SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
ผู้นำเสนอ  นางสาวกนกวรรณ  สุขใจ ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบต่อการสร้างสเปิร์มและพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับในหนูเมาส์ Effectof  Hibiscussabdariffa   Linn.  Seed Extract  on Spermatogenesis and Liver Histopathology in mice ( Mus  musculus ) อาจารย์ที่ปรึกษา  รศ . ดร . อำพา เหลืองภิรมย์
หัวข้อในการนำเสนอ 1 4 ที่มาและความสำคัญ วิธีการทดลอง ผลการทดลอง 5 สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 3 2 วัตถุประสงค์
ที่มาและความสำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// images . google . co . th / imgres?imgurl = http :// herb . kapook . com
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],http :// images . google . co . th / imgres?imgurl = http :// img . kapook . com / image
วัตถุประสงค์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1 2 3
ขอบเขตและข้อจำกัดของการวิจัย ศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงที่มีต่อตับ  หลังจากป้อนสารสกัดด้วยน้ำจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงในขนาด  20   และ  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว แก่หนูเมาส์เป็นเวลา  15   วัน  ทำการตรวจจุลพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อตับ  และวัดระดับเอนไซม์  alanine aminotransferase  ( ALT )   ในเลือด ศึกษาผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงที่มีต่ออัณฑะ ทำการตรวจวัดระดับฮอร์โมนโพรแลกทินในเลือด ตรวจสอบ จุลพยาธิสภาพของอัณฑะ และตรวจสอบคุณภาพสเปิร์มที่เก็บจากท่ออิพิดิไดมิสและวาสดีเฟอเรน
วิธีการศึกษา สัตว์ทดลอง -  หนูเมาส์  ( Mus musculus )   -  พันธุ์  Swiss albino   เพศผู้  -  อายุ  12-14   สัปดาห์  -  น้ำหนัก  30-45   กรัม  - กรงแสตนเลส  - ห้องควบคุมอุณหภูมิ  25    2   ๐ C - L:D = 12:12  - อาหารอัดเม็ดสำเร็จรูป  - น้ำประปาดื่มตลอดเวลา
การเตรียมสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดง เมล็ดกระเจี๊ยบแดง  100  กรัม บดละเอียด แช่ในน้ำกลั่น  2.5  ลิตร  10  ชั่วโมง กรองด้วยผ้าขาวบาง ตู้อบที่อุณหภูมิ  45  0 C   ผงสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบแดง
การทดลอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีการเจาะเลือดเพื่อใช้ตรวจวัดระดับฮอร์โมนโพรแลกทินและระดับเอนไซม์  ALT   ในเลือด   สลบหนูด้วยอีเทอร์ ผ่าตัดเปิดช่องท้องและช่องอก เข็มฉีดยาที่มี  heparin  ดูดเลือดช้า ปั่นเหวี่ยง  1800  รอบ / วินาที  3   นาที ดูดซีรั่ม เก็บที่  - 20  o C   ส่งตรวจห้องปฏิบัติการกลาง  คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิธีการตรวจสอบคุณภาพสเปิร์ม   ตัด  epididymis   และ  vas diferen ชะด้วย  0.9% NaCl  2 ml. น้ำเชื้อ  0.1 ml.  trypan blue 0.9 ml.  หยดลง  hemocytometer นับจำนวนสเปิร์ม ตรวจการมีชีวิตของสเปิร์ม
วิธีการตรวจสอบคุณภาพสเปิร์ม   ตัด  epididymis  และ   vas diferen ชะด้วย  0.9%  NaCl   2 ml. หยดน้ำเชื้อลงบนสไลด์หลุม ตรวจการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม หยดน้ำเชื้อ  1   หยด หลอดทดลอง หยด  eosin-nigrosin   2   หยด สเมียร์บนสไลด์ ตรวจสอบรูปร่างสเปิร์มที่ผิดปกติ
การเตรียมสไลด์เพื่อศึกษาลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับและอัณฑะ   ตัดตับและอัณฑะ แช่ในสารละลาย  Bouin ล้างด้วย   70% alcohol กรรมวิธีพาราฟิน ย้อม  H&E นับจำนวนชั้น   spermatocyte,spermatid ตรวจสอบความผิดปกติ  ของเนื้อเยื่อตับ
การวิเคราะห์ข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผลการทดลอง 1. การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.1   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับ   เอนไซม์  ALT   ในเลือด  1.2   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อ   จุลพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อตับ
