SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 1
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะเล่มที่ 1
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ทั้งเนื้อหาและกิจกรรมให้เข้าใจก่อน
2. ให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะ
การวิ่ง 3 ระยะ เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ประกอบการปฏิบัติ
ทุกขั้นตอน
3. นักเรียนจัดกิจกรรมตามเอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ
เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะกระบวนการและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน
4. ให้นักเรียนได้เรียนรู้และซ่อมเสริมสมรรถภาพทางกาย ด้วยเอกสาร
ประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง
ด้วยตัวเอง
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 2
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง
สาระสาคัญ
กรีฑา เป็นกิจกรรมการเคลื่อนไหวอย่างหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัย
โบราณ เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การทุ่มการขว้าง ฯลฯ ต่อมามนุษย์ได้พัฒนาขึ้นมาเป็น
การแข่งขันเพื่อประลองความสามารถในด้านต่าง ๆ เช่นความเร็ว ความอดทน ความไกล ทั้งยังได้กาหนด
กฎ กติการะเบียบข้อบังคับขึ้น กรีซได้จัดพิธีบวงสรวงเทพเจ้าซีอุส และจัดแข่งขันกีฬาขึ้นที่โอลิมเปีย
ซึ่งถือว่าเป็นการกาเนิดกีฬาโอลิมปิกโดยจัดขึ้น 4 ปีต่อครั้ง
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
พ 3.1 เข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหวกิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกมและการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย
เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน
สุนทรียภาพของการกีฬา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนบอกประวัติกรีฑาและประเภทกรีฑาได้
2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายคุณค่า ประโยชน์กรีฑา มารยาทนักกรีฑาและมารยาทผู้ดู
ที่ดีได้
สาระการเรียนรู้
สาหรับ เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะฯ เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นจานวน 2 เรื่อง
ดังนี้
1. ประวัติกรีฑา และประเภทกรีฑา
2. ความหมาย คุณค่า ประโยชน์กรีฑา มารยาทนักกรีฑา
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 3
ประวัติความเป็นมา
จากการดารงชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณ มนุษย์ยังไม่รู้จักสร้างที่พัก เครื่องนุ่งห่ม ตลอดจน
สถานที่ทากินที่เป็นหลักแหล่งดังเช่นปัจจุบัน มนุษย์ในสมัยก่อนต้องอาศัยอยู่ตามถ้า ต้องสู้กับ
ภัยธรรมชาติและสัตว์ร้ายต่างๆ การพยายามที่จะหนีจากภัยธรรมชาติและสัตว์ร้ายเพื่อการอยู่รอด
ก็ต้องใช้การวิ่งหนีเป็นหลัก ถ้าเป็นการวิ่งอย่างรวดเร็วในระยะไม่ไกล ก็เปรียบได้กับการวิ่งระยะสั้น
หากเป็นการวิ่งหนีในระยะเวลานานๆ ก็เปรียบได้กับการวิ่งระยะไกลหรือวิ่งทน ซึ่งบางครั้งในการวิ่งหนี
อาจมีสิ่งกีดขวางมากั้นอยู่ข้างหน้า ต้องใช้การวิ่งข้าม การกระโดดข้ามเข้ามาช่วย การกระโดดข้าม
สิ่งกีดขวางที่นามาใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การวิ่งข้ามรั้ว วิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง เป็นต้น สิ่งต่างๆ ดังกล่าว
ได้ถูกถ่ายทอดต่อๆ กันมา จาก พ่อ แม่ หรือหัวหน้า เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสมัยก่อน ปัจจุบันครู
อาจารย์ หรือผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะเป็นผู้ทาหน้าที่เป็นผู้สอน ชนชาวกรีกโบราณ
เจริญรุ่งเรืองในด้านปรัชญา วรรณคดี ดนตรี และการพลศึกษา การพลศึกษานับว่ามีบทบาทสาคัญ
ในชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกรีกเป็นอย่างยิ่ง เพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ของ
ประเทศกรีกเต็มไปด้วยภูเขา การปกครองแบ่งออกเป็นรัฐ
แต่ละรัฐจะปกครองตนเอง เมื่อรัฐใดต้องการเป็นใหญ่
ก็จะเกิดการรบพุ่ง เพื่อนแย่งชิงอานาจกันอยู่เสมอ
รัฐที่สาคัญและเข้มแข็งมีอยู่สองรัฐ คือ เอเธนส์
และสปาร์ตา ชาวกรีกมีความเชื่อในเทพเจ้าต่างๆ
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 4
ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้า เทพธิดาเหล่านี้สถิตอยู่บนยอดภูเขาโอลิมปัส (OLYMPUS) คล้ายกับเป็น
ผู้ชี้ชะตาของชาวกรีก ชาวกรีกพยายามที่จะเอาใจทาความเข้าใจและ
สนิทสนมกับพระเจ้า โดยการบวงสรวงหรือทาพิธีต่างๆ เพื่อเฉลิม
พระเกียรติของพระเจ้าเหล่านั้น เวลากระทาพิธีหรือมีงานฉลอง
มหกรรมใดๆ ชาวกรีกจะจัดการแข่งขันกีฬาขึ้น ณ บริเวณยอดเขา
โอลิมปัส เพื่อเป็นการถวายความเคารพ และบูชาต่อเทพเจ้าซีอุส
ผู้เป็นประธานแห่งเทพเจ้าทั้งหลายของตนอย่างยิ่งใหญ่ เมื่อเสร็จสิ้น
จากการบวงสรวงตามความมุ่งหมายในการแข่งขันของกรีกสมัยนั้น
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พลเมืองมีสุขภาพสมบูรณ์ มีร่างกายที่สมส่วนสง่างาม
สมัยโรมัน
ต่อมาในปลายสมัยของโฮเมอร์ มีชนเผ่าหนึ่งมาตั้งรกรากอยู่บนฟากฝั่งแม่น้า “ไทเบอร์”
ด้านตะวันออกของกรีก พวกนี้เองตอนหลังได้กลายเป็นโรมัน
ชาตินักรบ มีความกล้าหาญอดทน และมีอิทธิพลยิ่งใหญ่ขึ้นมา
พร้อมๆ กับความเสื่อมของประเทศกรีก ชาวโรมันนิยมและศรัทธา
พลศึกษาเป็นชีวิตจิตใจ โดยถือว่าพลศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นใน
ชีวิตประจาวัน ชาวโรมันฝึกฝนให้บุตรของตนมีร่างกายสมบูรณ์
แข็งแรง ให้มีความสามารถใน เชิงดาบ โล่ แหลน ในการสู้รบ
บนหลังม้า รวมทั้งการต่อสู้ประเภทอื่นๆ อีกมาก สนามฝึกกีฬา
เหล่านี้เรียกว่า “แคมปัสมาร์ติอุส” (Campusmartius) เป็นสนามกว้างใหญ่ อยู่นอกตัวเมืองและมีสถาน
ฝึกแข่งว่ายน้าสาคัญเรียกว่า “เธอร์มา” (Therma) ทั้งมีสนามกีฬาแห่งชาติใหญ่ในกรุงโรม จุคนดูได้ถึง
200,000 คน เรียกว่า “โคลีเซียม” (Coliseium) ชาวโรมันทุกคนต้องเป็นทหารในยามสงคราม เขาจึงฝึก
พลศึกษา และฝึกการต่อสู้แบบต่างๆ ในค่ายฝึกเสมอ ด้วยผลแห่งการฝึกพลศึกษากับกีฬาและเชิงรบแต่
เยาว์วัยของประชาชน โรมจึงมีกองทัพที่เข้มแข็ง และสามารถแผ่ขยายอานาจเข้าครองดินแดนรอบทะเล
เมดิเตอร์เรเนียนกับยุโรปตะวันตกบางตอน รวมถึงเป็น “ราชอาณาจักรโรมัน” (The roman empire)
ต่อมาอาณาจักรโรมันก็เสื่อมลงเนื่องจากสาเหตุ
หลายประการ การเสื่อมความนิยมใน พลศึกษาเป็นมูลเหตุ
สาคัญประการหนึ่ง คือ ชาวโรมันกลับเห็นว่า พลศึกษาเป็น
ของต่า จึงเลิกเล่นกีฬา หันไปใช้ทาสพวก “แกลดิเอเตอร์”
(GLADIATORS) ต่อสู้กัน
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 5
บางที่ก็ต่อสู้กับสัตว์ร้ายเป็นกีฬาแทน และเห็นว่าการศึกษาวิชาการมีประโยชน์กว่าวิชาพลศึกษา ดังนั้น
โรมันจึงกลายเป็นชาติที่อ่อนแอ ถึงกับต้องใช้ทหารรับจ้างในยามศึกสงคราม และแล้วในที่สุดก็พ่ายแพ้
แก่ชนชาว “ติวตัน” (TUETON) ซึ่งเป็นชาติที่นิยมกีฬากลางแจ้ง และมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
ความเป็นมาของการแข่งขัน “โอลิมปิกเกมส์”
ในสมัยโบราณการแข่งขันกีฬาได้กระทากันบนยอดเขา
โอลิมปัส (OLYMPUS) นักกีฬาต้องเปลือยกายเข้าแข่งขัน เพื่อ
ประกวดความสมส่วนของร่างกาย ผู้ดูมีแต่ผู้ชาย โดยห้ามผู้หญิงดู
ผู้ดูต้องปีนขึ้นไปดูบนยอดเขา ต่อมาผู้นิยมมีมากขึ้น สถานที่
แข่งขันบนยอดเขาจึงไม่เพียงพอที่จะบรรจุทั้งผู้เล่นและผู้ดู การแข่งขันกีฬาที่จัดให้มีขึ้นในสมัยโบราณ
ไม่ได้ถูกบันทึกไว้เป็นหลักฐานแน่นอนเพียงแต่กล่าวกันว่าได้จัดให้มีขึ้นที่ประเทศกรีกราว 776 ปีก่อน
คริสต์ศักราช ชาวกรีกได้ย้ายที่แข่งขันลงมาแข่งกันที่เชิงเขาโอลิมปัส (OLYMPUS) และได้ปรับปรุง
การแข่งขันเสียใหม่ให้ดีขึ้น โดยให้ผู้แข่งขันสวมกางเกง พิธีการแข่งขันจัดอย่างมีระเบียบเป็นทางการ
มีจักรพรรดิเป็นองค์ประธาน อนุญาตให้สตรีเข้าชมได้ แต่ไม่อนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขัน กีฬาที่มี
การแข่งขันที่ถือเป็นทางการในครั้งแรกนี้มีอยู่ 5 ชนิด คือ การวิ่ง การกระโดด พุ่งแหลน ขว้างจักร
และมวยปล้า ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะต้องเล่นทั้ง 5 ประเภท ผู้ชนะจะได้รับรางวัลมงกุฎทาด้วยกิ่งไม้
มะกอกซึ่งขึ้นอยู่บนเทือกเขาโอลิมปัสนั้น และได้รับเกียรติเดินทางท่องเที่ยวไปทุกรัฐ ในฐานะตัวแทน
ของพระเจ้า การแข่งขันจะถูกจัดขึ้นเป็นประจาทุกๆ สี่ปี เมื่อถึงกาหนดการแข่งขันทุกรัฐจะต้องให้เกียรติ
แม้ว่าขณะนั้นกาลังทาสงครามกัน ก็จะต้องหยุดพักมาชมการแข่งขัน เมื่อเสร็จการแข่งขันแล้วจึงจะ
กลับไปทาสงครามกันใหม่ ประเภทของการแข่งขันได้มีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างในระยะต่อๆ มา
การแข่งขันนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจา ณ ที่แห่งเดียว คือ เชิงเขาโอลิมปัส แคว้นอีลิส จึงเรียก
การแข่งขันตามชื่อของสถานที่นั้นว่า “การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก” ต่อมาในปีคริสต์ศักราช 392
(พุทธศักราช 925) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณได้ยุติลงเพราะเกิดการว่าจ้างกันเข้ามาเล่นเพื่อ
หวังรางวัล และผู้เล่นปรารถนารางวัลมากกว่าการเล่นเพื่อสุขภาพของตน รวมทั้งมีการพนันขันต่อ
อันเป็นทางวิบัติ ซึ่งผิดไปจากวัตถุประสงค์เดิม
ต่อมายุคปัจจุบัน คือ คริสต์ศักราช 1892 (พุทธศักราช 2435) มีนักกีฬาชาวฝรั่งเศสผู้หนึ่ง
มีฐานันดรศักดิ์เป็น บารอน เปียร เดอ กูแบรแตง ท่านผู้นี้
มีความสนใจในการกีฬาอย่างยิ่ง ได้พิจารณาเห็นว่าการแข่งขัน
ด้วยกัน เป็นการสมาคมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของนักกีฬา
อย่างแท้จริง การที่การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณเป็นเหตุ
ทาให้ห่วงสัมพันธภาพในการกีฬาขาดสะบั้นลง เป็นที่น่าเสียใจ
อย่างยิ่ง
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 6
ท่านผู้นี้จึงได้เชิญ ศาสตราจารย์ดับเบิลยูสโลน แห่งสหรัฐอเมริกา มร.วิกเตอร์ แบลด แห่งกรีกร่วมกัน
คิดอ่านเปิดการประชุมกีฬาโอลิมปิกขึ้นใหม่ โดยยึดอุดมคติแห่งความยุติธรรมอ่อนโยน สุภาพ มั่นคง
และกาลังเป็นมูลฐาน ตามวัตถุประสงค์ของโอลิมปิกโบราณที่ว่า CITUS, ALTIUS, FORTIUS (เร็ว สูง
แรง) ผู้สนใจการกีฬาคณะนี้ได้ประกาศตั้งคณะกรรมการโอลิมปิก ระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL
OLYMPIC COMMITTEE) และตกลงกันให้มีการชุมนุมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกของสมัยปัจจุบันนี้
ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีก ในคริสต์ศักราช 1896 (พุทธศักราช 2439) บารอนเปียร เดอ กูแบรแตง จึงได้
มอบคาขวัญให้ไว้ แก่การแข่งขันโอลิมปิก สมัยปัจจุบันนี้ว่า “สาระสาคัญในการแข่งขันโอลิมปิกไม่ใช่
การชนะ แต่สาคัญอยู่ที่การเข้าร่วมแข่งขัน จุดหมายของชีวิต ไม่เพียงแต่ผู้ชนะ หากแต่ต้องสู้อย่างดีเป็น
ใหญ่ ( The important thing of the Olympic Games is not to win but to take part. The
