SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตของคน
เลือด

หลอดเลือด

ส่วนที่เป็นของเหลว

หลอดเลือดอาร์เทอรี

ส่วนที่เป็นของแข็ง

หลอดเลือดเวน
หลอดเลือดฝอย

หัวใจ

ระบบไหลเวียนโลหิตของสัตว์
ระบบเปิด





แมลง
กุ้ง
ปู
หอย

ระบบปิด





ไส้เดือนดิน
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
สัตว์ปีก
สัตว์เลียงลูกด้วย
นม
อาหารที่เรากินเข้าไปเมื่อผ่านกระบวนการย่อย
อาหารจะได้อนุภาคที่เล็กที่สุดซึ่งสามารถแพร่ผ่านเข้าสู่
ผนังของล้าไส้เล็กได้ จากนันจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือด แล้ว
ถูกน้าไปยังส่วนต่างๆของร่างกายโดนระบบหมุนเวียนของ
เลือดเช่นเดียวกับก๊าซออกซิเจนที่เมื่อถูกน้าเข้าสูรางกาย
่่
แล้วจะถูกน้าไปยังเซลล์ต่างๆของร่างกายโดยเม็ดเลือดแดง
และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการหายใจ
จะถูกล้าเลียงออกจากเซลล์ทางพลาสมา ซึ่งการหมุนเวียน
ของเลือดและการหมุนเวียนของก๊าซจะเกิดควบคู่กันไป
องค์ประกอบของระบบไหลเวียนเลือดของคน
เลือด

หลอดเลือด

ส่วนที่เป็นของเหลว

หลอดเลือดอาร์เทอรี

ส่วนที่เป็นของแข็ง

หลอดเลือดเวน

หลอดเลือดฝอย

หัวใจ
1.เลือด
ส่วนที่เป็นของเหลว
ส่วนที่เป็นของแข็ง
เลือด
ในร่างกายของคนเรามีเลือดอยู่ประมาณ
6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เลือดประกอบไปด้วย
ส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้าเลือด ( plasma ) กับ
ส่วนที่เป็นของแข็ง คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ด
เลือดขาว และ เกล็ดเลือด
ส่วนที่เป็นของเหลว

ส่วนที่เป็นของหลว คือ น้าเลือด
หรือพลาสมา ประกอบด้วยน้าและสาร
ต่างๆ ซึ่งได้แก่ สารอาหารที่ถูกย่อยแล้ว
รวมทังวิตามิน เกลือแร่ ฮอร์โมนและสาร
อื่นๆที่ละลายน้าได้

ส่วนที่เป็นของเหลวประกอบด้วย
น้า ซึ่งจะท้าหน้าที่รักษาระดับปริมาณของเลือดความดันโลหิตให้คงที่
ละลายแร่ธาตุต่างๆ เป็นตัวกลางในการ ล้าเลียงสาร ท้าให้เซลล์มีความเปียกชืนอยู่
ตลอดเวลา
แร่ธาตุ ท้าหน้าที่รักษาระดับของการแพร่ ระดับของ pH รักษาระดับสมดุล
ระหว่างน้าเหลือง กับน้าเลือดในเซลล์
พลาสมาโปรตีน (plasma protein) ท้าหน้าที่ รักษาระดับของแรงดัน
ออสโมติกและระดับ pH และยังมีพวกที่ท้าหน้าที่เฉพาะ เช่น
ส่วนที่เป็นของแข็ง

