SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
บทที่  9   สมดุลเคมี Chemical Equilibrium ภาควิชาเคมี  คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
สมดุลเคมี  ( Chemical Equilibrium ) สมดุลเคมี   คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราย้อนกลับมีค่าเท่ากัน และความเข้มข้นของทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา Products  Reactants
สมดุลกายภาพ   ( Physical  Equilibrium )   H 2 O(l)      H 2 O(g)   สมดุลเคมี   (Chemical  Equilibrium)   N 2 O 4 (g)      2 NO 2 (g) ไม่มีสี  น้ำตาลแดง
N 2 O 4 (g)     2 NO 2 (g)  ไม่มีสี  น้ำตาลแดง 4.63    10 -3 0.2270 0.0898 0.0204 0.000 0.200 4.60    10 -3 0.0880 0.594 0.0523 0.600 0.040 4.60    10 -3 0.0967 0.491 0.0475 0.500 0.030 4.66    10 -3 0.1020 0.448 0.0457 0.446 0.050 4.65    10 -3 0.0851 0.643 0.0547 0.670 0.000 [ N 2 O 4 ] [ NO 2 ] [ N 2 O 4 ] [ NO 2 ] อัตราส่วนความเข้มข้นที่สมดุล ความเข้มข้นที่สมดุล  (M) ความเข้มข้นเริ่มต้น  (M)
ที่สมดุล   ถ้าเอา  [ NO 2  ] / [ N 2 O 4  ]   ค่าที่ได้ไม่เท่ากัน  แต่ถ้าเอา  [ NO 2  ] 2  / [ N 2 O 4  ]   =  ค่าคงที่  =  4.63    10 - 3     เลข  2  คือ  สัมประสิทธิ์  (coefficient)  ของ  NO 2  ในสมการ    ค่าคงที่สมดุล  (equilibrium constant)   =  K  =   =  4.63    10 - 3  สรุป สำหรับปฏิกิริยาทั่วไปที่ผันกลับได้  ดังสมการ aA  +  bB     cC  +  dD เมื่อ  a , b , c  และ  d  เป็นสัมประสิทธิ์ปริมาณสัมพันธ์ของสาร  A , B, C  และ  D  ตามลำดับ
ค่าคงที่สมดุล  ( K)  ณ อุณหภูมิหนึ่งหาได้จาก   K  =   ขนาดของค่าคงที่สมดุล :  ค่าคงที่สมดุลจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละปฏิกิริยาและขึ้น อยู่กับอุณหภูมิ  การทราบค่า  K  มีความสำคัญดังนี้ -  ที่สมดุลสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีปริมาณสัมพัทธ์เป็นเท่าใด -  ทราบว่าปฏิกิริยามีผลได้  ( yield )  สูงหรือต่ำอย่างไร
กรณีที่  1  :  ถ้า  K >> 1  เช่น  ในระบบต่อไปนี้ที่  2300  o C  2O 3 (g)     3O 2 (g)  K  =   =  2.54    10 12   ที่สมดุล ระบบจะมี  O 2   ปนอยู่กับ  O 3   แต่จะมี  O 3  << O 2   ดังนั้นถ้า  [O 2 ]  =  0.50 M  ที่สมดุล  จะได้ [O 3 ] 2   =   =  2.22    10  – 7  M
กรณีที่  2   :  ถ้า  K << 1  เช่น  ในระบบต่อไปนี้ที่  25  o C Cl 2 (g)     Cl(g)  +  Cl(g)  K  =  =  1.4    10  - 38   ระบบสมดุลจะมี  Cl 2  >> Cl  ถ้า  [Cl 2  ]  =  0.76 M  จะได้  [Cl] 2   =  (0.76)(1.4    10  – 38 )  =  1.1    10  – 38   M  [Cl]  =  1.0    10  – 19   M จะเห็นว่า  Cl  มีความเข้มข้นต่ำมากเมื่อเทียบกับ  Cl 2
กรณีที่  3   :  ถ้า  K  มีค่าไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับ  1  สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ที่สมดุลจะมีปริมาณพอๆกันเช่น ในระบบต่อไปนี้ที่  380  o C   CO(g)  +  H 2 O(g)     H 2 (g)  +  CO 2 (g)   K  =  =  5.10 ถ้า  [CO]  =  0.200 M,  [H 2 O]  =  0.400 M  และ  [H 2 ]  =  0.300 M  ที่สมดุล จะได้  [CO 2 ]  =  =  1.36 M
สมดุลเอกพันธุ์   (homogeneous  equilibrium)   :  สมดุลของปฏิกิริยาที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยาอยู่ในวัฏภาคเดียวกัน  เช่น ในปฏิกิริยาการสลายตัวของ  N 2 O 4 (g)     2 NO 2 (g) -  ในรูป  K C   เป็นค่าคงที่ในรูปความเข้มข้น  (M, mol/L)  Kc =  -  ในรูป  Kp  เป็นค่าคงที่ในรูปของความดัน  (atm) Kp  =
