีขึ้น • ลดการอักเสบ บวม ของระบบประสาท • เพิ่มเสนเลือดไปเลี้ยงระบบประสาทบริเวณที่เสียหายใหมากขึ้น • ลดการทําลายเซลลบริเวณรอยโรค
  • 29. ผล LAB Hematology (BM) กอนและหลังการ Purify PRE POST • WBC 34,300 per µL • WBC 13,500 per µL • Neutrophil 69 % • Neutrophil 67 % • Lymphocyte 4 % • Lymphocyte 23 % • Monocyte 4 % • Monocyte 2 % • Eosinophil 0 % • Eosinophil 0 % • Basophil 0 % • Basophil 0 % • Atypical Lymphocyte 1 % • Atypical Lymphocyte 0 % • Band 22 % • Band 7 % • RBC 3,350,000 per µL • RBC 50,000 per µL • Hb 9.8 g/dL • Hb 0.1 g/dL • Hct 24.3 % • Hct 0.4 % • MCV 72.6 fl • MCV 0 fl • MCH 29.2 pg • MCH 0 pg • MCHC 40.3 g/dL • MCHC 0 g/dL • Platelets Ct. 172,000 per µL • Platelets Ct. 39,000 per µL • RBC Morphology : Polychromasia few, • Blast Cells 1 % Microcyte 1+, Creanated cell seen, • NRBC 6 Cells/100WBC NRBC 12 cell/100 WBC • Correctted WBC 12,736 per µL • Corrected WBC 30,625 per µL
  • 30. Blood Processing • Volume of blood pre processing 43 ml. • Nucleated cell count pre processing 34.3 × 106 cells/ml. • Total nucleated cell count pre processing 14.75 × 108 cells/ml. • Volume of blood post processing 45 ml. • Nucleated cell count post processing 13.5 × 106 cells/ml. • Total nucleated cell count post processing 6.08 × 108 cells/ml. • % Recovery 41.22 % • % Viability Pre processing 95 % • % Viability Post processing 85 % • Sterility Test No contamination
  • 31. Pre & Post Purify Pre Post Viability 95% 88% Deplete RBC 98.5%
  • 33. ผลการตรวจเลือด (2/5/2551) • RBC 3,450,000 cell s/µL WBC 19,200 per µL • HB 8.4 g/dL Band-N 0 % • Hct 26.4 % Seg-N 85 % • MCV 76.5 fl • MCH 24.4 pg Lymphocyte 11 % • MCHC 31.9 % Monocyte 4 % • Bl. Morphology : Aniso 1+,Sherocyte some, Eosiniphil 0 % Polychromasia 1+ • Platelets 210,000 per µL N-RBC 2 cell /100WBC • Blood Paracite : Not Found SGPT (ALT) 62.3 IU/L BUN 18.0 mg/dL Creatinine 0.9 mg/dL Alk.Phos. 888.6 IU/L
  • 34.
  • 35. ผลหลังการปลูกถายสเต็มเซลล 5 วัน • RBC ลดลง • WBC กลับสูปกติ  • SGPT ลดลง • ALK. Phos. สูงขึน้ • Creatinine และ BUN ไมมีความแตกตาง • ขาหลังขวาพบวามี Deep pain reflex เล็กนอย • ขาหลังซายเกร็งเมื่อทําการกระตุน Deep pain  • โคนหางมีการขยับไดเล็กนอย • เริ่มสามารถควบคุมการขับถาย และรองเรียก เมื่อตองการขับถาย • คาตับลดลงอยางเห็นไดชัด
  • 36. • คา MNCs ที่ไดหลังผานการคัดแยกอยูที่ 149 Mil.cells (45 ml.) • กรณีคาเม็ดเลือดแดงที่พบต่ําลงเปนผลมาจากการดูดเลือดออกจากไขกระดูกเพื่อทีจะนําไปคัดแยกส ่ เต็มเซลล และคาดวาจะกลับสูระดับปกติภายใน 21-30 หลังจากการปลูกถานสเต็มเซลล • คาเม็ดเลือดขาวที่ลดลงสอดคลองกับขอมูลวิชาการที่ผานมา ซึ่งจะพบวาคาของเม็ดเลือดขาวจะกลับ สูสภาวะปกติภายใน 3-7 วันหลังจากการหยุดฉีดยา G-CSF  • กรณีคาตับลดลงนาจะเปนผลมาจากการฉีดสเต็มเซลลเขาในหลอดเลือดดํา ซึ่งจะชวยลดคาตับทีสง ่ ู ผิดปกติได • กรณีคา Alkaline Phosphatase มีคาสูงขึ้นนาจะเปนผลมาจากการซอมแซมกระดูกในสวนทีถูกเจาะ ่ รูเพื่อทําการดูดเลือดจากไขกระดูก • จากการใชคีมหนีบตามสวนตางๆของขาสุนขโดยไลจากสะโพกลงไป พบวาสุนขเริ่มตอบสนองตอ ั ั ความเจ็บปวดอยางเห็นไดชัด แตปฏิกิริยานี้จะลดลงในสวนบริเวณของปลายเทา • หางของสุนัขสามารถรับความรูสึกได และเมื่อเจ็บสามารถที่จะเลื่อนหางหนีได • สุนัขเริ่มมีความสามารถในการควบคุมระบบขับถายไดดีขึ้น และสามารถสงเสียงรองเรียกเมื่อ ตองการขับถาย