1 . การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.1   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับเอนไซม์ ALT   ในเลือด   ระดับเอนไซม์ที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ  2.1 – 23.8 IU/l  (Nomura et al., 1975)   สารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ ( mg/100g BW )   ( N=6 ) เอนไซม์  ALT ( X ± SD   ,IU/l ) 0 22.67 ±  4.58 20 11.17 ± 6.76 80 21.17 ± 4.40
1 . การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.2  ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ   กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  พบมีการแทรกตัวของเม็ดเลือดขาว  ( lymphocytic infiltration )  เล็กน้อย
1.2  ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ   C S H -hepatocyte, H - sinusoid lining cell, S -central vein, C  H&E  กำลังขยาย  400  เท่า Normal S C H
1.2  ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ   C S H -hepatocyte, H - lymphocytic infiltration, L  H&E  กำลังขยาย  400  เท่า lymphocytic infiltration  H L
2 . การศึกษาผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่ออัณฑะ 2.1   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับฮอร์โมน โพรแลกทินในเลือด   N= จำนวนหนูในแต่ละกลุ่มการทดลอง อักษรที่ต่างกันในแต่ละคอลัมน์มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่  P<0.05 สารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ ( mg/100g BW )   ( N=6 ) ฮอร์โมนโพรแลกทิน ( X ± SD  ,  ng/ml )  0 0.11 ± 0.11 a 20 0.17 ± 0.10 ab 80 0.29 ± 0.28 b
2.2   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของอัณฑะ 1.47 2.59 1.78 2.22 2.07 2.85
Sg Sg Sc Sc St St Sz Sz -spermatogonium (Sg)  -spermatocyte (Sc)  -spermatid (St)  -spermatozoas (Sz)  (H&E)  กำลังขยาย  400  เท่า   กลุ่มควบคุม 20   mg/100g น้ำหนักตัว
80   mg/100g น้ำหนักตัว   -spermatogonium (Sg)  -spermatocyte (Sc)  -spermatid (St)  -spermatozoas (Sz)  (H&E)  กำลังขยาย  400  เท่า   Sg Sc St Sz
2.3   ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อคุณภาพสเปิร์ม กลุ่มที่ได้รับสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบขนาด  20  และ  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์ม  12.12 x 10 7   และ  13.73 x 10 7   ตัว / มิลลิลิตรตามลำดับและไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งมีจำนวนเท่ากับ  12.49 x 10 7
กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  20  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตร้อยละ  81.83  และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม  ซึ่งมีจำนวนร้อยละ  78.92  ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตร้อยละ  73.27  ซึ่งลดลงและแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  ( P<0.05 )   กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  20  และ  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว   มีจำนวนสเปิร์มที่เคลื่อนที่ร้อยละ  65.77  และ  66.32  และ  ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม  ซึ่งมีจำนวนร้อยละ  70.84
กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์มผิดปกติร้อยละ  25.05  ซึ่งลดลงแต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุมซึ่งมีร้อยละ  28.72  ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  20  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์มที่ผิดปกติร้อยละ  21.78  ซึ่งลดลงและแตกต่างจากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  ( P<0.05 )  ลักษณะรูปร่างที่ผิดปกติของสเปิร์มที่พบ  ได้แก่  หัวไม่ต่อกับหาง  ( deteched head )  ส่วนตัวมีหยดน้ำ  ( medial protoplasmic droplet )  ส่วนตัวและหางขดม้วน  ( coiled middle piece and tail )  ส่วนหางโค้งงอ  ( coil tail )
 