essential thing in life is not conquering but fighting well.)
จากนั้นเป็นต้นมาการแข่งขันและวิธีเล่นกรีฑาได้มีการพัฒนาไปอย่างกว้างขวางและ การแข่งขัน
ทุกๆ ครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ให้ถือการแข่งขันกรีฑาเป็นกีฬาหลักซึ่งจะขาดเสียมิได้ การแข่งขัน
เริ่มจากปีคริสต์ศักราช 1896 (พุทธศักราช 2439) จัดการแข่งขันทุกๆ 4 ปี โดยผลัดกันเป็นเจ้าภาพ
ประวัติกรีฑาในประเทศไทย
กรีฑาในประเทศไทยอาจจะมีการเล่นหรือการแข่งขัน เพื่อความสนุกสนาน และอาจมีการสอน
มานานแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นที่แน่ชัด เท่าที่มีหลักฐานปรากฏดังนี้
วันที่ 12 มกราคม 2440 เป็นครั้งแรกที่กระทรวงธรรมการในขณะนั้น (ปัจจุบันคือกระทรวง
ศึกษาธิการ) ได้จัดให้มีการแข่งขันกรีฑาขึ้นที่ท้องสนามหลวง และได้ถวายบังคมทูลพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
เสด็จราชดาเนินมาทอดพระเนตรการแข่งขันกรีฑาของนักเรียนด้วย และกระทรวงธรรมการจัดให้มี
การแข่งขันกรีฑาเป็นประจาทุกปี
ในปี พ.ศ. 2444 ได้มีการจัดการแข่งขันกรีฑา หน้าโรงเรียน สายสวลี สันถาคาร ต่อจากนั้นมา
การแข่งขันกรีฑาโรงเรียนกาหนดให้จัดขึ้นในวันที่1 และ 2 มกราคม ของทุกปี
การแข่งขันกรีฑาโรงเรียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 จนถึงปี พ.ศ. 2453 จัดเนื่องในวัน
เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร และเมื่อได้
เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
แล้วก็ยังคงมีการแข่งขันกีฬาชนิดอื่น
ในปี พ.ศ. 2464 ได้จัดให้มีเป็นประจา พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรการแข่งขัน
กรีฑาโรงเรียนทุกปีตลอดมาจนสิ้นรัชกาล
ใน พ.ศ. 2470 กระทรวงธรรมการได้ตั้ง “กรรมการจัดการกีฬาประจาปีของกระทรวงธรรมการ”
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 7
ขึ้นคณะหนึ่งมีหน้าที่จัดการกีฬาต่างๆ ของกระทรวง ซึ่งถือเป็นรากฐานทางการกีฬาขึ้นเป็นครั้งแรก
วันที่ 9 ธันวาคม 2476 ได้ตั้งกรมพลศึกษาขึ้นในกระทรวงธรรมการ ให้มีหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับ
การพลศึกษา กรมพลศึกษาได้ดาเนินงานปรับปรุงการพลศึกษาในโรงเรียนให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น
ได้วางระเบียบข้อบังคับการกีฬาต่างๆ และเพิ่มการแข่งขันกีฬานักเรียนตามความนิยมของนานาชาติ
มากขึ้น ในด้านการฝึกสอนพลศึกษาในโรงเรียน ได้มีการประกาศให้ประมวลการสอนวิชาพลศึกษา
ขึ้นใหม่ โดยกาหนดให้นักเรียนได้ศึกษาวิชากายบริหาร กรีฑา และยิมนาสติก เป็นการให้นักเรียนได้รับ
การฝึกสอนในโรงเรียนทั่วถึงกันทุกคน
ปีพ.ศ. 2480 ได้ก่อสร้างกรีฑาสถานแห่งชาติขึ้น ( ปัจจุบันเป็นสนามศุภชลาสัย ) ในวันที่
10 กุมภาพันธ์ 2480 โดยจัดให้มีการแข่งขันกรีฑาระหว่างนักเรียนชาย ระหว่างนักเรียนหญิงและ
ระหว่างประชาชนด้วย
ในปี พ.ศ. 2481 กรมพลศึกษาจัดให้มีการแข่งขันกรีฑาประจาปีในกรีฑาสถานเป็นครั้งแรก
ในการดาเนินการแข่งขันครั้งนี้ได้จัดสร้างลู่วิ่ง การจับเวลาให้เป็นไปอย่างสากลนิยม การแข่งขันครั้งนี้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดาเนินมาเปิดการแข่งขันกรีฑาสถาน
เป็นครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2482 การแข่งขันกรีฑานั้นได้จัดให้มีการแข่งขันกรีฑาประชาชนหญิงขึ้นเป็นครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2484 กรมพลศึกษาได้ปรับปรุงสนามแข่งขันด้านต่างๆ และตามกติกากรีฑาระหว่าง
ประเทศเป็นแบบฉบับที่กรมพลศึกษาได้ดาเนินต่อมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
ปี พ.ศ. 2488 กรมพลศึกษาจัดให้มีการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยขึ้นเป็นครั้งแรก
ปี พ.ศ. 2494 ได้ตั้งสมาคมกรีฑาสมัคเล่นแห่งประเทศไทยขึ้น มีหน้าที่สนับสนุนส่งเสริม และ
จัดการแข่งขันกรีฑาระดับเยาวชนและประชาชน และในปีนี้ได้เป็นสมาชิกสหพันธ์กรีฑาสมัครเล่น
นานาชาติ ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับสมาคมกรีฑาสมัครเล่นแห่งประเทศไทยไว้ในพระราชูถัมภ์ และ
พระราชทานพระบรมราชานุญาติให้ใช้ตราสมาคมกรีฑาฯ ได้
การส่งเสริมการเล่นกรีฑา นอกจากกรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจะให้ความรู้พื้นฐาน
และจัดการแข่งขันระดับนักเรียนแล้ว ยังมีองค์กรอื่นๆ ที่ให้การส่งเสริมและสนับสนุนการเล่นกรีฑา
ในระดับเยาวชน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ได้แก่ ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ และสมาคมกรีฑา
สมัครเล่นแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นต้น การเล่นกรีฑาในประเทศไทยได้มีการพัฒนา
ให้มีความก้าวหน้ามาตลอดจนถึงปัจจุบัน มาตรฐานการเล่นกรีฑาทั้งระดับนักเรียน นักศึกษา
เยาวชน และประชาชนได้ยกระดับขึ้นมาจนทัดเทียมนานาชาติ สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับนักกีฬา
และนาเอากิจกรรมกรีฑามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประวันเพื่อสุขภาพและสมรรถภาพกันอย่างกว้างขวาง
ในปัจจุบัน
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 8
ประเภทของกรีฑา
การแบ่งประเภทของกรีฑา โดยทั่วไปจะแบ่งประเภทของกรีฑาไว้ 2 ประเภท คือ
1. กรีฑาประเภทลู่ คือกรีฑาประเภทที่ต้องแข่งขันกันบนทางวิ่ง และใช้การวิ่ง เป็นส่วนสาคัญ
ตัดสินกันด้วยเวลา เช่น การวิ่งระยะสั้น การวิ่งระยะกลาง การวิ่งระยะไกล วิ่งผลัด เป็นต้น
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
2. กรีฑาประเภทลาน คือ กรีฑาประเภทที่ต้องประลองความไกล หรือความสูงบนลานกว้างๆ เช่น
กระโดดสูง เขย่งก้าวกระโดด การทุ่มน้าหนัก การพุ่งแหลน การขว้างจักร ขว้างค้อน ค้าถ่อ
กระโดดไกล เป็นต้น
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 9
ประเภทการแข่งขันกรีฑาสหพันธ์กรีฑาสมัครเล่นนานาชาติ แบ่งกรีฑาไว้ 2 ประเภท คือ
ประเภทลู่ (Track Events) แบ่งเป็น
1. การวิ่งระยะสั้น 100 เมตร 200 เมตร และ 400 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
2. การวิ่งระยะกลาง 800 เมตร 1,500 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 10
3. การวิ่งระยะไกล 3,000 เมตร 5,000 เมตร 10,000 เมตร 42.195 กิโลเมตร ฯลฯ
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
4. การวิ่งผลัด 4x100 เมตร 4x400 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 11
5. การวิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร 110 เมตร และ 400 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
6. การวิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง (วิ่งวิบาก) ระยะ 2,000 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 12
7. ประเภทถนน (Road running) ประกอบด้วย การวิ่ง 15 กิโลเมตร วิ่ง 20 กิโลเมตร
วิ่งฮาล์ฟมาราธอน วิ่ง 25 กิโลเมตร วิ่ง 30 กิโลเมตร วิ่งมาราธอน (42.195 กิโลเมตร) วิ่ง 100 กิโลเมตร
และวิ่งผลัดถนน (Road reay)
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
8. ประเภทเดิน (Walking) แบ่งเป็น
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 13
8.1 การแข่งขันเดินบนลู่ 5,000 เมตร 20,000 เมตร เดิน 2 ชั่วโมง 30,000 เมตร และ
50,000 เมตร
8.2 การแข่งขันเดินบนถนน 20 กิโลเมตร 50 กิโลเมตร
9. ประเภทวิ่งข้ามทุ่ง (Cross country)
9.1 ชาย 12 กิโลเมตร และเยาวชนชาย 8 กิโลเมตร
9.2 หญิง 6 กิโลเมตร และเยาวชนหญิง 4 กิโลเมตร
10. ประเภทรวม (Combined Events)
10.1 ชาย ปัญจกรีฑา (Pentathlon) แข่งขัน 5 รายการแข่งขัน 1 วัน ตามรายการดังนี้
กระโดดไกล พุ่งแหลน วิ่ง 200 เมตร ขว้างจักรและวิ่ง 1,500 เมตร
10.2 ชายทศกรีฑา (Decathlon) แข่งขัน 10 รายการ ใช้เวลาในการแข่งขัน 2 วัน ตามรายการ
ดังนี้
วันที่ 1 วิ่ง 100 เมตร กระโดดไกล ทุ่มน้าหนักกระโดดสูงและวิ่ง 400 เมตร
วันที่ 2 วิ่งข้ามรั้ว 110 เมตร ขว้างจักร กระโดดค้า พุ่งแหลน วิ่ง 1,500 เมตร
10.3 หญิง สัตตกรีฑา (Heptathlon) แข่งขัน 7 รายการ ใช้เวลาแข่งขัน 2 วัน ตามรายการ
ดังนี้
วันที่ 1 วิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร กระโดดสูง ทุ่มน้าหนักและวิ่ง 200 เมตร
วันที่ 2 กระโดดไกล พุ่งแหลนและวิ่ง 800 เมตร
คุณสมบัติของนักกรีฑาประเภทต่างๆ
1. นักกรีฑาวิ่งระยะสั้น ต้องการความเร็ว ความแข็งแรง ความคล่องแคล่วว่องไว และการทางาน
อย่างประสานสัมพันธ์กันอย่างดีของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 14
2. นักกรีฑาวิ่งระยะกลางต้องการความอดทน ความแข็งแรงและความเร็ว
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
3. นักกรีฑาวิ่งระยะไกลต้องการความแข็งแรง ความเร็วสม่าเสมอ ความอดทนที่เพิ่มขึ้น รวมถึง
ระบบการหายใจ
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 15
4. นักกรีฑาวิ่งผลัดต้อง การความเร็ว ความแข็งแรง ความคล่องแคล่วว่องไว การทางานอย่าง
ประสานสัมพันธ์กันอย่างดีของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
5. นักกรีฑาวิ่งข้ามรั้วต้องการคุณสมบัติเพิ่มเติมจากการวิ่งผลัด คือความอ่อนตัว การทรงตัวที่ดีใน
การลอยตัวข้ามรั้วและการลงสู่พื้น
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 16
เครื่องแต่งกายสาหรับการเล่นกรีฑา
การเล่นและการแข่งกรีฑานั้น นอกจากจะเตรียมความพร้อมของร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ตาม
ประเภทของกิจกรรมที่เข้าแข็งขันแล้ว ในเรื่องของเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่นต้องเตรียม
ให้เหมาะสมเช่นกัน
1. รองเท้า ขนาดรองเท้าต้องไม่หลวมหรือคับเกินไป ส่วนผู้ใช้รองเท้าตะปูจะต้องคานึงถึง
ความยาวของตะปู ให้เหมาะสมกับสนามที่แข่งขัน
2. ถุงเท้า ควรเป็นถุงเท้าที่ทาด้วยฝ้าย เนื่องจากฝ้ายมีคุณสมบัติในการลดการเสียดสีระหว่าง
เท้ากับรองเท้า
3. เสื้อผ้า ควรเป็นเสื้อผ้าที่มีคุณสมบัติซับเหงื่อ มีการระบายอากาศได้ดี นอกจากนั้นจะต้อง
ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป ใส่ได้พอดี
4. ชุดวอร์มหรือชุดอบอุ่นร่างกาย ควรเลือกให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สาหรับชุดวอร์ม
ควรเป็นชุดที่รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย ทาให้กล้ามเนื้อทางานได้ดีอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 17
การดูแลรักษาอุปกรณ์กรีฑา
อุปกรณ์กรีฑา จาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ ดูแล และเก็บรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ
เพื่อประโยชน์ทางด้านประสิทธิภาพและความคงทนในการใช้งาน จึงมีข้อควรปฏิบัติดังนี้
1. อุปกรณ์กรีฑาทุกประเภท เช่น ที่ยันเท้า (Blok Start) รองเท้าวิ่ง ฯลฯ ควรเก็บไว้ในที่ที่
เหมาะสม แยกประเภท เพื่อความสะดวกในการเก็บ รักษา และการนามาใช้ในโอกาสต่อไป
2. เมื่อนาไปใช้ ควรทาความสะอาด ล้างและเช็ดให้แห้งก่อนนาเข้าเก็บที่เดิม