ส่วนที่เป็นของแข็ง มีอยู่ประมาณ 50% ของเลือดทังหมด ประกอบด้วย
เซลล์เม็ดเลือดแดง ท้าหน้าทีขนส่งแก๊สออกซิเจน จากปอดไปสู่เซลล์
่
ทั่วร่างกายและขนส่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียมาสู่ถุงลมในปอด
เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกายทางลมหายใจออก โดยเฉลี่ยเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิต
อยู่ในกระแสเลือดประมาณ 90- 120 วัน หลังจากนันจะถูกส่งไปท้าลายที่ตับและ
ม้าม
เซลล์เม็ดเลือดขาว มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ภายในมี
นิวเคลียส ท้าหน้าที่ท้าลายเชือโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
เกล็ดเลือด เป็นชินส่วนของเซลล์ที่มีรูปร่างเป็นแผ่นเล็กๆปนอยู่ในน้า
เลือด ไม่มีนิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว เวลาเกิดบาดแผลเล็กๆเกล็ด
เลือดจะท้าให้เส้นใย ( fibrin ) ปกคลุมบาดแผลท้าให้เลือดหยุดไหล เกล็ดเลือด
จะมีอายุอยู่ได้ประมาณ 4 วัน
เซลล์เม็ดเลือดแดง

หน้าที่ แลกเปลี่ยนแก๊ส โดยจะล้าเลียงแก๊ส
ออกซิเจน ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย และล้าเลียงแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับไป
ที่ปอด
แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดง คือ ไขกระดูก ผู้ชายจะมี
เซลล์เม็ดเลือดแดงมากกว่าผู้หญิง เซลล์เม็ดเลือดแดงมี
อายุประมาณ 110-120 วัน หลังจากนันจะถูกน้าไปท้าลาย
ที่ตับและม้าม
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell)

มีลักษณะค่อนข้างกลม ไม่มีสีและมีนิวเคลียส
เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด
หน้าที่ ท้าลายเชือโรคหรือสารแปลกปลอมที่เข้า
มาสู่ร่างกาย
แหล่งที่สร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก
และต่อมน้าเหลือง มีอายุประมาณ 7-14 วัน
เกล็ดเลือดหรือแผ่นเลือด (blood pletelet)
ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชินส่วนของเซลล์ซึ่งมี
รูปร่างกลมรีและแบนเกล็ดเลือดมีอายุประมาณ4วัน
หน้าที่ ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหลของ
เลือดจากหลอดเลือดออกสู่ภายนอก
2.หลอดเลือด
หลอดเลือดอาร์เทอรี

หลอดเลือดเวน
หลอดเลือดฝอย
หลอดเลือด
หลอดเลือด( blood vessels ) ในร่างกายคน
แบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ
- เส้นเลือดที่น้าเลือดออกจากหัวใจ เรียกว่า
อาร์เทอรี ( Artery )
- เส้นเลือดที่น้าเลือดเข้าสูหัวใจ เรียกว่า เส้น
่
เวน ( Vein )
- เส้นเลือดฝอย ( Capillaries )โครงสร้างของ
เส้นเลือด โครงสร้างของเส้นเลือดด้า
1. หลอดเลือดแดง (artery) เป็นหลอดเลือดที่น้าเลือดดี
จากหัวใจไปสู่เซลล์ต่างๆ ของร่างกายหลอดเลือดแดงมี
ผนังหนาแข็งแรง และไม่มีลินกันภายใน เลือดที่อยู่ในหลอด
เลือดแดงเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง
2. หลอดเลือดด้า (vein) เป็นหลอดเลือดที่น้าเลือดด้าจากส่วนต่างๆ
ของร่างกายเข้าสู่หวใจหลอดเลือดดมีผนังบางกว่า
ั
หลอดเลือดแดง มีลินกันภายในเพื่อป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ เลือดที่ไหล
อยู่ภายในหลอดเลือดจะเป็นเลือดที่มีปริมาณ
แก๊สออกซิเจนต่้า ยกเว้นหลอดเลือดด้าที่น้าเลือดจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะ
เป็นเลือดแดง
3. หลอดเลือดฝอย (capillary) เป็นหลอดเลือดที่เชื่อมต่อระ
หว่าวหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดด้าสานเป็นร่างแห
แทรกอยู่ตามเนือเยื่อต่างๆ ของร่างกาย มีขนาดเล็กและละเอียด
เป็นฝอยและมีผนังบางมากเป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยน
แก๊สและสารต่างๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์
3.หัวใจ
หัวใจ (heart) ท้าหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลไปตามหลอดเลือด
ไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย แล้วไหลกลับคืนสู่หัวใจ หัวใจ
ประกอบด้วยกล้าเนือพิเศษที่เรียกว่า กล้ามเนือหัวใจ แบ่งห้อง
ออกเป็นห้องบน (atrium) 2 ห้อง และห้องล่าง (ventricle) 2ห้อง
หัวใจห้องบนจะเล็กกว่าห้องล่าง ระหว่าง หัวใจห้องบนและห้องล่าง
จะมีลินกันเพื่อป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ หัวใจห้องล่างซ้ายจะมี
ผนังหนาที่สุด เพราะหัวใจห้องล่างซ้ายมีหน้าที่สบฉีดเลือดไปยังส่วน
ู
ต่างๆของร่างกาย