สเปิร์มรูปร่างปกติ หัวไม่ติดกับหาง
ส่วนตัวมีหยดน้ำ   ส่วนหัวติดกับหาง
ส่วนหางโค้งงอ
สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ หนูเมาส์กลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ  20  และ   80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว ซึ่งเป็นระดับเอนไซม์ที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ (Nomura et al., 1975) เมื่อตรวจลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับหนูที่ได้รับสารสกัดขนาด  20  และ   80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว พบเซลล์ตับมีการเรียงตัวเป็นระเบียบในกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  20  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว พบมีการแทรกตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาว เพียงเล็กน้อย
[object Object],[object Object]
เมื่อตรวจลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่ออัณฑะ  พบว่ากลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนชั้น   spermatocyte  และ  spermatid  ลดลงแตกต่างจากกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด  80  มิลลิกรัม / 100   กรัมน้ำหนักตัว  มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตลดลง   ประมวล วีรมุตเสน  ( 2532 )  ฮอร์โมนโพรแลกทินมีผลต่อ  hypothalamus   รบกวนต่อการหลั่ง  GnRH  มีผลทำให้สัดส่วน  FSH/LH  ผิดปกติไป  ขัดขวางการตอบสนองของรังไข่ต่อฮอร์โมน Chareonphandhu and Krishamanra (2007)  ฮอร์โมนโพรแลกทินควบคุมการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้เล็ก
HYPOTHALAMUS PITUITARY  GLAND GnRH GONADS MAMMARY GLAND PROLACTIN FSH/LH
เอกสารอ้างอิง ประมวล วีรุตมเสน .  2532.   สรีรวิทยาการเจริญพันธุ์ .  โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,  กรุงเทพฯ .  สุพรพิมพ์ เจียสกุล ,  กนกวรรณ ติลกสกุลชัย ,  วัฒนา วัฒนาภา และชัยเลิศ พิชิตพรชัย .  2540.  สรีรวิทยา  1.  เรือนแก้วการพิมพ์ ,  กรุงเทพฯ . Capasso, R., Aviello, G., Capasso, F., Savino, F., Izzo, A. A., Lembo, F. and Borrelli, F. 2009.  Silymarin BIO-C, an extract from  Silybum marianum  fruits, induces  hyperprolactinemia in intact female rats. Phytomedicine 16: 839-844. Chareonphandhu, N. and Krishamanra, N. 2007. Prolactin is an important regulator of intestinal  calcium transport. Can J Physiol Pharmacol 85: 569-581. Ganguly, M., Borthakur, M. K., Devi, N. and Mahanta, R. 2007. Antifertility activity of the  methanolic leaf extract of  Cissampelos pareira  in female albino mice. Journal of  Ethnophamacology 111: 688-691.
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ รศ . ดร .  อำพา เหลืองภิรมย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิจัย คณาจารย์ภาควิชาชีววิทยาทุกท่าน เจ้าหน้าที่ภาควิชาชีววิทยาทุกท่าน ขอขอบคุณตัวอย่างสัตว์ทดลองที่สละชีวิตในการทำโครงงานวิจัย
Thank You
LH  FSH  inhibin  Leydig cells Sertoli cells testosterone testosterone Negative  Feedback Negative  Feedback