3. การนาไปใช้และเมื่อจะนาเข้าเก็บที่เดิม ควรสารวจจานวนและสภาพความเรียบร้อยทุกครั้ง
4. ถ้าอุปกรณ์เกิดชารุด ควรรีบซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยโดยเร็ว และไม่ควรนาอุปกรณ์
ที่ชารุดไปใช้เพราะจะทาให้ชารุดมากยิ่งขึ้น อาจจะซ่อมแซมอีกไม่ได้และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้
5. รองเท้าวิ่งควรทาความสะอาดหลังจากใช้แล้ว ถ้าเปียกก็ควรผึ่งให้แห้ง ทาด้วยวาสินเพื่อให้หนัง
นิ่มและรักษารอยเอ็นไม่ให้ผุง่าย
6. เมื่อสวมรองเท้าที่มีตะปู ไม่ควรเดินบนพื้นที่แข็ง เช่น บนพื้นซีเมนต์ เป็นต้น
7. ควรมีระเบียบในการเบิกจ่ายอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกซ้อม เพื่อจัดระบบในการควบคุมดูแล
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 18
คุณค่าและประโยชน์ของกรีฑา
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นกรีฑา
- เสริมสร้างความสัมพันธ์ในการทางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาท
- เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทางานของระบบหายใจ และระบบไหลเวียนของโลหิต
- ช่วยให้ระบบต่างๆของร่างกายทางานได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน
- ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพและสร้างความมั่นใจในตนเอง
- ช่วยสร้างความหนักแน่นมั่นคงทางด้านจิตใจและอารมณ์
- ช่วยเสริมสร้างความมีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
- เสริมสร้างความเป็นผู้มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
- ทาให้สมรรถภาพทางด้านร่างกายได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
ความปลอดภัยในการเล่นกรีฑา
กรีฑาที่ผู้เล่นต้องใช้ความสามารถของร่างกาย การเคลื่อนไหว และอุปกรณ์ประกอบในการเล่น
ขาดความระมัดระวัง ก็จะเกิดอันตรายขึ้นได้ เพื่อความปลอดภัยข้อปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
1. เครื่องแต่งกาย เช่น กางเกง เสื้อ รองเท้า ถุงเท้า ควรเลือกให้เหมาะสม ไม่หลวมหรือคับ
จนเกินไป
2. ควรเตรียมความพร้อมของร่างกายอยู่เสมอด้วยการฝึกซ้อม
3. ต้องอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน เพื่อความพร้อมของร่างการและ
คลายกล้ามเนื้อหลังการฝึกซ้อม
4. สารวจสถานที่และอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เช่น ลู่วิ่ง รองเท้า เครื่องรองรับต่างๆ ฯลฯ
5. ใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับสภาพของสนาม เช่น รองเท้าวิ่งตะปูยาวใช้กับลู่วิ่งอ่อนนิ่ม ตะปูสั้น
ใช้กับลู่วิ่งแข็ง เพื่อป้องกันอันตรายของข้อเท้า เป็นต้น
6. การระมัดระวังการใช้รองเท้าตะปู ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
7. ในการใช้อุปกรณ์ ทุกครั้งต้องระวังอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น
8. ต้องหยุดทาการฝึกซ้อม เมื่อเกิดการบาดเจ็บ ควรพบแพทย์เพื่อขอคาแนะนา
9. ต้องปฏิบัติตามระเบียบและกติกาการแข่งขันจะช่วยป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 19
มรรยาทของนักกรีฑาที่ดี
การแสดงความประทับใจ ความชื่นชม การยอมรับในหมู่ผู้ชม กรรมการผู้ตัดสิน ตลอดจน
นักกรีฑาที่เข้าร่วมการแข่งขัน คือ การแสดงออกของผู้เข้าร่วมการแข่งขันนั่นเอง ผู้เข้าร่วมการ
แข่งขันควรมีมรรยาทและการแสดงออกที่ดี ถูกต้อง สุภาพ โดยควรยึดหลักปฏิบัติดังนี้
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
1. มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา
2. ให้เกียรติคู่แข่ง เจ้าหน้าที่ กรรมการผู้ตัดสินและผู้ชม
3. เคารพกติกาการแข่งขันอย่างเคร่งครัด
4. แต่งกายสุภาพถูกต้องตามกฎกติกาการแข่งขันแต่ละประเภทกรีฑา
5. ใช้ทักษะความสามารถในระหว่างการแข่งขันอย่างเต็มความสามารถ
6. มีน้าใจนักกีฬา
7. ไม่เยาะเย้ย ซ้าเติม หรือเอาเปรียบคู่แข่งขัน
8. ยอมรับและปฏิบัติตามคาตัดสินด้วยความสุภาพ
9. ไม่แสดงออกถึงอาการดีใจในผลแพ้ชนะจนเกินควร
10. แสดงกิริยาวาจาสุภาพ อ่อนน้อม ทั้งในและนอกสนาม
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 20
มรรยาทของผู้ชมกรีฑาที่ดี
ผู้ชมกรีฑาจะต้องมีมรรยาทในการชมกรีฑา โดยยึดหลักต่อไปนี้ คือ
1. ให้เกียรตินักกรีฑา กรรมการผู้ตัดสิน และผู้ชมกรีฑาด้วยกันเอง
2. ควรนั่งอยู่ในที่ที่มีการจัดเตรียมไว้
3. ไม่ส่งเสียงอันเป็นการรบกวนสมาชิกของนักกรีฑาและกรรมการผู้ตัดสิน
4. ไม่แสดงอาการยั่วยุ ส่งเสริมนักกรีฑาในทางที่ผิด
5. ไม่ทาการขว้างปาสิ่งของหรือวัตถุใดๆ อันเป็นอันตรายลงในสนามแข่งขัน
6. ยอมรับผลการตัดสินของกรรมการผู้ตัดสินด้วยใจเป็นธรรม
7. แสดงความยินดีกับผู้ชนะ
สนามกรีฑามาตรฐาน 400 เมตร
ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 21
บรรณานุกรม
กลุ่มประสานการพัฒนาบุคลากร สถาบันพัฒนาบุคลากร สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ
กระทรวงการท่องเทียวและกีฬา. ( 2548). คู่มือการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาระดับขั้นพื้นฐาน
กรีฑา. โรงพิมพ์องค์รับส่งสินค้าและพัสดุ (ร.ส.พ.) : กรุงเทพมหานคร.
ฉัตรทิราภรณ์ โลหพันธุ์วงค์ และคณะ. (2549). ออกกาลังกายสไตล์แอโรบิกด๊านซ์. โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. : กรุงเทพมหานคร.
ฝ่ายวิชาการ บริษัทสกายบุ๊กส์ จากัด. (2551). กรีฑา. โรงพิมพ์บริษัทสกายบุ๊กส์ จากัด :
กรุงเทพมหานคร.
มงคล แฝงสาเคน. (2549). การออกกาลังกายด้วยการเหยียดยืดกล้ามเนื้อ เพื่อสุขภาพและกีฬา.
สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพมหานคร.
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 22
โรงเรียนมัธยมป่ากลาง
แบบทดสอบท้ายบทเรียน
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วทาเครื่องหมาย ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ
1. ประโยชน์ที่สาคัญที่สุดในการเล่นกรีฑาคือข้อใด
ก. เข้ากับสังคมได้ดี
ข. บุคลิกภาพดี
ค. สุขภาพดี
ง. ร่างกายได้มีการเคลื่อนไหว
2. ขณะเล่นกรีฑาเกิดเป็นตะคริว ควรปฏิบัติตนอย่างไร
ก. หยุดเล่นทันที นาน้าร้อนประคบตะคริว
ข. หยุดเล่นทันที นั่งลง เหยียดขาตึง ดันปลายเท้าเข้าหาตัว
ค. หยุดเล่นทันที นาน้าแข็งประคบตะคริว
ง. หยุดเล่นทันที นั่งลง เหยียดขาตึง ดันปลายท้าออกจากตัว
3. ข้อใดเป็นการแสดงออกถึงความมีน้าใจนักกรีฑาที่ชัดเจนที่สุด
ก. ยกมือไหว้ผู้ชม
ข. ยกมือไหว้ผู้ตัดสิน
ค. เล่นตามกฎกติกา
ง. แสดงความยินดีกับผู้ที่ชนะตน
4. ข้อใดกล่าวถูกต้องในการรักษาสมรรถภาพร่างกาย
ก. การออกกาลังกายเฉพาะส่วนเพื่อรักษาสมรรถภาพ
ข. การรับประทานอาหารช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง
ค. ออกกาลังกายเป็นประจาเพื่อทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
ง. ออกกาลังกายพร้อมรับประทานยาสร้างกล้ามเนื้อ
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 23
5. ความมีน้าใจนักกีฬาก่อให้เกิดคุณประโยชน์อย่างไร
ก. สังคมมีความรักความสามัคคี
ข. นักกรีฑาไม่เกิดการบาดเจ็บ
ค. อุบัติภัยต่างๆจะเกิดน้อยลง
ง. เยาวชนหันมาเล่นกีฬามากขึ้น
6. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการออกกาลังกาย
ก. รูปร่างดีขึ้น
ข. อวัยวะภายในทางานดีขึ้น
ค. โอกาสอ้วนมีมากขึ้น
ง. ภูมิต้านทางโรคสูงขึ้น
7. ผู้ที่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ย่อมส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย
ก. มีกาลังวังชา
ข. มีน้าหนักตัวมาก
ค. รูปร่างทรวดทรงดี
ง. สุขภาพจิตดี
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็น กีฬาสากล
ก. ง้าว
ข. วิ่ง 1,500 เมตร
ค. พลอง
ง. กระบี่กระบอง
9. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็น กรีฑาประเภทลู่
ก. กระโดดไกล
ข. วิ่ง 10,000 เมตร
ค. มินิมาธอน
ง. เขย่งก้าวกระโดด
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 24
10. องค์ประกอบสาคัญด้านสมรรถภาพทางกายประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ข. ความทนทานของกล้ามเนื้อ
ค. ความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด
ง. ถูกทุกข้อ
11. การสร้างวินัยสมรรถภาพทางกายมีความสาคัญอย่างไร
ก. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
ข. ช่วยให้ชีวิตมีความสุข
ค. ช่วยให้ชนะการแข่งขันกรีฑา
ง. ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตดี
12. การป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกรีฑาคือข้อใด
ก. หมั่นฝึกซ้อม
ข. ฝึกทักษะและทันเกมการแข่งขัน
ค. มีความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ง. ถูกทุกข้อ
13. กรีฑาจะทาให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างไร
ก. นิยมการกรีฑายิ่งขึ้น
ข. สามัคคีกัน
ค. ความเสียสละ
ง. สนับสนุนการแข่งขัน
14. ข้อใด ไม่ใช่ คุณค่าและประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านจิตใจและอารมณ์
ก. ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกาย
ข. ช่วยให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง
ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี
ง. ช่วยระบายความตึงเครียด
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 25
15. ข้อใด ไม่ใช่ คุณค่าและประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านสังคม
ก. ช่วยให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย
ข. ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกาย
ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี
ง. ช่วยให้เกิดความสัมพันธ์อันดี
16. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านร่างกาย
ก. ช่วยให้มีน้าใจนักกีฬา
ข. ช่วยระบายความตึงเครียด
ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี
ง. ช่วยระบบอวัยวะทางานมีประสิทธิภาพ
17. ข้อใดเป็นการเล่นกรีฑาด้วยความปลอดภัย
ก. ฝึกซ้อมกรีฑาขณะร่างกายได้รับบาดเจ็บ
ข. ฝึกซ้อมกรีฑาขณะฝนตกฟ้าคะนอง
ค. ลงแข่งขันกรีฑาโดยไม่อบอุ่นร่างกาย
ง. มั่นใจมีสุขภาพร่างกายและจิตใจในสภาพที่พร้อม
18. การได้รับบาดเจ็บบริเวณหัวเข่าจากการเล่นกรีฑา ควรทาอย่างไร
ก. พบแพทย์เพื่อรักษา
ข. ออกกาลังกายตามปกติ
ค. วิ่งเบาๆเพื่อกล้ามเนื้อแข็งแรง
ง. ประคบด้วยความเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด
19. สนามกรีฑาควรมีลักษณะใดจึงจะปลอดภัย
ก. ลักษณะเป็นเนิน
ข. พื้นสนามราบเรียบ
ค. พื้นสนามมีกรวดเล็กน้อยกันสนามลื่น
ง. พื้นควรเป็นหลุมเหมาะออกสตาร์ท
20. การออกกาลังกาย การแข่งขันกรีฑาข้อใดควรคานึงมากที่สุด
ก. ทักษะสูงสุด
ข. ความสาเร็จสูงสุด
ค. ความปลอดภัยสูงสุด
ง. ความสามารถสูงสุด
เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 26
เฉลยแบบทดสอบท้ายบทเรียน
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง
ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ
1 ค 11 ก
2 ข 12 ก
3 ง 13 ค
4 ค 14 ก
5 ก 15 ข
6 ค 16 ง
7 ง 17 ง
8 ข 18 ก
9 ข 19 ข
10 ง 20 ค