โดยทั่วไป  K C      K p   แต่เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง  K C   กับ  K p   ไ ด้ดังสมการนี้   aA(g)     bB(g)   K C =    K p  =   เมื่อ  P A   และ  P B   เป็นความดันย่อยของ  A  และ  B   P A V  =  n A RT  P B V  =  n B RT     P A =  P B   =
แทนค่า  P A  และ  P B   นี้ลงในสมการของ  Kp  จะได้  K p   =   =   เนื่องจาก  n A  / V  และ  n B  / V  มีหน่วยเป็น  mol/L  จึงแทนได้ด้วย  [A]  และ  [B]  ตามลำดับ จะได้
เมื่อ   n  =  b – a   =  จำนวนโมลรวมของก๊าซผลิตภัณฑ์ –  จำนวนโมลรวมของก๊าซตั้งต้น R  =  0.082  L.atm/K.mol ถ้า    aA  +  bB     cC  +  dD   Kc  =   Kp  =  Kp  =  =  Kc
K P  =  K C    n  =  (c + d) – (a + b)
ตัวอย่างที่  1   จากสมดุลของ  PCl 5 (g)     PCl 3 (g)  +  Cl 2 (g)  ถ้า  K P  =  1.05  ที่  250  o C  ความดันย่อย  PCl 5   =  0.8  atm ,  PCl 3   =  0.4  atm  จงหาความดันย่อย  Cl 2   ที่สมดุล  (250  o C) K P =  1.05 =     =  2.10  atm
ตัวอย่างที่  2   N 2 (g)  +  3H 2 (g)     2NH 3 (g)  ถ้า  K P  =  4.3    10 – 4   ที่  200  o C  จงหาค่า  K C   จาก  K P   =  K C   T  =  273 + 200  =  473 K   n  =  2 – (3 + 1)  =  - 2  mol แทนค่า  4.3    10  – 4   =  K C  (0.082    473)  – 2     K C  =  0.65
สมดุลวิวิธพันธุ์   (Heterogeneous  Equilibrium) :  ปฏิกิริยาที่สาร  (reactants, products)  ไม่เป็น  phase  เดียวกัน  คือ  มี  gas  solid  liquid  ปนกัน  ให้ถือว่าความเข้มข้นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว  คงที่ เช่น  CaCO 3 (s)     CaO(s)  +  CO 2 (g)   =  K C   =  [ CO 2  ]  K P  =
ตัวอย่างที่  3   NH 4 HS(s)  NH 3 (g)  +  H 2 S(g)  จงหา  K C  , K P   ถ้า  partial  pressure  ของ  gas  เท่ากัน  =  0.3   K P   =  =  (0.3)(0.3)  =  0.09  จาก    K P  =  K C    n  =  2 – 0  =  2  mol   T  =  300  K แทนค่า   0.09  =  K C  (0.082    300) 2   K C   =  1.49 x 10  – 4
สมดุลหลายขั้นตอน   (Multiple  Equilibria) ถ้าปฏิกิริยามี  products  ที่เข้าไปทำปฏิกิริยาต่ออีก 1)    A  +  B     C  +  D    =    2)    C  +  D     E  +  F    =  A  +  B     E  +  F K C   =  X = X =
ถ้าปฏิกิริยา  เขียนได้จากการรวม     2  ปฏิกิริยา Equilibrium constant  ;  K C  รวม  =  ผลคูณของ  K C   ย่อยแต่ละปฏิกิริยา  ตัวอย่างที่  4   จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง  K C   จากสมการต่อไปนี้   N 2 (g)  +  3 H 2 (g)     2 NH 3 (g)   K 1   =  10  --------- (1) กลับสมการ  (1)  2 NH 3  (g)     N 2 (g)  +  3H 2 (g)  K 2   =  =  =  0.1  คูณ  3  ทั้งสมการ  (1)  3 N 2 (g) + 9 H 2 (g)     6 NH 3 (g)  K 3  =  (K 1 ) 3  =  (10) 3
สรุปหลักการเขียน ค่า  K -  ความเข้มข้นมีหน่วยเป็น  mol/ L -  ถ้าเป็นก๊าซให้ใช้ความดัน  (atm)  ได้ -  ถ้าเป็นของแข็ง  (s)  ของเหลว  (l)  ไม่ปรากฎใน  K C   -  K C   K P   ไม่มีหน่วย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี 1.   ถ้ามี  1  elementary step   ( ขั้นตอนเดียว )   A  +  2B     AB 2 Forward  rate;  rate f   =  k f  [A][B] 2   Reverse  rate  ;  rate r   =  kr [AB 2 ] ที่สมดุล  rate f   =  rate r   k f  [A][B]  2   =  k r [AB 2 ] = =  K C K f k r
ตัวอย่างที่  5   Cu 2+   ไอออนทำปฏิกิริยากับ  Fe 2+   ไอออนตามปฏิกิริยาข้างล่าง Cu 2+   +  2 Fe 2+   Cu  +  2 Fe 3+   จงหาค่า  Kc  2.  ถ้ามี  2  elementary  steps   (2  ขั้นตอน ) ขั้นแรก  :    2B  B 2   ขั้นสอง  :  A  +  B 2   AB 2   รวม  :  A  +  2B      AB 2
ขั้นแรก   =  =  ขั้นสอง   =  =   รวม  K  /  K  //   =   =  .  =     ไม่ว่าจะเป็น  single  หรือ  multiple step  จะได้   K C   =   =  K C