More Related Content

Similar to กนกวรรณ

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood programTHANAKORN
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1Nunu Neenee
 
DOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxDOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxPrabhop1
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันMett Raluekchat
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560Postharvest Technology Innovation Center
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้งtor_03372
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 

Similar to กนกวรรณ (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
22
2222
22
 
Tf plus
Tf plus Tf plus
Tf plus
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2554
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Detail2
Detail2Detail2
Detail2
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
แผนการจัดซื้อเวชภัณฑ์มิใช่ยา 2558 .1
 
DOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxDOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptx
 
Eurofer
EuroferEurofer
Eurofer
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
วิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควันวิจัยปลาดุกรมควัน
วิจัยปลาดุกรมควัน
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560
Postharvest Newsletter ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2560
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 

กนกวรรณ

  • 1. ผู้นำเสนอ นางสาวกนกวรรณ สุขใจ ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบต่อการสร้างสเปิร์มและพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับในหนูเมาส์ Effectof  Hibiscussabdariffa   Linn.  Seed Extract  on Spermatogenesis and Liver Histopathology in mice ( Mus  musculus ) อาจารย์ที่ปรึกษา รศ . ดร . อำพา เหลืองภิรมย์
  • 2. หัวข้อในการนำเสนอ 1 4 ที่มาและความสำคัญ วิธีการทดลอง ผลการทดลอง 5 สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง 3 2 วัตถุประสงค์
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ขอบเขตและข้อจำกัดของการวิจัย ศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงที่มีต่อตับ หลังจากป้อนสารสกัดด้วยน้ำจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงในขนาด 20 และ 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว แก่หนูเมาส์เป็นเวลา 15 วัน ทำการตรวจจุลพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อตับ และวัดระดับเอนไซม์ alanine aminotransferase ( ALT ) ในเลือด ศึกษาผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงที่มีต่ออัณฑะ ทำการตรวจวัดระดับฮอร์โมนโพรแลกทินในเลือด ตรวจสอบ จุลพยาธิสภาพของอัณฑะ และตรวจสอบคุณภาพสเปิร์มที่เก็บจากท่ออิพิดิไดมิสและวาสดีเฟอเรน
  • 7. วิธีการศึกษา สัตว์ทดลอง - หนูเมาส์ ( Mus musculus ) - พันธุ์ Swiss albino เพศผู้ - อายุ 12-14 สัปดาห์ - น้ำหนัก 30-45 กรัม - กรงแสตนเลส - ห้องควบคุมอุณหภูมิ 25  2 ๐ C - L:D = 12:12 - อาหารอัดเม็ดสำเร็จรูป - น้ำประปาดื่มตลอดเวลา
  • 8. การเตรียมสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดง เมล็ดกระเจี๊ยบแดง 100 กรัม บดละเอียด แช่ในน้ำกลั่น 2.5 ลิตร 10 ชั่วโมง กรองด้วยผ้าขาวบาง ตู้อบที่อุณหภูมิ 45 0 C ผงสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบแดง
  • 9.
  • 10. วิธีการเจาะเลือดเพื่อใช้ตรวจวัดระดับฮอร์โมนโพรแลกทินและระดับเอนไซม์ ALT ในเลือด สลบหนูด้วยอีเทอร์ ผ่าตัดเปิดช่องท้องและช่องอก เข็มฉีดยาที่มี heparin ดูดเลือดช้า ปั่นเหวี่ยง 1800 รอบ / วินาที 3 นาที ดูดซีรั่ม เก็บที่ - 20 o C ส่งตรวจห้องปฏิบัติการกลาง คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 11. วิธีการตรวจสอบคุณภาพสเปิร์ม ตัด epididymis และ vas diferen ชะด้วย 0.9% NaCl 2 ml. น้ำเชื้อ 0.1 ml. trypan blue 0.9 ml. หยดลง hemocytometer นับจำนวนสเปิร์ม ตรวจการมีชีวิตของสเปิร์ม
  • 12. วิธีการตรวจสอบคุณภาพสเปิร์ม ตัด epididymis และ vas diferen ชะด้วย 0.9% NaCl 2 ml. หยดน้ำเชื้อลงบนสไลด์หลุม ตรวจการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม หยดน้ำเชื้อ 1 หยด หลอดทดลอง หยด eosin-nigrosin 2 หยด สเมียร์บนสไลด์ ตรวจสอบรูปร่างสเปิร์มที่ผิดปกติ
  • 13. การเตรียมสไลด์เพื่อศึกษาลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับและอัณฑะ ตัดตับและอัณฑะ แช่ในสารละลาย Bouin ล้างด้วย 70% alcohol กรรมวิธีพาราฟิน ย้อม H&E นับจำนวนชั้น spermatocyte,spermatid ตรวจสอบความผิดปกติ ของเนื้อเยื่อตับ
  • 14.
  • 15. ผลการทดลอง 1. การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.1 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับ เอนไซม์ ALT ในเลือด 1.2 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อ จุลพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อตับ
  • 16. 1 . การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.1 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับเอนไซม์ ALT ในเลือด ระดับเอนไซม์ที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.1 – 23.8 IU/l (Nomura et al., 1975) สารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ ( mg/100g BW ) ( N=6 ) เอนไซม์ ALT ( X ± SD ,IU/l ) 0 22.67 ± 4.58 20 11.17 ± 6.76 80 21.17 ± 4.40
  • 17. 1 . การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ 1.2 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว พบมีการแทรกตัวของเม็ดเลือดขาว ( lymphocytic infiltration ) เล็กน้อย
  • 18. 1.2 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ C S H -hepatocyte, H - sinusoid lining cell, S -central vein, C H&E กำลังขยาย 400 เท่า Normal S C H