More Related Content

What's hot

การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองพัน พัน
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

What's hot (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตองทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
ทักษะและวิธีการเล่นเปตอง
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

Viewers also liked

ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวchalermchaisub
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (7)

ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ข้อสอบ O net 51 สังคม
ข้อสอบ O net 51 สังคมข้อสอบ O net 51 สังคม
ข้อสอบ O net 51 สังคม
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

More from Art Nan

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์Art Nan
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Art Nan
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูArt Nan
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02Art Nan
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)Art Nan
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)Art Nan
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยArt Nan
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6Art Nan
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 

More from Art Nan (20)

รวงรัตน์
รวงรัตน์รวงรัตน์
รวงรัตน์
 
Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2Unit1 paklang new2
Unit1 paklang new2
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครูคู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
คู่มือการใช้แบบฝึกสำหรับครู
 
บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)บทคัดย่อ(1)
บทคัดย่อ(1)
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง02
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
นางสาวสุพรรณ์ เมฆแสน 01
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
นางขวัญฤดี กันทเสน01
นางขวัญฤดี  กันทเสน01นางขวัญฤดี  กันทเสน01
นางขวัญฤดี กันทเสน01
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)ข้อสอบ สังคมศึกษา(133  141)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(133 141)
 
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
ข้อสอบ สังคมศึกษา(1 132)
 
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทยเอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
เอกสารประกอบคำบรรยายประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงงประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
ประวัติศาสตร์สากลเมืองแงง
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
คำถามม.5-6
คำถามม.5-6คำถามม.5-6
คำถามม.5-6
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 