ค่า  K C   บอกอะไรเราบ้าง  ? 1.  ทำนายทิศทางของปฏิกิริยา  ( ไปข้างหน้า หรือ ย้อนกลับ )  โดยการเปรียบเทียบค่า  Q C   กับ  K C Q C   =  ผลหารปฏิกิริยา  (reaction quotient)  =  **  ใช้ความเข้มข้นเริ่มต้นแทนค่า K C =
ถ้า  Q C   =  K C   สมดุล Q C   >  K C   มี  product  มากเกินสมดุล   ปฏิกิริยาต้องย้อนกลับ Q C  <  K C   มี  product  น้อยกว่าสมดุล   ปฏิกิริยาต้องไปข้างหน้า
ตัวอย่างที่  6   จากสมดุลของ  N 2 (g)  +  3H 2 (g)     2NH 3 (g)  จำนวนโมลเริ่มต้น  0.8 mol  0.4  mol  0.1  mol  ในภาชนะ  2 L  จงแสดงการเปรียบเทียบค่า  K C  , Q C   สมดุลหรือไม่  ถ้าไม่สมดุลทิศทางของปฏิกิริยาไปทางไหน  (  เมื่อ  K C  =  0.65 )  โจทย์กำหนดจำนวนโมลเริ่มต้นให้เปลี่ยนเป็นความเข้มข้น  (mol/L, M) [N 2 ] 0   =  0.8  mol / 2  L  =  0.4  mol/L [H 2 ] 0   =  0.4  mol / 2  L  =  0.2  mol/L  [NH 3 ] 0   =  0.1  mol / 2  L  =  0.05  mol/L
Q C =  =     Q C  =  0.78 เมื่อ  K C   =  0.65   ดังนั้น Q C  >  K C   (  ไม่สมดุล  )  ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ  (reverse)  ( ขวาไปซ้าย )
ตัวอย่างที่  7   ที่อุณหภูมิ  350  o C  N 2 (g)  +  3 H 2 (g)     2NH 3 (g)  ค่า  Kc =  2.37    10  - 3   ที่สมดุล  (M)  0.683  8.80  1.05  ถ้าเพิ่ม  [ NH 3  ]  เป็น  3.65 M  จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา  (  จาก  Q C  , K C  )  เมื่อเพิ่ม  [NH 3 ]  ระบบปรับตัวปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด  [ NH 3  ]  ลง   Q C =    =  =  2.86    10 -2    Q C   >  K C   ดังนั้นปฏิกิริยาไปทางซ้าย จนกว่า  Q C  =  K C
ตัวอย่างที่  8   ที่อุณหภูมิ  430  o C  2NO(g)  +  O 2 (g)     2NO 2 (g)  ค่า  K P  = 1.5    10 5 ความดัน  ( atm )  0.001  0.02  0.50 จงคำนวณหา  Q P   และทิศทางของปฏิกิริยา Q P =  =  =  1.8    10 5 ดังนั้น  Q P   >  K P   ปฏิกิริยาไปทางซ้าย
ตัวอย่างที่  9   จากสมดุลของ  A     B เมื่อ  [A] 0   =  0.5  mol/L  และ  K C  = 1.5  จงหา  [A] , [B]  ที่สมดุล  A   B เริ่มต้น  (M)  0.5  0 เปลี่ยนแปลง  (M)  -  x   +  x สมดุล  (M)  0.5 –  x   x   แทนค่า K C   =  1.5  =  x   =  1.5(0.5 - x)    x   =  0.75 - 1.5x
2.5  x   =  0.75   x   =  0.3  ดังนั้นที่สมดุล [A]  =  0.5 – 0.3  =  0.2  M [B]  =  0.3  M *check ; K C   =  =  1.5 ตัวอย่างที่  10   A 2 (g)  +  B 2 (g)     2 AB(g) เริ่มต้น  (mol)  0.5  0.5  ในภาชนะ  1  ลิตร  ที่อุณหภูมิ  430  o C  ค่า  K C  =  49  จงหา  [A 2 ], [B 2 ]  และ  [AB]  ที่สมดุล
A 2 (g)  +  B 2 (g)     2AB(g) เริ่มต้น  (M)  0.5  0.5  0  เปลี่ยนแปลง  (M)  -  x   -  x   2 x สมดุล  (M)  (0.5 –  x )  (0.5 –  x )    2 x   แทนค่า K C  =    49  =    49  =
7 =  2 x =  7(0.5 –  x  ) 2 x =  3.5  – 7 x   9 x =  3.5  x =  0.39  M  ดังนั้นที่สมดุล [A 2 ]  =  0.5 – 0.39  =  0.11  M [B 2 ]  =  0.5 – 0.39  =  0.11  M [AB]  =  2(0.39)  =  0.78  M
ตัวอย่างที่  11 A 2   +  B 2      2 AB  K C   =  49 เริ่มต้น  (M)    1.0  1.0    1.0 เปลี่ยนแปลง  (M)  -  x   -  x     + 2  x สมดุล  (M)  (1.0 –  x )  (1.0 –  x )  (1.0 + 2 x ) แทนค่า   K C  =    49  =    49  =
7   = 7(1.0 –  x ) =  1.0 + 2  x 9  x   =  6   x =  0.67 ดังนั้นที่สมดุล   [A 2 ]  =  1.0 – 0.67  =  0.33 M   [B 2 ]  =  1.0 – 0.67  =  0.33 M   [AB]  =  1.0  +  2(0.67)  =  2.34  M