  • 37. ผลการตรวจเลือด (15/5/2551) • RBC 4,440,000 cell s/µL WBC 17,300 per µL • HB 11.9 g/dL Band-N 0 % • Hct 34.9 % Seg-N 75 % • MCV 78.6 fl • MCH 26.8 pg Lymphocyte 17 % • MCHC 34.1 % Monocyte 5 % • Bl. Morphology : Aniso some Eosiniphil 3 % • Platelets 375,000 per µL N-RBC 0 cell /100WBC • Blood Paracite : Not Found SGPT (ALT) 39.5 IU/L BUN 10.3 mg/dL Creatinine 0.8 mg/dL Alk.Phos. 361.9 IU/L Plasmalipidimia 1+
  • 38. ผลการตรวจเลือด (27/5/2551) • RBC 4,710,000 cell s/µL WBC 10,800 per µL • HB 11.5 g/dL Band-N 0 % • Hct 36.3 % Seg-N 95 % • MCV 77.1 fl • MCH 24.4 pg Lymphocyte 4 % • MCHC 31.6 % Monocyte 1 % • Bl. Morphology : Aniso some Eosiniphil 0 % • Platelets 375,000 per µL N-RBC 0 cell /100WBC • Blood Paracite : Not Found SGPT (ALT) 67.5 IU/L BUN ไมไดตรวจ mg/dL Creatinine 0.8 mg/dL Alk.Phos. 237.6 IU/L
  • 39. ภาพวีดีโอ 30 วัน หลังการปลูกถายสเต็มเซลล
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. สรุปผลการรักษา 30 วันหลังการปลูกถายสเต็มเซลล • สุนัขมีการพัฒนาของระบบประสาทอยางเห็นไดชัดเจนในสวนของการใชโคนขา หลัง มีการเคลื่อนไหวของขอสะโพกที่ชัดเจน และการกระดิกหางมีชัดเจนมากขึ้น อยางเห็นไดชัด • สุนัขมีคาการทํางานของตับ (ALT) ดีขึ้น และสามารถรักษาระดับคานี้ไดดีถึงแมวา จะผานไป 30 วัน รวมถึงคา Alk. Phos. ที่ดีขึ้นเชนกัน • สุนัขมีการควบคุมการขับถายอุจจาระ ปสสาวะไดดีกวา 5 วันแรกหลังการปลูก ถายสเต็มเซลล • Sensory Pain Reflex ยังคงมีพัฒนาการที่มากขึ้นกวาชวง 5 วันแรกที่ทําการปลูก ถายสเต็มเซลล • Deep pain พบไดบาง แตจะตองกระตุนรุนแรงถึงจะเห็นปฏิกิริยาตอบสนอง
  • 47. บทวิจารณ การรักษาสุนัขที่เปนอัมพาตดวยการใชสเต็มเซลลเสริมจากการรักษาดวยวิธีมาตรฐานในปจจุบัน พบวา ใหการตอบสนองตอการรักษาที่ดี และเห็นผลการรักษาในระยะเวลาที่ไมนานนัก สิ่งที่ตอง คํานึงของการปลูกถายสเต็มเซลลในเคสนี้ที่สําคัญก็คือ การเลือกตําแหนงบริเวณทีจะทําการปลูก ่ ถาย และปริมาณสเต็มเซลลที่ตองใช และควรทําภายใน 48 ชั่วโมง การทํากายภาพบําบัดนับเปนสวนสําคัญมากหลังการผาตัดรวมกับการปลูกถายสเต็มเซลล และ จําเปนตองไดรับการดูแลที่ถูกตองอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหผลการรักษาดียิ่งขึ้น ปญหาที่พบไดและควรระวังเปนอยางยิงคือการเกิดเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และแผลเปน บริเวณโดยรอบ ่ ของแผลผาตัด จะมีผลทําใหเกิดการฟนฟูของเสนประสาทชาลง หรืออาจไมดีขึ้นได นอกจากนี้ แลวหลังการผาตัดควรจะดูแลไมใหสุนัขเคลื่อนไหวที่รบกวนบริเวณแผลที่ผาตัดดวย
  • 48. ขอขอบคุณ • ทีมสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • บริษัทสโมสรคนรักมา จํากัด • บริษัทสยามฟารมาซูติคอล จํากัด • บริษัทกันตนา กรุป จํากัด (มหาชน) • บริษัทฟอรด ดอรด แอนนิมอล เฮลท จํากัด • โรงพยาบาลสัตวประดิพัทธิ์ • ด็อกฮารท เวท คลินิก
  • 49. “Live longer healthier life” MIRACELE MEDICINE Co.,Ltd. 3 rd Floor, Ratchakru Medical Center 71 Phaholyothin 5, Samsennai ,Phyathai ,Bangkok 10400, Thailand Tel/fax: (+66) (2) 619 5307 , (+66) (2) 619 6122