เล่มที่1

  • 1. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 1 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะเล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ทั้งเนื้อหาและกิจกรรมให้เข้าใจก่อน 2. ให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะ การวิ่ง 3 ระยะ เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ประกอบการปฏิบัติ ทุกขั้นตอน 3. นักเรียนจัดกิจกรรมตามเอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะกระบวนการและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 4. ให้นักเรียนได้เรียนรู้และซ่อมเสริมสมรรถภาพทางกาย ด้วยเอกสาร ประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ด้วยตัวเอง
  • 2. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 2 เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง สาระสาคัญ กรีฑา เป็นกิจกรรมการเคลื่อนไหวอย่างหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัย โบราณ เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การทุ่มการขว้าง ฯลฯ ต่อมามนุษย์ได้พัฒนาขึ้นมาเป็น การแข่งขันเพื่อประลองความสามารถในด้านต่าง ๆ เช่นความเร็ว ความอดทน ความไกล ทั้งยังได้กาหนด กฎ กติการะเบียบข้อบังคับขึ้น กรีซได้จัดพิธีบวงสรวงเทพเจ้าซีอุส และจัดแข่งขันกีฬาขึ้นที่โอลิมเปีย ซึ่งถือว่าเป็นการกาเนิดกีฬาโอลิมปิกโดยจัดขึ้น 4 ปีต่อครั้ง มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น พ 3.1 เข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหวกิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกมและการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน สุนทรียภาพของการกีฬา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกประวัติกรีฑาและประเภทกรีฑาได้ 2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายคุณค่า ประโยชน์กรีฑา มารยาทนักกรีฑาและมารยาทผู้ดู ที่ดีได้ สาระการเรียนรู้ สาหรับ เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะฯ เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นจานวน 2 เรื่อง ดังนี้ 1. ประวัติกรีฑา และประเภทกรีฑา 2. ความหมาย คุณค่า ประโยชน์กรีฑา มารยาทนักกรีฑา
  • 3. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 3 ประวัติความเป็นมา จากการดารงชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณ มนุษย์ยังไม่รู้จักสร้างที่พัก เครื่องนุ่งห่ม ตลอดจน สถานที่ทากินที่เป็นหลักแหล่งดังเช่นปัจจุบัน มนุษย์ในสมัยก่อนต้องอาศัยอยู่ตามถ้า ต้องสู้กับ ภัยธรรมชาติและสัตว์ร้ายต่างๆ การพยายามที่จะหนีจากภัยธรรมชาติและสัตว์ร้ายเพื่อการอยู่รอด ก็ต้องใช้การวิ่งหนีเป็นหลัก ถ้าเป็นการวิ่งอย่างรวดเร็วในระยะไม่ไกล ก็เปรียบได้กับการวิ่งระยะสั้น หากเป็นการวิ่งหนีในระยะเวลานานๆ ก็เปรียบได้กับการวิ่งระยะไกลหรือวิ่งทน ซึ่งบางครั้งในการวิ่งหนี อาจมีสิ่งกีดขวางมากั้นอยู่ข้างหน้า ต้องใช้การวิ่งข้าม การกระโดดข้ามเข้ามาช่วย การกระโดดข้าม สิ่งกีดขวางที่นามาใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การวิ่งข้ามรั้ว วิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง เป็นต้น สิ่งต่างๆ ดังกล่าว ได้ถูกถ่ายทอดต่อๆ กันมา จาก พ่อ แม่ หรือหัวหน้า เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสมัยก่อน ปัจจุบันครู อาจารย์ หรือผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะเป็นผู้ทาหน้าที่เป็นผู้สอน ชนชาวกรีกโบราณ เจริญรุ่งเรืองในด้านปรัชญา วรรณคดี ดนตรี และการพลศึกษา การพลศึกษานับว่ามีบทบาทสาคัญ ในชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกรีกเป็นอย่างยิ่ง เพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ของ ประเทศกรีกเต็มไปด้วยภูเขา การปกครองแบ่งออกเป็นรัฐ แต่ละรัฐจะปกครองตนเอง เมื่อรัฐใดต้องการเป็นใหญ่ ก็จะเกิดการรบพุ่ง เพื่อนแย่งชิงอานาจกันอยู่เสมอ รัฐที่สาคัญและเข้มแข็งมีอยู่สองรัฐ คือ เอเธนส์ และสปาร์ตา ชาวกรีกมีความเชื่อในเทพเจ้าต่างๆ
  • 4. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 4 ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้า เทพธิดาเหล่านี้สถิตอยู่บนยอดภูเขาโอลิมปัส (OLYMPUS) คล้ายกับเป็น ผู้ชี้ชะตาของชาวกรีก ชาวกรีกพยายามที่จะเอาใจทาความเข้าใจและ สนิทสนมกับพระเจ้า โดยการบวงสรวงหรือทาพิธีต่างๆ เพื่อเฉลิม พระเกียรติของพระเจ้าเหล่านั้น เวลากระทาพิธีหรือมีงานฉลอง มหกรรมใดๆ ชาวกรีกจะจัดการแข่งขันกีฬาขึ้น ณ บริเวณยอดเขา โอลิมปัส เพื่อเป็นการถวายความเคารพ และบูชาต่อเทพเจ้าซีอุส ผู้เป็นประธานแห่งเทพเจ้าทั้งหลายของตนอย่างยิ่งใหญ่ เมื่อเสร็จสิ้น จากการบวงสรวงตามความมุ่งหมายในการแข่งขันของกรีกสมัยนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พลเมืองมีสุขภาพสมบูรณ์ มีร่างกายที่สมส่วนสง่างาม สมัยโรมัน ต่อมาในปลายสมัยของโฮเมอร์ มีชนเผ่าหนึ่งมาตั้งรกรากอยู่บนฟากฝั่งแม่น้า “ไทเบอร์” ด้านตะวันออกของกรีก พวกนี้เองตอนหลังได้กลายเป็นโรมัน ชาตินักรบ มีความกล้าหาญอดทน และมีอิทธิพลยิ่งใหญ่ขึ้นมา พร้อมๆ กับความเสื่อมของประเทศกรีก ชาวโรมันนิยมและศรัทธา พลศึกษาเป็นชีวิตจิตใจ โดยถือว่าพลศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นใน ชีวิตประจาวัน ชาวโรมันฝึกฝนให้บุตรของตนมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ให้มีความสามารถใน เชิงดาบ โล่ แหลน ในการสู้รบ บนหลังม้า รวมทั้งการต่อสู้ประเภทอื่นๆ อีกมาก สนามฝึกกีฬา เหล่านี้เรียกว่า “แคมปัสมาร์ติอุส” (Campusmartius) เป็นสนามกว้างใหญ่ อยู่นอกตัวเมืองและมีสถาน ฝึกแข่งว่ายน้าสาคัญเรียกว่า “เธอร์มา” (Therma) ทั้งมีสนามกีฬาแห่งชาติใหญ่ในกรุงโรม จุคนดูได้ถึง 200,000 คน เรียกว่า “โคลีเซียม” (Coliseium) ชาวโรมันทุกคนต้องเป็นทหารในยามสงคราม เขาจึงฝึก พลศึกษา และฝึกการต่อสู้แบบต่างๆ ในค่ายฝึกเสมอ ด้วยผลแห่งการฝึกพลศึกษากับกีฬาและเชิงรบแต่ เยาว์วัยของประชาชน โรมจึงมีกองทัพที่เข้มแข็ง และสามารถแผ่ขยายอานาจเข้าครองดินแดนรอบทะเล เมดิเตอร์เรเนียนกับยุโรปตะวันตกบางตอน รวมถึงเป็น “ราชอาณาจักรโรมัน” (The roman empire) ต่อมาอาณาจักรโรมันก็เสื่อมลงเนื่องจากสาเหตุ หลายประการ การเสื่อมความนิยมใน พลศึกษาเป็นมูลเหตุ สาคัญประการหนึ่ง คือ ชาวโรมันกลับเห็นว่า พลศึกษาเป็น ของต่า จึงเลิกเล่นกีฬา หันไปใช้ทาสพวก “แกลดิเอเตอร์” (GLADIATORS) ต่อสู้กัน
  • 5. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 5 บางที่ก็ต่อสู้กับสัตว์ร้ายเป็นกีฬาแทน และเห็นว่าการศึกษาวิชาการมีประโยชน์กว่าวิชาพลศึกษา ดังนั้น โรมันจึงกลายเป็นชาติที่อ่อนแอ ถึงกับต้องใช้ทหารรับจ้างในยามศึกสงคราม และแล้วในที่สุดก็พ่ายแพ้ แก่ชนชาว “ติวตัน” (TUETON) ซึ่งเป็นชาติที่นิยมกีฬากลางแจ้ง และมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ความเป็นมาของการแข่งขัน “โอลิมปิกเกมส์” ในสมัยโบราณการแข่งขันกีฬาได้กระทากันบนยอดเขา โอลิมปัส (OLYMPUS) นักกีฬาต้องเปลือยกายเข้าแข่งขัน เพื่อ ประกวดความสมส่วนของร่างกาย ผู้ดูมีแต่ผู้ชาย โดยห้ามผู้หญิงดู ผู้ดูต้องปีนขึ้นไปดูบนยอดเขา ต่อมาผู้นิยมมีมากขึ้น สถานที่ แข่งขันบนยอดเขาจึงไม่เพียงพอที่จะบรรจุทั้งผู้เล่นและผู้ดู การแข่งขันกีฬาที่จัดให้มีขึ้นในสมัยโบราณ ไม่ได้ถูกบันทึกไว้เป็นหลักฐานแน่นอนเพียงแต่กล่าวกันว่าได้จัดให้มีขึ้นที่ประเทศกรีกราว 776 ปีก่อน คริสต์ศักราช ชาวกรีกได้ย้ายที่แข่งขันลงมาแข่งกันที่เชิงเขาโอลิมปัส (OLYMPUS) และได้ปรับปรุง การแข่งขันเสียใหม่ให้ดีขึ้น โดยให้ผู้แข่งขันสวมกางเกง พิธีการแข่งขันจัดอย่างมีระเบียบเป็นทางการ มีจักรพรรดิเป็นองค์ประธาน อนุญาตให้สตรีเข้าชมได้ แต่ไม่อนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขัน กีฬาที่มี การแข่งขันที่ถือเป็นทางการในครั้งแรกนี้มีอยู่ 5 ชนิด คือ การวิ่ง การกระโดด พุ่งแหลน ขว้างจักร และมวยปล้า ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนจะต้องเล่นทั้ง 5 ประเภท ผู้ชนะจะได้รับรางวัลมงกุฎทาด้วยกิ่งไม้ มะกอกซึ่งขึ้นอยู่บนเทือกเขาโอลิมปัสนั้น และได้รับเกียรติเดินทางท่องเที่ยวไปทุกรัฐ ในฐานะตัวแทน ของพระเจ้า การแข่งขันจะถูกจัดขึ้นเป็นประจาทุกๆ สี่ปี เมื่อถึงกาหนดการแข่งขันทุกรัฐจะต้องให้เกียรติ แม้ว่าขณะนั้นกาลังทาสงครามกัน