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี   (Factors that affect chemical equilibrium) 1.  ความเข้มข้น   3.  ปริมาตร 2.  ความดัน   4.  อุณหภูมิ เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนด้วยปัจจัยเหล่านี้  ระบบจะปรับตัวเองให้เข้าสู่สมดุล ใหม่อีกครั้ง ตามหลักของเลอชาเตอรลิเยร์  ( Le Chatelier’s Principle)  ที่กล่าวว่า “  เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนจนสมดุลเสียไประบบจะปรับตัวในทิศทางที่ทำให้ ปัจจัยรบกวนลดน้อยที่สุด เพื่อระบบจะเข้าสู่สมดุลเดิม ”
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี 1.  การเปลี่ยนความเข้มข้น   Fe(CNS) 3     ละลายน้ำ FeCNS 2+ (aq)   Fe 3+ (aq)  +  CNS  - (aq)    แดง  เหลืองอ่อน  ไม่มีสี -  ถ้าเติม  Fe(NO 3 ) 3      เพิ่ม  Fe 3+   :  ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด  [ Fe 3+ ]  ได้สีแดง -  ถ้าเติม  NaCNS     เพิ่ม  CNS  -   :  ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด  [ CNS - ]  ได้สีแดง -  ถ้าเติม  H 2 C 2 O 4  (  ได้  C 2 O 4 2-   จับกับ  Fe 3+  )     ลด  Fe 3+   :  ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางขวาเพื่อเพิ่ม  [ Fe 3+ ]  ได้สีเหลือง
2.  เปลี่ยนความดันและปริมาตร   ถ้าสารเป็น  solid , liquid  การเปลี่ยน  P , V  ไม่มีผล แต่ถ้าสารเป็น  gas  การเปลี่ยน  P , V  มีผลมาก จาก  PV  =  nRT  P  =  RT    P     1 / V  ดังนั้น  ถ้าเพิ่ม  P  =  ลด  V  ทำให้ความเข้มข้นเพิ่ม  (n/ V)
ตัวอย่างที่  12   N 2 O 4 (g)     2NO 2 (g)        Q C =       ถ้า  เพิ่ม  P  =  ลด  V  =  เพิ่มความเข้มข้น ดังนั้น  [NO 2  ], [N 2 O 4  ]  ต่างก็เพิ่มขึ้นทั้งคู่ แต่  [NO 2  ] 2   จะเพิ่มขึ้นมากกว่า  [N 2 O 4  ]    Q C   >  K C   ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางซ้าย  แต่ถ้า ลด  P  =  เพิ่ม  V  =  ความเข้มข้นลดลง  ดังนั้น  [NO 2  ] 2  ลดลงมากกว่า  [N 2 O 4  ]  เช่นกัน     Q C   <  K C   ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางขวา
ตัวอย่างที่  13   จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา  ถ้าเพิ่ม  P ( ลด  V)  ที่  T  คงที่ 1)  2 PbS(s)  +  3 O 2 (g)     2 PbO(s)  +  2 SO 2 (g)    Q C =  V  ลด  =  [SO 2 ] 2   น้อยกว่า  [O 2 ] 3   ดังนั้น  Q C   <  K C   ปฏิกิริยาไปทางขวา ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างที่  14 2 NOCl(g)     2 NO(g)  +  Cl 2 (g) ถ้าลดความดัน  จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา   Q C =  จำนวนโมล  product  >  reactant (3)  (2)  ลด  P  =  ความเข้มข้นลดลง     Q C   <  K C   ดังนั้นทิศทางไปทางขวา
3.  การเปลี่ยนอุณหภูมิ ถ้าเปลี่ยน ความเข้มข้น  ปริมาตร  ความดัน  =  เปลี่ยนสมดุล   การเปลี่ยนอุณหภูมิ  =  เปลี่ยน  K C  ถ้า    N 2 O 4 (g)     2NO 2 (g)   H o  =  58.0 kJ  ดูดความร้อน    2NO 2 (g)     N 2 O 4 (g)   H o  =  -58.0 kJ  คายความร้อน ปฏิกิริยาไปข้างหน้า    ถ้า     T  =     Heat  ทำให้เพิ่ม  endothermic reaction (  ดูดความร้อน  )  ถ้า     T  =     Heat  ทำให้เพิ่ม  exothermic reaction (  คายความร้อน  )
4.  ผลจาก  catalyst -  ช่วยลด  activation energy ( Ea ) -  ทำให้อัตราเร็วของปฏิกิริยาเร็วขึ้น ทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ -  ไม่มีผลต่อ  K C  และ  equilibrium 1.  เพิ่มอุณหภูมิ  ย้อนกลับ 2.  ลดอุณหภูมิ  ไปข้างหน้า   1.  เพิ่มอุณหภูมิ  ไปข้างหน้า 2.  ลดอุณหภูมิ  ย้อนกลับ   ปฏิกิริยาคายความร้อน  (  H o   ลบ )   ปฏิกิริยาดูดความร้อน  (  H o   บวก )