รู้ไว้ใช้ว่า

+หัวใจของคนเราประกอบไปด้วยกล้ามเนือที่มิได้อยู่ภายใต้อ้านาจ
บังคับของสมอง
+หัวใจของสัตว์เลียงลูกด้วยนม มี 4 ห้อง ของสัตว์ครึ่งบกครึ่น้ามี3
ห้อง ( ยกเว้นจระเข้ มี 4 ห้อง ) หัวใจปลามี 2 ห้อง หัวใจของ
สัตว์ปีก มี 4 ห้อง
การเต้นของหัวใจ (heart beat)
การเต้นของหัวใจเป็นการท้างานเพือสูบฉีดให้เลือดดี
่
ไหลไปทั่วทุกเซลล์ ทุกเนือเยื่อ ทุกอวัยวะของร่างกาย สูบฉีด
ผลักดันเลือดเสียให้ไปยังอวัยวะที่ทาการแลกเปลี่ยนของเสียและ
้
ของดีของเลือด
การเต้นของหัวใจจะเต้นเป็นจังหวะทีสม่้าเสมอตลอด เวลา
่
เนื่องมาจากกล้ามเนือหัวใจหดตัว เรียกการท้างานนีว่า การเต้น
ของหัวใจ (heart beat or contraction of heart) หัวใจจะ
เริ่มเต้นตังแต่ยังอยู่ในครรภ์ของมารดาไปจนกระทังสินชีวิต
่
การเต้นของหัวใจประกอบด้วยขันตอน 2 ขันตอนคือ
ขันตอนการบีบตัว เรียกว่า systole และขันตอนการคลายตัว
หรือพองตัว เรียกว่า diastole
อัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate) มีผลมาจากสิ่งต่างๆ เช่น
- การเปลี่ยนแปลงเมแทบอลิซึมในร่างกาย
- เพศ เพศหญิงหัวใจเต้นเร็วกว่าเพศชาย
- อิริยาบถของร่างกาย เช่น นั่ง ยืน วิ่ง เป็นต้น
- การเจ็บป่วยจากโรคและการบาดเจ็บ
- ขนาดของร่างกาย ร่างกายมีขนาดเล็กอัตราการเต้นของหัวใจจะเร็ว ร่างกายมี
ขนาดใหญ่อัตราการเต้นของหัวใจจะช้า
มนุษย์ในวัยต่างๆ รวมทังสัตว์ต่างชนิดกันจะมีอัตราการเต้นของหัวใจไม่
เท่ากันเช่น
- ทารกในครรภ์ 140 ครัง/นาที - เด็กโต 100 ครัง/นาที - วัยรุ่น 80 ครัง/นาที
- ผู้ใหญ่ 75 ครัง/นาที - วัยชรา 75-80 ครัง/นาที - หนู 700 ครัง/นาที
- กระต่าย 150 ครัง/นาที - สุนัข 100-120 ครัง/นาที - เต่า 56-60 ครัง/นาที
- ช้าง 25-28 ครัง/นาที
การไหลของเลือด (bloodflow) วิลเลียม ฮาวี
นายแพทย์ชาวอังกฤษได้สรุปไว้ว่า "เลือดจะถูกดันออกจาก
หัวใจไปทั่วร่างกาย แล้วก็จะไหลกลับเข้าหัวใจอีก" การ
ไหลของเลือดจะเป็นไปในทางเดียวกันหมด ไม่มีการย้อน
ทิศทางกันเลย แรงดันที่ท้าให้เลือดไหลไปตามเส้นเลือดได้
นันเริ่มต้นมาจากหัวใจ ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องสูบ และ
จะต้องมีก้าลังแรงพอที่จะดันเลือดให้ไหลไปตามเส้นเลือด
ได้ติดต่อกันเป็นระยะๆ เรื่อยไป โดยเลือดไหลผ่านหัวใจ
ประมาณนาทีละ 5 ลิตร
รู้ไว้ใช้ว่า ใส่บ่าแบกหาม