ก็จะต้องหยุดพักมาชมการแข่งขัน เมื่อเสร็จการแข่งขันแล้วจึงจะ กลับไปทาสงครามกันใหม่ ประเภทของการแข่งขันได้มีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างในระยะต่อๆ มา การแข่งขันนั้นได้จัดขึ้นเป็นประจา ณ ที่แห่งเดียว คือ เชิงเขาโอลิมปัส แคว้นอีลิส จึงเรียก การแข่งขันตามชื่อของสถานที่นั้นว่า “การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก” ต่อมาในปีคริสต์ศักราช 392 (พุทธศักราช 925) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณได้ยุติลงเพราะเกิดการว่าจ้างกันเข้ามาเล่นเพื่อ หวังรางวัล และผู้เล่นปรารถนารางวัลมากกว่าการเล่นเพื่อสุขภาพของตน รวมทั้งมีการพนันขันต่อ อันเป็นทางวิบัติ ซึ่งผิดไปจากวัตถุประสงค์เดิม ต่อมายุคปัจจุบัน คือ คริสต์ศักราช 1892 (พุทธศักราช 2435) มีนักกีฬาชาวฝรั่งเศสผู้หนึ่ง มีฐานันดรศักดิ์เป็น บารอน เปียร เดอ กูแบรแตง ท่านผู้นี้ มีความสนใจในการกีฬาอย่างยิ่ง ได้พิจารณาเห็นว่าการแข่งขัน ด้วยกัน เป็นการสมาคมเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของนักกีฬา อย่างแท้จริง การที่การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณเป็นเหตุ ทาให้ห่วงสัมพันธภาพในการกีฬาขาดสะบั้นลง เป็นที่น่าเสียใจ อย่างยิ่ง
  • 6. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 6 ท่านผู้นี้จึงได้เชิญ ศาสตราจารย์ดับเบิลยูสโลน แห่งสหรัฐอเมริกา มร.วิกเตอร์ แบลด แห่งกรีกร่วมกัน คิดอ่านเปิดการประชุมกีฬาโอลิมปิกขึ้นใหม่ โดยยึดอุดมคติแห่งความยุติธรรมอ่อนโยน สุภาพ มั่นคง และกาลังเป็นมูลฐาน ตามวัตถุประสงค์ของโอลิมปิกโบราณที่ว่า CITUS, ALTIUS, FORTIUS (เร็ว สูง แรง) ผู้สนใจการกีฬาคณะนี้ได้ประกาศตั้งคณะกรรมการโอลิมปิก ระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL OLYMPIC COMMITTEE) และตกลงกันให้มีการชุมนุมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกของสมัยปัจจุบันนี้ ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีก ในคริสต์ศักราช 1896 (พุทธศักราช 2439) บารอนเปียร เดอ กูแบรแตง จึงได้ มอบคาขวัญให้ไว้ แก่การแข่งขันโอลิมปิก สมัยปัจจุบันนี้ว่า “สาระสาคัญในการแข่งขันโอลิมปิกไม่ใช่ การชนะ แต่สาคัญอยู่ที่การเข้าร่วมแข่งขัน จุดหมายของชีวิต ไม่เพียงแต่ผู้ชนะ หากแต่ต้องสู้อย่างดีเป็น ใหญ่ ( The important thing of the Olympic Games is not to win but to take part. The essential thing in life is not conquering but fighting well.) จากนั้นเป็นต้นมาการแข่งขันและวิธีเล่นกรีฑาได้มีการพัฒนาไปอย่างกว้างขวางและ การแข่งขัน ทุกๆ ครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ให้ถือการแข่งขันกรีฑาเป็นกีฬาหลักซึ่งจะขาดเสียมิได้ การแข่งขัน เริ่มจากปีคริสต์ศักราช 1896 (พุทธศักราช 2439) จัดการแข่งขันทุกๆ 4 ปี โดยผลัดกันเป็นเจ้าภาพ ประวัติกรีฑาในประเทศไทย กรีฑาในประเทศไทยอาจจะมีการเล่นหรือการแข่งขัน เพื่อความสนุกสนาน และอาจมีการสอน มานานแล้ว แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏเป็นที่แน่ชัด เท่าที่มีหลักฐานปรากฏดังนี้ วันที่ 12 มกราคม 2440 เป็นครั้งแรกที่กระทรวงธรรมการในขณะนั้น (ปัจจุบันคือกระทรวง ศึกษาธิการ) ได้จัดให้มีการแข่งขันกรีฑาขึ้นที่ท้องสนามหลวง และได้ถวายบังคมทูลพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จราชดาเนินมาทอดพระเนตรการแข่งขันกรีฑาของนักเรียนด้วย และกระทรวงธรรมการจัดให้มี การแข่งขันกรีฑาเป็นประจาทุกปี ในปี พ.ศ. 2444 ได้มีการจัดการแข่งขันกรีฑา หน้าโรงเรียน สายสวลี สันถาคาร ต่อจากนั้นมา การแข่งขันกรีฑาโรงเรียนกาหนดให้จัดขึ้นในวันที่1 และ 2 มกราคม ของทุกปี การแข่งขันกรีฑาโรงเรียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 จนถึงปี พ.ศ. 2453 จัดเนื่องในวัน เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร และเมื่อได้ เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้วก็ยังคงมีการแข่งขันกีฬาชนิดอื่น ในปี พ.ศ. 2464 ได้จัดให้มีเป็นประจา พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรการแข่งขัน กรีฑาโรงเรียนทุกปีตลอดมาจนสิ้นรัชกาล ใน พ.ศ. 2470 กระทรวงธรรมการได้ตั้ง “กรรมการจัดการกีฬาประจาปีของกระทรวงธรรมการ”
  • 7. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 7 ขึ้นคณะหนึ่งมีหน้าที่จัดการกีฬาต่างๆ ของกระทรวง ซึ่งถือเป็นรากฐานทางการกีฬาขึ้นเป็นครั้งแรก วันที่ 9 ธันวาคม 2476 ได้ตั้งกรมพลศึกษาขึ้นในกระทรวงธรรมการ ให้มีหน้าที่ดาเนินการเกี่ยวกับ การพลศึกษา กรมพลศึกษาได้ดาเนินงานปรับปรุงการพลศึกษาในโรงเรียนให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ได้วางระเบียบข้อบังคับการกีฬาต่างๆ และเพิ่มการแข่งขันกีฬานักเรียนตามความนิยมของนานาชาติ มากขึ้น ในด้านการฝึกสอนพลศึกษาในโรงเรียน ได้มีการประกาศให้ประมวลการสอนวิชาพลศึกษา ขึ้นใหม่ โดยกาหนดให้นักเรียนได้ศึกษาวิชากายบริหาร กรีฑา และยิมนาสติก เป็นการให้นักเรียนได้รับ การฝึกสอนในโรงเรียนทั่วถึงกันทุกคน ปีพ.ศ. 2480 ได้ก่อสร้างกรีฑาสถานแห่งชาติขึ้น ( ปัจจุบันเป็นสนามศุภชลาสัย ) ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2480 โดยจัดให้มีการแข่งขันกรีฑาระหว่างนักเรียนชาย ระหว่างนักเรียนหญิงและ ระหว่างประชาชนด้วย ในปี พ.ศ. 2481 กรมพลศึกษาจัดให้มีการแข่งขันกรีฑาประจาปีในกรีฑาสถานเป็นครั้งแรก ในการดาเนินการแข่งขันครั้งนี้ได้จัดสร้างลู่วิ่ง การจับเวลาให้เป็นไปอย่างสากลนิยม การแข่งขันครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดาเนินมาเปิดการแข่งขันกรีฑาสถาน เป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2482 การแข่งขันกรีฑานั้นได้จัดให้มีการแข่งขันกรีฑาประชาชนหญิงขึ้นเป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2484 กรมพลศึกษาได้ปรับปรุงสนามแข่งขันด้านต่างๆ และตามกติกากรีฑาระหว่าง ประเทศเป็นแบบฉบับที่กรมพลศึกษาได้ดาเนินต่อมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้ ปี พ.ศ. 2488 กรมพลศึกษาจัดให้มีการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยขึ้นเป็นครั้งแรก ปี พ.ศ. 2494 ได้ตั้งสมาคมกรีฑาสมัคเล่นแห่งประเทศไทยขึ้น มีหน้าที่สนับสนุนส่งเสริม และ จัดการแข่งขันกรีฑาระดับเยาวชนและประชาชน และในปีนี้ได้เป็นสมาชิกสหพันธ์กรีฑาสมัครเล่น นานาชาติ ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับสมาคมกรีฑาสมัครเล่นแห่งประเทศไทยไว้ในพระราชูถัมภ์ และ พระราชทานพระบรมราชานุญาติให้ใช้ตราสมาคมกรีฑาฯ ได้ การส่งเสริมการเล่นกรีฑา นอกจากกรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจะให้ความรู้พื้นฐาน และจัดการแข่งขันระดับนักเรียนแล้ว ยังมีองค์กรอื่นๆ ที่ให้การส่งเสริมและสนับสนุนการเล่นกรีฑา ในระดับเยาวชน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ได้แก่ ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ และสมาคมกรีฑา สมัครเล่นแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นต้น การเล่นกรีฑาในประเทศไทยได้มีการพัฒนา ให้มีความก้าวหน้ามาตลอดจนถึงปัจจุบัน มาตรฐานการเล่นกรีฑาทั้งระดับนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนได้ยกระดับขึ้นมาจนทัดเทียมนานาชาติ สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับนักกีฬา และนาเอากิจกรรมกรีฑามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประวันเพื่อสุขภาพและสมรรถภาพกันอย่างกว้างขวาง ในปัจจุบัน