ตัวอย่างที่  15   จากสมดุล  4NH 3 (g) +  5O 2 (g)     4NO(g)  +  6H 2 O(l)   H o  =  - 248 kJ จงทำนายทิศทางการดำเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อรบกวนสมดุลดังต่อไปนี้ ปัจจัยการรบกวน   ทิศทางที่ปฏิกิริยาดำเนินไป a.  เพิ่ม  NH 3  (g)  b.  ลด  O 2  (g) c.  ลด  NO (g) d.  เพิ่มปริมาตรของภาชนะบรรจุ  2  เท่า e.  เพิ่มอุณหภูมิ  f.  เพิ่มความดัน ไปข้างหน้า ไปข้างหน้า ไปข้างหน้า ย้อนกลับ ย้อนกลับ ย้อนกลับ

More Related Content

What's hot

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีchemnpk
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีgusuma
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีja1122
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 

What's hot (14)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 

Viewers also liked

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีmegi38
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)jitima
 
ประภา
ประภาประภา
ประภาprapa2537
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีnatthaporn1111
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (20)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
โพรพิลีน
โพรพิลีนโพรพิลีน
โพรพิลีน
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Bk
BkBk
Bk
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 

Similar to chemical equilibrium

เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 

Similar to chemical equilibrium (20)

Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 

chemical equilibrium

  • 1. บทที่ 9 สมดุลเคมี Chemical Equilibrium ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 2. สมดุลเคมี ( Chemical Equilibrium ) สมดุลเคมี คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราย้อนกลับมีค่าเท่ากัน และความเข้มข้นของทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา Products Reactants
  • 3. สมดุลกายภาพ ( Physical Equilibrium ) H 2 O(l)  H 2 O(g) สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium) N 2 O 4 (g)  2 NO 2 (g) ไม่มีสี น้ำตาลแดง
  • 4. N 2 O 4 (g)  2 NO 2 (g) ไม่มีสี น้ำตาลแดง 4.63  10 -3 0.2270 0.0898 0.0204 0.000 0.200 4.60  10 -3 0.0880 0.594 0.0523 0.600 0.040 4.60  10 -3 0.0967 0.491 0.0475 0.500 0.030 4.66  10 -3 0.1020 0.448 0.0457 0.446 0.050 4.65  10 -3 0.0851 0.643 0.0547 0.670 0.000 [ N 2 O 4 ] [ NO 2 ] [ N 2 O 4 ] [ NO 2 ] อัตราส่วนความเข้มข้นที่สมดุล ความเข้มข้นที่สมดุล (M) ความเข้มข้นเริ่มต้น (M)
  • 5. ที่สมดุล ถ้าเอา [ NO 2 ] / [ N 2 O 4 ] ค่าที่ได้ไม่เท่ากัน แต่ถ้าเอา [ NO 2 ] 2 / [ N 2 O 4 ] = ค่าคงที่ = 4.63  10 - 3 เลข 2 คือ สัมประสิทธิ์ (coefficient) ของ NO 2 ในสมการ  ค่าคงที่สมดุล (equilibrium constant) = K = = 4.63  10 - 3 สรุป สำหรับปฏิกิริยาทั่วไปที่ผันกลับได้ ดังสมการ aA + bB  cC + dD เมื่อ a , b , c และ d เป็นสัมประสิทธิ์ปริมาณสัมพันธ์ของสาร A , B, C และ D ตามลำดับ
  • 6. ค่าคงที่สมดุล ( K) ณ อุณหภูมิหนึ่งหาได้จาก K = ขนาดของค่าคงที่สมดุล : ค่าคงที่สมดุลจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแต่ละปฏิกิริยาและขึ้น อยู่กับอุณหภูมิ การทราบค่า K มีความสำคัญดังนี้ - ที่สมดุลสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีปริมาณสัมพัทธ์เป็นเท่าใด - ทราบว่าปฏิกิริยามีผลได้ ( yield ) สูงหรือต่ำอย่างไร
  • 7. กรณีที่ 1 : ถ้า K >> 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 2300 o C 2O 3 (g)  3O 2 (g) K = = 2.54  10 12 ที่สมดุล ระบบจะมี O 2 ปนอยู่กับ O 3 แต่จะมี O 3 << O 2 ดังนั้นถ้า [O 2 ] = 0.50 M ที่สมดุล จะได้ [O 3 ] 2 = = 2.22  10 – 7 M