**เซอร์วิลเลียม ฮาร์วี ( Sir William Harvey ) ชาวอังกฤษเป็นคน
แรกที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการหมุนเวียนของเลือด และพบว่าเลือด
ของคนเราไหลไปทางเดียว ไม่มีการไหลสวนทางกัน
**มาร์เซลโล มัลพิกิ ( Marcello Malpghi ) เป็นผู้พบเส้นเลือดฝอย
เป็นคนแรก
ระบบไหลเวียนเลือดของสัตว์
ระบบเปิด
 แมลง
 กุ้ง
 ปู
 หอย

ระบบปิด
 ไส้เดือนดิน
 สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
 สัตว์ปีก
 สัตว์เลียงลูกด้วยนม
ระบบเปิด

 แมลง
 กุ้ง
 ปู
 หอย
ระบบเปิด ระบบหมุนเวียนเลือดแบบ
วงจรเปิด (Open Circulation System) ระบบนี
เลือดที่ไหลออกจากหัวใจจะไม่อยู่ในหลอดเลือด
ตลอดเวลาเหมือนวงจรปิด โดยจะมีเลือดไหลเข้าไป
ในช่องว่างล้าตัวและที่ว่างระหว่างอวัยวะต่าง เป็น
ระบบที่เลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลาแต่
จะมีเลือดไหลไปตามช่องว่างในล้าตัวที่เรียกว่า เฮโม
ซีล ( Haemocoel ) พบในสัตว์ในไฟลัม มอลลัสกา
ได้แก่ หอย ปลาหมึก สัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา
ได้แก่ ปู กุ้ง ตะขาบ และแมลง
 ไส้เดือนดิน
 สัตว์ครึ่งบกครึงน้า
่
 สัตว์ปีก
 สัตว์เลียงลูกด้วยนม