  • 19. 1.2 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของเนื้อเยื่อตับ C S H -hepatocyte, H - lymphocytic infiltration, L H&E กำลังขยาย 400 เท่า lymphocytic infiltration H L
  • 20. 2 . การศึกษาผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่ออัณฑะ 2.1 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อระดับฮอร์โมน โพรแลกทินในเลือด N= จำนวนหนูในแต่ละกลุ่มการทดลอง อักษรที่ต่างกันในแต่ละคอลัมน์มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ P<0.05 สารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ ( mg/100g BW ) ( N=6 ) ฮอร์โมนโพรแลกทิน ( X ± SD , ng/ml ) 0 0.11 ± 0.11 a 20 0.17 ± 0.10 ab 80 0.29 ± 0.28 b
  • 21. 2.2 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อจุลพยาธิสภาพ ของอัณฑะ 1.47 2.59 1.78 2.22 2.07 2.85
  • 22. Sg Sg Sc Sc St St Sz Sz -spermatogonium (Sg) -spermatocyte (Sc) -spermatid (St) -spermatozoas (Sz) (H&E) กำลังขยาย 400 เท่า กลุ่มควบคุม 20 mg/100g น้ำหนักตัว
  • 23. 80 mg/100g น้ำหนักตัว -spermatogonium (Sg) -spermatocyte (Sc) -spermatid (St) -spermatozoas (Sz) (H&E) กำลังขยาย 400 เท่า Sg Sc St Sz
  • 24. 2.3 ผลของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อคุณภาพสเปิร์ม กลุ่มที่ได้รับสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบขนาด 20 และ 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์ม 12.12 x 10 7 และ 13.73 x 10 7 ตัว / มิลลิลิตรตามลำดับและไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งมีจำนวนเท่ากับ 12.49 x 10 7
  • 25. กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 20 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตร้อยละ 81.83 และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 78.92 ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตร้อยละ 73.27 ซึ่งลดลงและแตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P<0.05 ) กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 20 และ 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มที่เคลื่อนที่ร้อยละ 65.77 และ 66.32 และ ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งมีจำนวนร้อยละ 70.84
  • 26. กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มผิดปกติร้อยละ 25.05 ซึ่งลดลงแต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุมซึ่งมีร้อยละ 28.72 ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 20 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มที่ผิดปกติร้อยละ 21.78 ซึ่งลดลงและแตกต่างจากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( P<0.05 ) ลักษณะรูปร่างที่ผิดปกติของสเปิร์มที่พบ ได้แก่ หัวไม่ต่อกับหาง ( deteched head ) ส่วนตัวมีหยดน้ำ ( medial protoplasmic droplet ) ส่วนตัวและหางขดม้วน ( coiled middle piece and tail ) ส่วนหางโค้งงอ ( coil tail )
  • 27.  
  • 29. ส่วนตัวมีหยดน้ำ ส่วนหัวติดกับหาง
  • 31. สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง การศึกษาพิษของสารสกัดจากเมล็ดกระเจี๊ยบแดงต่อตับ หนูเมาส์กลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับสารสกัดเมล็ดกระเจี๊ยบ 20 และ 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว ซึ่งเป็นระดับเอนไซม์ที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ (Nomura et al., 1975) เมื่อตรวจลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่อตับหนูที่ได้รับสารสกัดขนาด 20 และ 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว พบเซลล์ตับมีการเรียงตัวเป็นระเบียบในกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 20 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว ส่วนกลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว พบมีการแทรกตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาว เพียงเล็กน้อย
  • 32.
  • 33. เมื่อตรวจลักษณะทางจุลพยาธิสภาพเนื้อเยื่ออัณฑะ พบว่ากลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนชั้น spermatocyte และ spermatid ลดลงแตกต่างจากกลุ่มควบคุม กลุ่มที่ได้รับสารสกัดขนาด 80 มิลลิกรัม / 100 กรัมน้ำหนักตัว มีจำนวนสเปิร์มที่มีชีวิตลดลง ประมวล วีรมุตเสน ( 2532 ) ฮอร์โมนโพรแลกทินมีผลต่อ hypothalamus รบกวนต่อการหลั่ง GnRH มีผลทำให้สัดส่วน FSH/LH ผิดปกติไป ขัดขวางการตอบสนองของรังไข่ต่อฮอร์โมน Chareonphandhu and Krishamanra (2007) ฮอร์โมนโพรแลกทินควบคุมการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้เล็ก
  • 34. HYPOTHALAMUS PITUITARY GLAND GnRH GONADS MAMMARY GLAND PROLACTIN FSH/LH
  • 35. เอกสารอ้างอิง ประมวล วีรุตมเสน . 2532. สรีรวิทยาการเจริญพันธุ์ . โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ . สุพรพิมพ์ เจียสกุล , กนกวรรณ ติลกสกุลชัย , วัฒนา วัฒนาภา และชัยเลิศ พิชิตพรชัย . 2540. สรีรวิทยา 1. เรือนแก้วการพิมพ์ , กรุงเทพฯ . Capasso, R., Aviello, G., Capasso, F., Savino, F., Izzo, A. A., Lembo, F. and Borrelli, F. 2009. Silymarin BIO-C, an extract from Silybum marianum fruits, induces hyperprolactinemia in intact female rats. Phytomedicine 16: 839-844. Chareonphandhu, N. and Krishamanra, N. 2007. Prolactin is an important regulator of intestinal calcium transport. Can J Physiol Pharmacol 85: 569-581. Ganguly, M., Borthakur, M. K., Devi, N. and Mahanta, R. 2007. Antifertility activity of the methanolic leaf extract of Cissampelos pareira in female albino mice. Journal of Ethnophamacology 111: 688-691.
  • 36. กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ รศ . ดร . อำพา เหลืองภิรมย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิจัย คณาจารย์ภาควิชาชีววิทยาทุกท่าน เจ้าหน้าที่ภาควิชาชีววิทยาทุกท่าน ขอขอบคุณตัวอย่างสัตว์ทดลองที่สละชีวิตในการทำโครงงานวิจัย
  • 38. LH FSH inhibin Leydig cells Sertoli cells testosterone testosterone Negative Feedback Negative Feedback