  • 8. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 8 ประเภทของกรีฑา การแบ่งประเภทของกรีฑา โดยทั่วไปจะแบ่งประเภทของกรีฑาไว้ 2 ประเภท คือ 1. กรีฑาประเภทลู่ คือกรีฑาประเภทที่ต้องแข่งขันกันบนทางวิ่ง และใช้การวิ่ง เป็นส่วนสาคัญ ตัดสินกันด้วยเวลา เช่น การวิ่งระยะสั้น การวิ่งระยะกลาง การวิ่งระยะไกล วิ่งผลัด เป็นต้น ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 2. กรีฑาประเภทลาน คือ กรีฑาประเภทที่ต้องประลองความไกล หรือความสูงบนลานกว้างๆ เช่น กระโดดสูง เขย่งก้าวกระโดด การทุ่มน้าหนัก การพุ่งแหลน การขว้างจักร ขว้างค้อน ค้าถ่อ กระโดดไกล เป็นต้น ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 9. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 9 ประเภทการแข่งขันกรีฑาสหพันธ์กรีฑาสมัครเล่นนานาชาติ แบ่งกรีฑาไว้ 2 ประเภท คือ ประเภทลู่ (Track Events) แบ่งเป็น 1. การวิ่งระยะสั้น 100 เมตร 200 เมตร และ 400 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 2. การวิ่งระยะกลาง 800 เมตร 1,500 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 10. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 10 3. การวิ่งระยะไกล 3,000 เมตร 5,000 เมตร 10,000 เมตร 42.195 กิโลเมตร ฯลฯ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 4. การวิ่งผลัด 4x100 เมตร 4x400 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 11. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 11 5. การวิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร 110 เมตร และ 400 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 6. การวิ่งข้ามเครื่องกีดขวาง (วิ่งวิบาก) ระยะ 2,000 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 12. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 12 7. ประเภทถนน (Road running) ประกอบด้วย การวิ่ง 15 กิโลเมตร วิ่ง 20 กิโลเมตร วิ่งฮาล์ฟมาราธอน วิ่ง 25 กิโลเมตร วิ่ง 30 กิโลเมตร วิ่งมาราธอน (42.195 กิโลเมตร) วิ่ง 100 กิโลเมตร และวิ่งผลัดถนน (Road reay) ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 8. ประเภทเดิน (Walking) แบ่งเป็น ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 13. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 13 8.1 การแข่งขันเดินบนลู่ 5,000 เมตร 20,000 เมตร เดิน 2 ชั่วโมง 30,000 เมตร และ 50,000 เมตร 8.2 การแข่งขันเดินบนถนน 20 กิโลเมตร 50 กิโลเมตร 9. ประเภทวิ่งข้ามทุ่ง (Cross country) 9.1 ชาย 12 กิโลเมตร และเยาวชนชาย 8 กิโลเมตร 9.2 หญิง 6 กิโลเมตร และเยาวชนหญิง 4 กิโลเมตร 10. ประเภทรวม (Combined Events) 10.1 ชาย ปัญจกรีฑา (Pentathlon) แข่งขัน 5 รายการแข่งขัน 1 วัน ตามรายการดังนี้ กระโดดไกล พุ่งแหลน วิ่ง 200 เมตร ขว้างจักรและวิ่ง 1,500 เมตร 10.2 ชายทศกรีฑา (Decathlon) แข่งขัน 10 รายการ ใช้เวลาในการแข่งขัน 2 วัน ตามรายการ ดังนี้ วันที่ 1 วิ่ง 100 เมตร กระโดดไกล ทุ่มน้าหนักกระโดดสูงและวิ่ง 400 เมตร วันที่ 2 วิ่งข้ามรั้ว 110 เมตร ขว้างจักร กระโดดค้า พุ่งแหลน วิ่ง 1,500 เมตร 10.3 หญิง สัตตกรีฑา (Heptathlon) แข่งขัน 7 รายการ ใช้เวลาแข่งขัน 2 วัน ตามรายการ ดังนี้ วันที่ 1 วิ่งข้ามรั้ว 100 เมตร กระโดดสูง ทุ่มน้าหนักและวิ่ง 200 เมตร วันที่ 2 กระโดดไกล พุ่งแหลนและวิ่ง 800 เมตร คุณสมบัติของนักกรีฑาประเภทต่างๆ 1. นักกรีฑาวิ่งระยะสั้น ต้องการความเร็ว ความแข็งแรง ความคล่องแคล่วว่องไว และการทางาน อย่างประสานสัมพันธ์กันอย่างดีของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 14. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 14 2. นักกรีฑาวิ่งระยะกลางต้องการความอดทน ความแข็งแรงและความเร็ว ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 3. นักกรีฑาวิ่งระยะไกลต้องการความแข็งแรง ความเร็วสม่าเสมอ ความอดทนที่เพิ่มขึ้น รวมถึง ระบบการหายใจ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 15. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 15 4. นักกรีฑาวิ่งผลัดต้อง การความเร็ว ความแข็งแรง ความคล่องแคล่วว่องไว การทางานอย่าง ประสานสัมพันธ์กันอย่างดีของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 5. นักกรีฑาวิ่งข้ามรั้วต้องการคุณสมบัติเพิ่มเติมจากการวิ่งผลัด คือความอ่อนตัว การทรงตัวที่ดีใน การลอยตัวข้ามรั้วและการลงสู่พื้น ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 16. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 16 เครื่องแต่งกายสาหรับการเล่นกรีฑา การเล่นและการแข่งกรีฑานั้น นอกจากจะเตรียมความพร้อมของร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ตาม ประเภทของกิจกรรมที่เข้าแข็งขันแล้ว ในเรื่องของเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่นต้องเตรียม ให้เหมาะสมเช่นกัน 1. รองเท้า ขนาดรองเท้าต้องไม่หลวมหรือคับเกินไป ส่วนผู้ใช้รองเท้าตะปูจะต้องคานึงถึง ความยาวของตะปู ให้เหมาะสมกับสนามที่แข่งขัน 2. ถุงเท้า ควรเป็นถุงเท้าที่ทาด้วยฝ้าย เนื่องจากฝ้ายมีคุณสมบัติในการลดการเสียดสีระหว่าง เท้ากับรองเท้า 3. เสื้อผ้า ควรเป็นเสื้อผ้าที่มีคุณสมบัติซับเหงื่อ มีการระบายอากาศได้ดี นอกจากนั้นจะต้อง ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป ใส่ได้พอดี 4. ชุดวอร์มหรือชุดอบอุ่นร่างกาย ควรเลือกให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สาหรับชุดวอร์ม ควรเป็นชุดที่รักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย ทาให้กล้ามเนื้อทางานได้ดีอย่างมีประสิทธิภาพ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 17. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 17 การดูแลรักษาอุปกรณ์กรีฑา อุปกรณ์กรีฑา จาเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ ดูแล และเก็บรักษาให้อยู่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ เพื่อประโยชน์ทางด้านประสิทธิภาพและความคงทนในการใช้งาน จึงมีข้อควรปฏิบัติดังนี้ 1. อุปกรณ์กรีฑาทุกประเภท เช่น ที่ยันเท้า (Blok Start) รองเท้าวิ่ง ฯลฯ ควรเก็บไว้ในที่ที่ เหมาะสม แยกประเภท เพื่อความสะดวกในการเก็บ รักษา และการนามาใช้ในโอกาสต่อไป 2. เมื่อนาไปใช้ ควรทาความสะอาด ล้างและเช็ดให้แห้งก่อนนาเข้าเก็บที่เดิม 3. การนาไปใช้และเมื่อจะนาเข้าเก็บที่เดิม ควรสารวจจานวนและสภาพความเรียบร้อยทุกครั้ง 4. ถ้าอุปกรณ์เกิดชารุด ควรรีบซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยโดยเร็ว และไม่ควรนาอุปกรณ์ ที่ชารุดไปใช้เพราะจะทาให้ชารุดมากยิ่งขึ้น อาจจะซ่อมแซมอีกไม่ได้และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ 5. รองเท้าวิ่งควรทาความสะอาดหลังจากใช้แล้ว ถ้าเปียกก็ควรผึ่งให้แห้ง ทาด้วยวาสินเพื่อให้หนัง นิ่มและรักษารอยเอ็นไม่ให้ผุง่าย 6. เมื่อสวมรองเท้าที่มีตะปู ไม่ควรเดินบนพื้นที่แข็ง เช่น บนพื้นซีเมนต์ เป็นต้น 7. ควรมีระเบียบในการเบิกจ่ายอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกซ้อม เพื่อจัดระบบในการควบคุมดูแล
  • 18. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 18 คุณค่าและประโยชน์ของกรีฑา ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นกรีฑา - เสริมสร้างความสัมพันธ์ในการทางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาท - เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทางานของระบบหายใจ และระบบไหลเวียนของโลหิต - ช่วยให้ระบบต่างๆของร่างกายทางานได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน - ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพและสร้างความมั่นใจในตนเอง - ช่วยสร้างความหนักแน่นมั่นคงทางด้านจิตใจและอารมณ์ - ช่วยเสริมสร้างความมีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย - เสริมสร้างความเป็นผู้มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น - ทาให้สมรรถภาพทางด้านร่างกายได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ความปลอดภัยในการเล่นกรีฑา กรีฑาที่ผู้เล่นต้องใช้ความสามารถของร่างกาย การเคลื่อนไหว และอุปกรณ์ประกอบในการเล่น ขาดความระมัดระวัง ก็จะเกิดอันตรายขึ้นได้ เพื่อความปลอดภัยข้อปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. เครื่องแต่งกาย เช่น กางเกง เสื้อ รองเท้า ถุงเท้า ควรเลือกให้เหมาะสม ไม่หลวมหรือคับ จนเกินไป 2. ควรเตรียมความพร้อมของร่างกายอยู่เสมอด้วยการฝึกซ้อม 3. ต้องอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึกซ้อมหรือแข่งขัน เพื่อความพร้อมของร่างการและ คลายกล้ามเนื้อหลังการฝึกซ้อม 4. สารวจสถานที่และอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย เช่น ลู่วิ่ง รองเท้า เครื่องรองรับต่างๆ ฯลฯ 5. ใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับสภาพของสนาม เช่น รองเท้าวิ่งตะปูยาวใช้กับลู่วิ่งอ่อนนิ่ม ตะปูสั้น ใช้กับลู่วิ่งแข็ง เพื่อป้องกันอันตรายของข้อเท้า เป็นต้น 6. การระมัดระวังการใช้รองเท้าตะปู ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น 7. ในการใช้อุปกรณ์ ทุกครั้งต้องระวังอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น 8. ต้องหยุดทาการฝึกซ้อม เมื่อเกิดการบาดเจ็บ ควรพบแพทย์เพื่อขอคาแนะนา 9. ต้องปฏิบัติตามระเบียบและกติกาการแข่งขันจะช่วยป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