  • 8. กรณีที่ 2 : ถ้า K << 1 เช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 25 o C Cl 2 (g)  Cl(g) + Cl(g) K = = 1.4  10 - 38 ระบบสมดุลจะมี Cl 2 >> Cl ถ้า [Cl 2 ] = 0.76 M จะได้ [Cl] 2 = (0.76)(1.4  10 – 38 ) = 1.1  10 – 38 M [Cl] = 1.0  10 – 19 M จะเห็นว่า Cl มีความเข้มข้นต่ำมากเมื่อเทียบกับ Cl 2
  • 9. กรณีที่ 3 : ถ้า K มีค่าไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับ 1 สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ที่สมดุลจะมีปริมาณพอๆกันเช่น ในระบบต่อไปนี้ที่ 380 o C CO(g) + H 2 O(g)  H 2 (g) + CO 2 (g) K = = 5.10 ถ้า [CO] = 0.200 M, [H 2 O] = 0.400 M และ [H 2 ] = 0.300 M ที่สมดุล จะได้ [CO 2 ] = = 1.36 M
  • 10. สมดุลเอกพันธุ์ (homogeneous equilibrium) : สมดุลของปฏิกิริยาที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยาอยู่ในวัฏภาคเดียวกัน เช่น ในปฏิกิริยาการสลายตัวของ N 2 O 4 (g)  2 NO 2 (g) - ในรูป K C เป็นค่าคงที่ในรูปความเข้มข้น (M, mol/L) Kc = - ในรูป Kp เป็นค่าคงที่ในรูปของความดัน (atm) Kp =
  • 11. โดยทั่วไป K C  K p แต่เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง K C กับ K p ไ ด้ดังสมการนี้ aA(g)  bB(g) K C = K p = เมื่อ P A และ P B เป็นความดันย่อยของ A และ B P A V = n A RT P B V = n B RT P A = P B =
  • 12. แทนค่า P A และ P B นี้ลงในสมการของ Kp จะได้ K p = = เนื่องจาก n A / V และ n B / V มีหน่วยเป็น mol/L จึงแทนได้ด้วย [A] และ [B] ตามลำดับ จะได้
  • 13. เมื่อ  n = b – a = จำนวนโมลรวมของก๊าซผลิตภัณฑ์ – จำนวนโมลรวมของก๊าซตั้งต้น R = 0.082 L.atm/K.mol ถ้า aA + bB  cC + dD Kc = Kp = Kp = = Kc
  • 14. K P = K C  n = (c + d) – (a + b)
  • 15. ตัวอย่างที่ 1 จากสมดุลของ PCl 5 (g)  PCl 3 (g) + Cl 2 (g) ถ้า K P = 1.05 ที่ 250 o C ความดันย่อย PCl 5 = 0.8 atm , PCl 3 = 0.4 atm จงหาความดันย่อย Cl 2 ที่สมดุล (250 o C) K P = 1.05 =  = 2.10 atm
  • 16. ตัวอย่างที่ 2 N 2 (g) + 3H 2 (g)  2NH 3 (g) ถ้า K P = 4.3  10 – 4 ที่ 200 o C จงหาค่า K C จาก K P = K C T = 273 + 200 = 473 K  n = 2 – (3 + 1) = - 2 mol แทนค่า 4.3  10 – 4 = K C (0.082  473) – 2 K C = 0.65
  • 17. สมดุลวิวิธพันธุ์ (Heterogeneous Equilibrium) : ปฏิกิริยาที่สาร (reactants, products) ไม่เป็น phase เดียวกัน คือ มี gas solid liquid ปนกัน ให้ถือว่าความเข้มข้นของสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว คงที่ เช่น CaCO 3 (s)  CaO(s) + CO 2 (g) = K C = [ CO 2 ] K P =
  • 18. ตัวอย่างที่ 3 NH 4 HS(s) NH 3 (g) + H 2 S(g) จงหา K C , K P ถ้า partial pressure ของ gas เท่ากัน = 0.3 K P = = (0.3)(0.3) = 0.09 จาก K P = K C  n = 2 – 0 = 2 mol T = 300 K แทนค่า 0.09 = K C (0.082  300) 2 K C = 1.49 x 10 – 4
  • 19. สมดุลหลายขั้นตอน (Multiple Equilibria) ถ้าปฏิกิริยามี products ที่เข้าไปทำปฏิกิริยาต่ออีก 1) A + B  C + D = 2) C + D  E + F = A + B  E + F K C = X = X =
  • 20. ถ้าปฏิกิริยา เขียนได้จากการรวม  2 ปฏิกิริยา Equilibrium constant ; K C รวม = ผลคูณของ K C ย่อยแต่ละปฏิกิริยา ตัวอย่างที่ 4 จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง K C จากสมการต่อไปนี้ N 2 (g) + 3 H 2 (g)  2 NH 3 (g) K 1 = 10 --------- (1) กลับสมการ (1) 2 NH 3 (g)  N 2 (g) + 3H 2 (g) K 2 = = = 0.1 คูณ 3 ทั้งสมการ (1) 3 N 2 (g) + 9 H 2 (g)  6 NH 3 (g) K 3 = (K 1 ) 3 = (10) 3
  • 21.