ระบบปิด
2. ระบบปิด ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด (Closed
Circulation System) ระบบนีเลือดจะไหลอยู่ภายในหลอดเลือด
ตลอดเวลา โดยเลือดจะไหลออกจากหัวใจไปตามหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ
แล้วไหลกลับเข้าสู่หัวใจใหม่เช่นนีเรื่อยไป พบในสัตว์จ้าพวกหนอนตัว
กลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด และสัตว์มีกระดูกสันหลังทุก
ชนิด
เป็นระบบที่เลือดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหัวใจครบวงจร ระบบนีมีเส้น
เลือดฝอยเชื่อมโยงระหว่างเส้นเลือดที่พาเลือดออกจากหัวใจ กับเส้น
เลือดที่พาเลือดเข้าสู่หัวใจ พบในสัตว์ไฟลัม แอนิลิดา เช่น ไสเดือนดิน
และสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา หรือพวกมีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา สัตว์
ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์ปีก สัตว์เลียงลูกด้วยนม
ปลา มีหัวใจ 2 ห้อง เลือดที่มีออกซิเจนต่้า
จากส่วนต่างๆ ของร่างกาบจะเข้าสู่หัวใจ
ห้องบนแล้วเคลือนทีลงสูหัวใจห้องล่าง ซึ่ง
่ ่ ่
สูบฉีดเลือดไปยังเหงือกเพื่อแลกเปลี่ยน
ก๊าซ เลือดที่มีปริมาณก๊าซออกซิเจนสูง
จากเหงือก จะไหลตามหลอดเลือดไปยัง
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
จากนันเลือดจะไหล
กลับเข้าสู่หวใจห้องบนอีก
ั
มีหัวใจ 3 ห้อง ซึ่งท้าหน้าที่ ปั๊ม
เลือดแยกออกไปยังระบบเส้น
เลือดแดง 2 วงจรคือวงจรน้า
เลือดไปฟอกที่ปอด และวงจรน้า
เลือดไปเลียงร่างกาย
วงจรแรกน้าเลือดไปฟอกที่ ร่างแหเส้นเลือดฝอย ของปอด และผิวหนัง ได้เลือด
แดงกลับเข้าสู่เอเตรียมซ้าย แล้วเข้าสู่เวนทริเคิล เพื่อ ปั๊ม เลือดออกไปเลียง
ร่างกาย จากนันเลือดด้าก็จะกลับข้าสู่เอเตรียมขวา และเข้าสู่ เวนทริเคิล
 ที่ซึ่งเลือดแดงและเลือดด้าบางส่วนผสมกัน แต่ในสัตว์เลือยคลานการผสมกันจะมี
น้อยถึงแม้จะมีหัวใจ 3 ห้องเช่นกัน เนื่องจากเวนทริเคิล มีแนวโน้มที่จะแยก
ออกเป็น 2 ห้อง

แมลง หัวใจของแมลงมีลักษณะเป็นท่อ อยู่บริเวณ
ด้านบนของล้าตัว หัวใจมีรูเปิดเป็นระยะๆ เพื่อให้เลือดผ่านเข้าไป
ภายในท่อได้ ท่อนีจะบีบตัวดันเลือดออกไปยังหลอดเลือดที่แยก
ออกจากหัวใจ และไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายนอกหลอดเลือด
โดยเลือดจะสัมผัสกับเนือเยื่อโดยตรง
มีลักษณะการท้างานคล้ายกับหัวใจของคนคือมี 4 ห้อง
ประกอบกับห้องที่อยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างละ 2 ห้อง
ประกอบด้วยกล้ามเนือที่แข็งแรงเพือใช้ในการสูบฉีดเลือดไปเลียง
่
ร่างกาย หัวใจห้องซ้ายท้าหน้าที่รับเลือดจากปอด และไปเลียงส่วน
ต่างของร่างกาย หัวใจห้องทางขวา ท้าหน้าที่รับเลือดเสียที่รับมาจาก
ร่างกายและส่งไปยังปอด เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สให้กลายเป็นเลือดดี
ต่อไป
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต

More Related Content

What's hot

ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 

What's hot (20)

ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 

Similar to ระบบไหลเวียนโลหิต

บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดkrutoyou
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 

Similar to ระบบไหลเวียนโลหิต (13)

ระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือดระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือด
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 

More from Thaweekoon Intharachai

ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีThaweekoon Intharachai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ข้อสอบบทสนทนา/Conversation
ข้อสอบบทสนทนา/Conversationข้อสอบบทสนทนา/Conversation
ข้อสอบบทสนทนา/ConversationThaweekoon Intharachai
 

More from Thaweekoon Intharachai (6)

ทัศนอุปกรณ์
ทัศนอุปกรณ์ทัศนอุปกรณ์
ทัศนอุปกรณ์
 
การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือการผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ
 
Buachedwittaya
BuachedwittayaBuachedwittaya
Buachedwittaya
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ข้อสอบบทสนทนา/Conversation
ข้อสอบบทสนทนา/Conversationข้อสอบบทสนทนา/Conversation
ข้อสอบบทสนทนา/Conversation
 

ระบบไหลเวียนโลหิต