  • 19. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 19 มรรยาทของนักกรีฑาที่ดี การแสดงความประทับใจ ความชื่นชม การยอมรับในหมู่ผู้ชม กรรมการผู้ตัดสิน ตลอดจน นักกรีฑาที่เข้าร่วมการแข่งขัน คือ การแสดงออกของผู้เข้าร่วมการแข่งขันนั่นเอง ผู้เข้าร่วมการ แข่งขันควรมีมรรยาทและการแสดงออกที่ดี ถูกต้อง สุภาพ โดยควรยึดหลักปฏิบัติดังนี้ ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย 1. มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา 2. ให้เกียรติคู่แข่ง เจ้าหน้าที่ กรรมการผู้ตัดสินและผู้ชม 3. เคารพกติกาการแข่งขันอย่างเคร่งครัด 4. แต่งกายสุภาพถูกต้องตามกฎกติกาการแข่งขันแต่ละประเภทกรีฑา 5. ใช้ทักษะความสามารถในระหว่างการแข่งขันอย่างเต็มความสามารถ 6. มีน้าใจนักกีฬา 7. ไม่เยาะเย้ย ซ้าเติม หรือเอาเปรียบคู่แข่งขัน 8. ยอมรับและปฏิบัติตามคาตัดสินด้วยความสุภาพ 9. ไม่แสดงออกถึงอาการดีใจในผลแพ้ชนะจนเกินควร 10. แสดงกิริยาวาจาสุภาพ อ่อนน้อม ทั้งในและนอกสนาม
  • 20. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 20 มรรยาทของผู้ชมกรีฑาที่ดี ผู้ชมกรีฑาจะต้องมีมรรยาทในการชมกรีฑา โดยยึดหลักต่อไปนี้ คือ 1. ให้เกียรตินักกรีฑา กรรมการผู้ตัดสิน และผู้ชมกรีฑาด้วยกันเอง 2. ควรนั่งอยู่ในที่ที่มีการจัดเตรียมไว้ 3. ไม่ส่งเสียงอันเป็นการรบกวนสมาชิกของนักกรีฑาและกรรมการผู้ตัดสิน 4. ไม่แสดงอาการยั่วยุ ส่งเสริมนักกรีฑาในทางที่ผิด 5. ไม่ทาการขว้างปาสิ่งของหรือวัตถุใดๆ อันเป็นอันตรายลงในสนามแข่งขัน 6. ยอมรับผลการตัดสินของกรรมการผู้ตัดสินด้วยใจเป็นธรรม 7. แสดงความยินดีกับผู้ชนะ สนามกรีฑามาตรฐาน 400 เมตร ที่มา : สมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทย
  • 21. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 21 บรรณานุกรม กลุ่มประสานการพัฒนาบุคลากร สถาบันพัฒนาบุคลากร สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเทียวและกีฬา. ( 2548). คู่มือการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาระดับขั้นพื้นฐาน กรีฑา. โรงพิมพ์องค์รับส่งสินค้าและพัสดุ (ร.ส.พ.) : กรุงเทพมหานคร. ฉัตรทิราภรณ์ โลหพันธุ์วงค์ และคณะ. (2549). ออกกาลังกายสไตล์แอโรบิกด๊านซ์. โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. : กรุงเทพมหานคร. ฝ่ายวิชาการ บริษัทสกายบุ๊กส์ จากัด. (2551). กรีฑา. โรงพิมพ์บริษัทสกายบุ๊กส์ จากัด : กรุงเทพมหานคร. มงคล แฝงสาเคน. (2549). การออกกาลังกายด้วยการเหยียดยืดกล้ามเนื้อ เพื่อสุขภาพและกีฬา. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ : กรุงเทพมหานคร.
  • 22. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 22 โรงเรียนมัธยมป่ากลาง แบบทดสอบท้ายบทเรียน เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง คาชี้แจง จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วทาเครื่องหมาย ( X ) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ประโยชน์ที่สาคัญที่สุดในการเล่นกรีฑาคือข้อใด ก. เข้ากับสังคมได้ดี ข. บุคลิกภาพดี ค. สุขภาพดี ง. ร่างกายได้มีการเคลื่อนไหว 2. ขณะเล่นกรีฑาเกิดเป็นตะคริว ควรปฏิบัติตนอย่างไร ก. หยุดเล่นทันที นาน้าร้อนประคบตะคริว ข. หยุดเล่นทันที นั่งลง เหยียดขาตึง ดันปลายเท้าเข้าหาตัว ค. หยุดเล่นทันที นาน้าแข็งประคบตะคริว ง. หยุดเล่นทันที นั่งลง เหยียดขาตึง ดันปลายท้าออกจากตัว 3. ข้อใดเป็นการแสดงออกถึงความมีน้าใจนักกรีฑาที่ชัดเจนที่สุด ก. ยกมือไหว้ผู้ชม ข. ยกมือไหว้ผู้ตัดสิน ค. เล่นตามกฎกติกา ง. แสดงความยินดีกับผู้ที่ชนะตน 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องในการรักษาสมรรถภาพร่างกาย ก. การออกกาลังกายเฉพาะส่วนเพื่อรักษาสมรรถภาพ ข. การรับประทานอาหารช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ค. ออกกาลังกายเป็นประจาเพื่อทาให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ง. ออกกาลังกายพร้อมรับประทานยาสร้างกล้ามเนื้อ
  • 23. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 23 5. ความมีน้าใจนักกีฬาก่อให้เกิดคุณประโยชน์อย่างไร ก. สังคมมีความรักความสามัคคี ข. นักกรีฑาไม่เกิดการบาดเจ็บ ค. อุบัติภัยต่างๆจะเกิดน้อยลง ง. เยาวชนหันมาเล่นกีฬามากขึ้น 6. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการออกกาลังกาย ก. รูปร่างดีขึ้น ข. อวัยวะภายในทางานดีขึ้น ค. โอกาสอ้วนมีมากขึ้น ง. ภูมิต้านทางโรคสูงขึ้น 7. ผู้ที่ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ย่อมส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย ก. มีกาลังวังชา ข. มีน้าหนักตัวมาก ค. รูปร่างทรวดทรงดี ง. สุขภาพจิตดี 8. ข้อใดต่อไปนี้เป็น กีฬาสากล ก. ง้าว ข. วิ่ง 1,500 เมตร ค. พลอง ง. กระบี่กระบอง 9. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็น กรีฑาประเภทลู่ ก. กระโดดไกล ข. วิ่ง 10,000 เมตร ค. มินิมาธอน ง. เขย่งก้าวกระโดด
  • 24. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 24 10. องค์ประกอบสาคัญด้านสมรรถภาพทางกายประกอบด้วยอะไรบ้าง ก. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ข. ความทนทานของกล้ามเนื้อ ค. ความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด ง. ถูกทุกข้อ 11. การสร้างวินัยสมรรถภาพทางกายมีความสาคัญอย่างไร ก. ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ข. ช่วยให้ชีวิตมีความสุข ค. ช่วยให้ชนะการแข่งขันกรีฑา ง. ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตดี 12. การป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกรีฑาคือข้อใด ก. หมั่นฝึกซ้อม ข. ฝึกทักษะและทันเกมการแข่งขัน ค. มีความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ง. ถูกทุกข้อ 13. กรีฑาจะทาให้นักเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างไร ก. นิยมการกรีฑายิ่งขึ้น ข. สามัคคีกัน ค. ความเสียสละ ง. สนับสนุนการแข่งขัน 14. ข้อใด ไม่ใช่ คุณค่าและประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านจิตใจและอารมณ์ ก. ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกาย ข. ช่วยให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี ง. ช่วยระบายความตึงเครียด
  • 25. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 25 15. ข้อใด ไม่ใช่ คุณค่าและประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านสังคม ก. ช่วยให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย ข. ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางร่างกาย ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี ง. ช่วยให้เกิดความสัมพันธ์อันดี 16. ข้อใดเป็นประโยชน์ของการเล่นกรีฑาด้านร่างกาย ก. ช่วยให้มีน้าใจนักกีฬา ข. ช่วยระบายความตึงเครียด ค. ช่วยให้ปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี ง. ช่วยระบบอวัยวะทางานมีประสิทธิภาพ 17. ข้อใดเป็นการเล่นกรีฑาด้วยความปลอดภัย ก. ฝึกซ้อมกรีฑาขณะร่างกายได้รับบาดเจ็บ ข. ฝึกซ้อมกรีฑาขณะฝนตกฟ้าคะนอง ค. ลงแข่งขันกรีฑาโดยไม่อบอุ่นร่างกาย ง. มั่นใจมีสุขภาพร่างกายและจิตใจในสภาพที่พร้อม 18. การได้รับบาดเจ็บบริเวณหัวเข่าจากการเล่นกรีฑา ควรทาอย่างไร ก. พบแพทย์เพื่อรักษา ข. ออกกาลังกายตามปกติ ค. วิ่งเบาๆเพื่อกล้ามเนื้อแข็งแรง ง. ประคบด้วยความเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด 19. สนามกรีฑาควรมีลักษณะใดจึงจะปลอดภัย ก. ลักษณะเป็นเนิน ข. พื้นสนามราบเรียบ ค. พื้นสนามมีกรวดเล็กน้อยกันสนามลื่น ง. พื้นควรเป็นหลุมเหมาะออกสตาร์ท 20. การออกกาลังกาย การแข่งขันกรีฑาข้อใดควรคานึงมากที่สุด ก. ทักษะสูงสุด ข. ความสาเร็จสูงสุด ค. ความปลอดภัยสูงสุด ง. ความสามารถสูงสุด
  • 26. เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง หน้า 26 เฉลยแบบทดสอบท้ายบทเรียน เอกสารประกอบการเรียน เรื่องทักษะการวิ่ง 3 ระยะ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 1 เรียนรู้กิจกรรมการวิ่ง ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ 1 ค 11 ก 2 ข 12 ก 3 ง 13 ค 4 ค 14 ก 5 ก 15 ข 6 ค 16 ง 7 ง 17 ง 8 ข 18 ก 9 ข 19 ข 10 ง 20 ค