  • 22. ความสัมพันธ์ระหว่างจลนศาสตร์เคมีกับสมดุลเคมี 1. ถ้ามี 1 elementary step ( ขั้นตอนเดียว ) A + 2B  AB 2 Forward rate; rate f = k f [A][B] 2 Reverse rate ; rate r = kr [AB 2 ] ที่สมดุล rate f = rate r k f [A][B] 2 = k r [AB 2 ] = = K C K f k r
  • 23. ตัวอย่างที่ 5 Cu 2+ ไอออนทำปฏิกิริยากับ Fe 2+ ไอออนตามปฏิกิริยาข้างล่าง Cu 2+ + 2 Fe 2+ Cu + 2 Fe 3+ จงหาค่า Kc 2. ถ้ามี 2 elementary steps (2 ขั้นตอน ) ขั้นแรก : 2B B 2 ขั้นสอง : A + B 2 AB 2 รวม : A + 2B  AB 2
  • 24. ขั้นแรก = = ขั้นสอง = = รวม K / K // =  = . =  ไม่ว่าจะเป็น single หรือ multiple step จะได้ K C =  = K C
  • 25. ค่า K C บอกอะไรเราบ้าง ? 1. ทำนายทิศทางของปฏิกิริยา ( ไปข้างหน้า หรือ ย้อนกลับ ) โดยการเปรียบเทียบค่า Q C กับ K C Q C = ผลหารปฏิกิริยา (reaction quotient) = ** ใช้ความเข้มข้นเริ่มต้นแทนค่า K C =
  • 26. ถ้า Q C = K C สมดุล Q C > K C มี product มากเกินสมดุล  ปฏิกิริยาต้องย้อนกลับ Q C < K C มี product น้อยกว่าสมดุล  ปฏิกิริยาต้องไปข้างหน้า
  • 27. ตัวอย่างที่ 6 จากสมดุลของ N 2 (g) + 3H 2 (g)  2NH 3 (g) จำนวนโมลเริ่มต้น 0.8 mol 0.4 mol 0.1 mol ในภาชนะ 2 L จงแสดงการเปรียบเทียบค่า K C , Q C สมดุลหรือไม่ ถ้าไม่สมดุลทิศทางของปฏิกิริยาไปทางไหน ( เมื่อ K C = 0.65 ) โจทย์กำหนดจำนวนโมลเริ่มต้นให้เปลี่ยนเป็นความเข้มข้น (mol/L, M) [N 2 ] 0 = 0.8 mol / 2 L = 0.4 mol/L [H 2 ] 0 = 0.4 mol / 2 L = 0.2 mol/L [NH 3 ] 0 = 0.1 mol / 2 L = 0.05 mol/L
  • 28. Q C = =  Q C = 0.78 เมื่อ K C = 0.65 ดังนั้น Q C > K C ( ไม่สมดุล ) ปฏิกิริยาจะมีทิศทางย้อนกลับ (reverse) ( ขวาไปซ้าย )
  • 29. ตัวอย่างที่ 7 ที่อุณหภูมิ 350 o C N 2 (g) + 3 H 2 (g)  2NH 3 (g) ค่า Kc = 2.37  10 - 3 ที่สมดุล (M) 0.683 8.80 1.05 ถ้าเพิ่ม [ NH 3 ] เป็น 3.65 M จงทำนายทิศทางของปฏิกิริยา ( จาก Q C , K C ) เมื่อเพิ่ม [NH 3 ] ระบบปรับตัวปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ NH 3 ] ลง Q C = = = 2.86  10 -2  Q C > K C ดังนั้นปฏิกิริยาไปทางซ้าย จนกว่า Q C = K C
  • 30. ตัวอย่างที่ 8 ที่อุณหภูมิ 430 o C 2NO(g) + O 2 (g)  2NO 2 (g) ค่า K P = 1.5  10 5 ความดัน ( atm ) 0.001 0.02 0.50 จงคำนวณหา Q P และทิศทางของปฏิกิริยา Q P = = = 1.8  10 5 ดังนั้น Q P > K P ปฏิกิริยาไปทางซ้าย
  • 31. ตัวอย่างที่ 9 จากสมดุลของ A  B เมื่อ [A] 0 = 0.5 mol/L และ K C = 1.5 จงหา [A] , [B] ที่สมดุล A  B เริ่มต้น (M) 0.5 0 เปลี่ยนแปลง (M) - x + x สมดุล (M) 0.5 – x x แทนค่า K C = 1.5 = x = 1.5(0.5 - x) x = 0.75 - 1.5x
  • 32. 2.5 x = 0.75 x = 0.3 ดังนั้นที่สมดุล [A] = 0.5 – 0.3 = 0.2 M [B] = 0.3 M *check ; K C = = 1.5 ตัวอย่างที่ 10 A 2 (g) + B 2 (g)  2 AB(g) เริ่มต้น (mol) 0.5 0.5 ในภาชนะ 1 ลิตร ที่อุณหภูมิ 430 o C ค่า K C = 49 จงหา [A 2 ], [B 2 ] และ [AB] ที่สมดุล
  • 33. A 2 (g) + B 2 (g)  2AB(g) เริ่มต้น (M) 0.5 0.5 0 เปลี่ยนแปลง (M) - x - x 2 x สมดุล (M) (0.5 – x ) (0.5 – x ) 2 x แทนค่า K C = 49 = 49 =
  • 34. 7 = 2 x = 7(0.5 – x ) 2 x = 3.5 – 7 x 9 x = 3.5 x = 0.39 M ดังนั้นที่สมดุล [A 2 ] = 0.5 – 0.39 = 0.11 M [B 2 ] = 0.5 – 0.39 = 0.11 M [AB] = 2(0.39) = 0.78 M
  • 35. ตัวอย่างที่ 11 A 2 + B 2  2 AB K C = 49 เริ่มต้น (M) 1.0 1.0 1.0 เปลี่ยนแปลง (M) - x - x + 2 x สมดุล (M) (1.0 – x ) (1.0 – x ) (1.0 + 2 x ) แทนค่า K C = 49 = 49 =
  • 36. 7 = 7(1.0 – x ) = 1.0 + 2 x 9 x = 6 x = 0.67 ดังนั้นที่สมดุล [A 2 ] = 1.0 – 0.67 = 0.33 M [B 2 ] = 1.0 – 0.67 = 0.33 M [AB] = 1.0 + 2(0.67) = 2.34 M
  • 37. ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี (Factors that affect chemical equilibrium) 1. ความเข้มข้น 3. ปริมาตร 2. ความดัน 4. อุณหภูมิ เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนด้วยปัจจัยเหล่านี้ ระบบจะปรับตัวเองให้เข้าสู่สมดุล ใหม่อีกครั้ง ตามหลักของเลอชาเตอรลิเยร์ ( Le Chatelier’s Principle) ที่กล่าวว่า “ เมื่อระบบสมดุลถูกรบกวนจนสมดุลเสียไประบบจะปรับตัวในทิศทางที่ทำให้ ปัจจัยรบกวนลดน้อยที่สุด เพื่อระบบจะเข้าสู่สมดุลเดิม ”
  • 38. ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี 1. การเปลี่ยนความเข้มข้น Fe(CNS) 3 ละลายน้ำ FeCNS 2+ (aq)  Fe 3+ (aq) + CNS - (aq) แดง เหลืองอ่อน ไม่มีสี - ถ้าเติม Fe(NO 3 ) 3  เพิ่ม Fe 3+ : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ Fe 3+ ] ได้สีแดง - ถ้าเติม NaCNS  เพิ่ม CNS - : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางซ้ายเพื่อลด [ CNS - ] ได้สีแดง - ถ้าเติม H 2 C 2 O 4 ( ได้ C 2 O 4 2- จับกับ Fe 3+ )  ลด Fe 3+ : ระบบปรับตัวทำให้ปฏิกิริยาไปทางขวาเพื่อเพิ่ม [ Fe 3+ ] ได้สีเหลือง
  • 39. 2. เปลี่ยนความดันและปริมาตร ถ้าสารเป็น solid , liquid การเปลี่ยน P , V ไม่มีผล แต่ถ้าสารเป็น gas การเปลี่ยน P , V มีผลมาก จาก PV = nRT  P = RT  P  1 / V ดังนั้น ถ้าเพิ่ม P = ลด V ทำให้ความเข้มข้นเพิ่ม (n/ V)
  • 40. ตัวอย่างที่ 12 N 2 O 4 (g)  2NO 2 (g) Q C =  ถ้า เพิ่ม P = ลด V = เพิ่มความเข้มข้น ดังนั้น [NO 2 ], [N 2 O 4 ] ต่างก็เพิ่มขึ้นทั้งคู่ แต่ [NO 2 ] 2 จะเพิ่มขึ้นมากกว่า [N 2 O 4 ]  Q C > K C ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางซ้าย แต่ถ้า ลด P = เพิ่ม V = ความเข้มข้นลดลง ดังนั้น [NO 2 ] 2 ลดลงมากกว่า [N 2 O 4 ] เช่นกัน  Q C < K C ปฏิกิริยาจึงดำเนินไปทางขวา
  • 41.
  • 42.
  • 43. 3. การเปลี่ยนอุณหภูมิ ถ้าเปลี่ยน ความเข้มข้น ปริมาตร ความดัน = เปลี่ยนสมดุล การเปลี่ยนอุณหภูมิ = เปลี่ยน K C ถ้า N 2 O 4 (g)  2NO 2 (g)  H o = 58.0 kJ ดูดความร้อน 2NO 2 (g)  N 2 O 4 (g)  H o = -58.0 kJ คายความร้อน ปฏิกิริยาไปข้างหน้า  ถ้า  T =  Heat ทำให้เพิ่ม endothermic reaction ( ดูดความร้อน ) ถ้า  T =  Heat ทำให้เพิ่ม exothermic reaction ( คายความร้อน )
  • 44. 4. ผลจาก catalyst - ช่วยลด activation energy ( Ea ) - ทำให้อัตราเร็วของปฏิกิริยาเร็วขึ้น ทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ - ไม่มีผลต่อ K C และ equilibrium 1. เพิ่มอุณหภูมิ ย้อนกลับ 2. ลดอุณหภูมิ ไปข้างหน้า 1. เพิ่มอุณหภูมิ ไปข้างหน้า 2. ลดอุณหภูมิ ย้อนกลับ ปฏิกิริยาคายความร้อน (  H o ลบ ) ปฏิกิริยาดูดความร้อน (  H o บวก )
  • 45. ตัวอย่างที่ 15 จากสมดุล 4NH 3 (g) + 5O 2 (g)  4NO(g) + 6H 2 O(l)  H o = - 248 kJ จงทำนายทิศทางการดำเนินไปของปฏิกิริยาเมื่อรบกวนสมดุลดังต่อไปนี้ ปัจจัยการรบกวน ทิศทางที่ปฏิกิริยาดำเนินไป a. เพิ่ม NH 3 (g) b. ลด O 2 (g) c. ลด NO (g) d. เพิ่มปริมาตรของภาชนะบรรจุ 2 เท่า e. เพิ่มอุณหภูมิ f. เพิ่มความดัน ไปข้างหน้า ไปข้างหน้า ไปข้างหน้า ย้อนกลับ ย้อนกลับ ย้อนกลับ